Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบำบัดน้ำเสีย

การบำบัดน้ำเสีย

Published by ชุติมนต์ คําดุลย์, 2020-01-21 12:22:48

Description: การบำบัดน้ำเสีย

Search

Read the Text Version

แนวพระราชดาริ โ ค ร ง ก า ร บ้ า บั ด น้ า เ สี ย บึ ง มั ก ก ะ สั น อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พระราชด้าริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทาน พระราชด้าริ เมื่อวันท่ี 15 เมษายน และวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2528 ให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องร่วมปรับปรุงบึงมักกะสัน เพื่อช่วยระบายน้าและบรรเทาสภาพน้าเสียในคลองสามเสน โดยใช้รูปแบบ “เครื่องกรองน้าธรรมชาติ” ความตอนหนึ่งว่า “...บึงมักกะสันนี ท้าโครงการท่ีเรียกว่าแบบคนจน โดยใช้หลัก ว่าผักตบชวาที่มีอยู่ท่ัวไปนัน เป็นพืชดูดความโสโครกออก มาแล้วก็ท้าให้น้าสะอาดขึนได้ เป็นเครื่องกรองธรรมชาติใช้ พลงั งานแสงอาทิตยแ์ ละธรรมชาติของการเติบโตของพืช...”

ความเป็นมาของโครงการ หลักการบ้าบัดน้าเสียโดยการกรองน้าเสียด้วย ผักตบชวา ตามแนวทฤษฎีการพัฒนาอนั เน่ือง มาจากพระราชดา้ ริ \"บงึ มกั กะสนั “ บึงมักกะสันเป็นบึงขนาดใหญ่ที่อยู่ใจกลาง กรุงเทพมหานคร ซ่ึงการรถไฟ แห่งประเทศไทยได้ ขุดขึน ในปี พ.ศ. 2474 เพื่อใช้เป็นแหล่งระบายน้า และรองรับ น้าเสีย รวมทังน้ามันเคร่ืองจากโรงงาน รถไฟมักกะสัน ท้าให้บึงมักกะสันตืนเขิน จากการ ตกตะกอนของสารแขวนลอย ครัวเรือน ซ่ึงส่วน ใหญ่ต่างก็ถ่ายส่ิงปฏิกูลและขยะมูลฝอยลงสู่บึง มักกะสัน จนเกิด ปัญหาภาวะส่ิงแวดล้อมเสื่อม โทรมและน้าเน่าเสียกลายเป็นแหล่งเพาะเชือโรค แห่งหนึ่ง

ความเป็นมาของโครงการ (ตอ่ ) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงภัย แห่งภาวะมลพิษนีจึงได้พระราชทานพระราชด้าริ โดยใช้วิธีการในรูปแบบของ \"เคร่ืองกรองน้า ธรรมชาติ\" กล่าวคือ ให้มีการทดลองใช้ผกั ตบชวา ซ่ึงเป็นวัชพืชที่ต้องการก้าจัดอยู่แล้วนี มาท้าหน้าที่ ดูดซับความโสโครก รวมทังสารพิษจากน้าเน่าเสีย โดยทรงเน้นให้ท้าการปรับปรุงอย่างประหยัดและไม่ ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชนท่ีอาศัยอยู่ริม บึงการท้างานของระบบอาศัยการท้างานร่วมกัน ระหวา่ งพชื น้า ได้แก่ สาหรา่ ย หรือ อัลจี กบั แบคทเี รีย

ความเปน็ มาของโครงการ (ตอ่ ) โดยในเวลากลางวัน อัลจีซ่ึงเป็น พืชน้าสีเขียวจะท้า การสงั เคราะห์แสง โดยใช้คาร์บอนไดอ๊อกไซดใ์ นน้าและ แสงแดด อัลจีจะน้าคาร์โบไฮเดรตไปใช้สร้างเซลล์ใหม่ สว่ นออกซิเจนท่ีเป็นผลพลอยไดน้ ัน ก็จะถูกแบคที่เรยี น้า ไปใช้ในการย่อยสลายน้าเสีย ซ่ึงผลของปฏิกิริยานีจะได้ คาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นส่วนประกอบส้าคัญในการ ด้ารงชีพของอัลจี ดังนัน อัลจี และแบคทีเรียจึงสามารถ ดา้ รงชีวติ อยู่ร่วมกนั ได้ โดยตา่ งพ่งึ พาอาศัยกันและกนั

ความเป็นมาของโครงการ (ต่อ) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเปรียบเทียบว่า \"บึงมักกะสัน\" เป็นเสมือนด่ัง \"ไตธรรมชาติ\" ของ กรุงเทพมหานคร ท่ีเป็นแหล่งเก็บกักและระบายน้า ในฤดูฝน นอกจากนี ยงั มผี ลพลอยได้หลายอยา่ งเชน่ ปุ๋ย เชือเพลิง เย่ือสานจากผักตบชวาและการปลูก พืชน้าอ่ืนๆ เช่น ผักบุ้ง เป็นต้น รวมทังการเลียงปลา ด้วย โดยมิได้มีพระราชประสงค์จะท้าให้เป็น สวนสาธารณะแต่อยา่ งใด

ความเป็นมาของโครงการ (ตอ่ ) บึงมักกะสันจึงเป็นบึงท่ีสร้างภาวะแวดล้อมด้วย วิธีธรรมชาติ เรียบง่าย ประหยัด และที่ส้าคัญเป็น แหล่งค้นคว้าทดลองท่ีพระราชทานเพ่ือปวง ประชา จักได้มีสุขถ้วนท่ัวหน้ากัน การพัฒนาบึง มักกะสันจึงนับเป็นความส้าเร็จท่ีเกิดจาก พระ ปรีชาสามารถในเชิงวิชาการด้านนิเวศวิทยาและ การแก้ไขปัญหาภาวะมลพษิ ทางน้า ด้วย สายพระ เนตรท่ียาวไกล จึงนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ อย่างย่งิ แก่ชาวไทยทังมวล

ทตี่ ง้ั ของโครงการ ตา้ บลหว้ ยขวาง อา้ เภอเขตหว้ ยขวาง จังหวดั กรุงเทพมหานคร

ประโยชนข์ องโครงการ บ้าบัดน้าเสียรวมทังได้ผักตบชวาส้าหรับ ทา้ ปุย๋ หมักหรือเชอื เพลิงและอาหารสตั วต์ าม เหมาะสม รวมทังเป็นการพัฒนาส่ิงแวดลอ้ ม และคุณภาพชีวิตชองประประชาชนในพืนที่ รอบบริเวณบึงมักกะสนั ให้ดีขึนอกี ดว้ ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook