Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือประวัติศาสตร์ตำบลคลองฉนวน

หนังสือประวัติศาสตร์ตำบลคลองฉนวน

Published by Guset User, 2021-11-28 05:33:10

Description: หนังสือประวัติศาสตร์ตำบลคลองฉนวน

Search

Read the Text Version

คณะผู&จัดทำ ทมี วิศวกรสงั คมตำบลคลองฉนวน อำเภอเวยี งสระ จังหวดั สรุ าษฎร?ธานี

คำนำ แคโปลข(ปสขตดEลผเ(หกHกคc5ดิวักCอลอำวถำรรวาี่eยรoบงาเะะษพะมขัางรนงaไวมnสวสนลสอูลณเลดสlกินพอo5บาบหหครtทบพาCดรขขขะัhบหโน่ิมmCาลดกนกนคีC่วCื้านสคภอออCงชุเนรอาปาังยงังุณำคyฐรขขอูมaาขรุมรสงขัสงรดคงารออยาrิปณฉทณอสือชะอ(ือกคีeนาัญชบบกไนรกีื่ปปอนบงด0ะเ/ดาณ0ดขีพะคคาลแวชเาเหรรรีๆตหCคีๆอทเละุณุณรนใร5มลุะยมึกทท0จำมงใหุ ณผใ5คมยวะนกนษชบผเาตศดีไ่นุ มCูจพโัตนกกดกรี้โูCในสกำลาแกนอเัด5หิศคื่อะีา้ทCผวคบรปาามค(ข็ ำโทกรโาCขนยีดรูCนมรงะำลลรอเ5นลคสําเาภCอนจเรังรบำาะดคยอปอ้ำปขรรต5ว5วกมัดใอรใจเสลีภดังงลอนบยห?มนรศมถลูทเาำฉำสอCัยาวีก0ตก่ยชกแCงรปกดตเรคํานรงนียมการำรุมนษกับมำหำราัญฉCางนวาบตา่ยีะชช5เแบชฐะรนงหสนบนนวภดท5ลานมุกุมโปณดลทรังวกาขงโิยันบเูมี่ชชใิจชะCสาคลลดนๆว5ับอนอชิอ5วกสนทนแนือลง5มยจิ)บทตยกนางาินแ)ทลี่นเเปอนมำกำจพเการศเย0สลคะหนา้ีงรี้จีจทบรจังาีย่รราำสฉะงCาะลวหเัดุศดลนษะวีหขลส่ กยันงวนือทวปขOตคปCาฐคัรังัตยาววแ1ัดอCําทลณุถรกคtัรบรมินศส)2ลขสoงะอึงระิสจมเผราทหแูะึ้นุรข5กpพัสตปดสแ5งาสแูCทาใลมีCอ่ใเ/งจา?นำยบเยลหตปลษหอะสีค่มสู5บนรบาอตคะCกระ?นฎCผคาร0ูลนเกCานอยำอล0ตวำพวชCูทกิมำรตนรใ่ำบ5าลาำาำัสฒ0ธแีจพาื่อ่ีสธด5านซงมชบังลอารรนหรงนศสอCนาึ่งวใสีพนแศลๆงรC จาะนรงูขึใืก่ยนธำคบมึกีจคงในือCอคสษรๆคแเนษลศชรบร0 หำครมวิซ่งลา)วกาอกึา็จากจบมาแนูลคึง่วาะตาปกงษลมนาหูวรรมปสวา5วรฉิ รแรุลาสณวดหกนานเทมยรนะตสช5กวะมมลานะงังบัำารวว5อรืง่อดรสCไCาวรอกหักงัตสนูCาไCไปคไวนอืูCเสใอมปาปนิศงนปปกกมถหเทือสรบแ/ดังาลนุรี่ใยนึชงCกCุเดสปลีส่ดเนCวะม5เลวขากi5าปือทวะตCวยrกรเนกค5มCอรีc่ยพคพยน?ยรCาดะาม้ีับมพนuมว0แยรณรอบัฒีเเีเขlปีขู้สัฒลนั้งลลทนนยaรีแนนนปCำรอเะงื่อrี้อื้คา5ศนกิลกเพะาี้จารขงงงหรณEทาี่ะดยะวตนดาCอ้นืจ็จcCาสพวีัะแตว่ยี5ามรทมาทoสเัrมัตผกกลงิศิง่กิธชeูลี่รอม่ีnมิชๆูCจีย่ัะบีกาไวaตุ oบบมุมดาหัวทดสแมtรก5าmูรชiทชกชCรทรลตาีvท่ตงาณีพัับบนนๆมกัeะyร้ํราั้งงั้ง00 คณะผ&จู ดั ทำ

สารบัญ 01 02 03 หมทู$ ่ี1 หม$ูที่2 หมทู$ ่ี3 04 05 06หมู$ท่ี4 หมู$ท่ี5 หมูท$ ่ี6 1007 1018 1029หมท$ู ่ี7 หมู$ที่8 หมท$ู ี่9 หมท$ู ี่10 หมทู$ ่ี11 หม$ูท่ี12 การดำเนินโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคม 13 รายตำบลแบบบรู ณาการ การพัฒนาสัมมาชีพและสร/างอาชีพใหม4 (การ 14 ยกระดับสินคา/ Otop/อาชพี อน่ื ๆ) การสร/างและพัฒนา Creative Economy 15 (การยกระดบั การท4องเที่ยว) 16 การนำองคคT วามรไู/ ปชว4 ยบริการชุมชน (Health Care/เทคโนโลยดี า้ นตา่ งๆ) 17 การส4งเสริมด/านสิ่งแวดล/อม/Circular Economy (การเพมิ6 รายไดห้ มุนเวยี นใหแ้ ก่ชุมชน)

01 01 หมท$ู ่1ี

หมูท$ ี่ 1 บ\"านยงู งาม

1. ขนาดและที่ตง้ั ประมาณ 3,500 ไร- บ/านยูงงาม อยู-เป6นหมู-ที่ 1 ตำบลคลองฉนวน อำเภอเวียงสระ จังหวัด สุราษฎรJธานี มีพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ3,500ไร- มีจำนวนครัวเรือน 172 หลัง คาเรือน ระยะห-างจากท่ีว-าการอำเภอเวียงสระ ระยะทาง 10 กโิ ลเมตร ทศิ เหนอื ติดต-อกับ หมู-ที่ 1 ตำบลเขานิพนั ธJ ทิศใต/ ติดต-อกบั หม-ูที่ 10 ตำบลทุง- หลวง ทิศตะวนั ตก ติดต-อกบั หมู-ที่ 2 ตำบลคลองฉนวน ทศิ ตะวนั ออก ติดต-อกับ หม-ทู ่ี 8 ตำบลคลองฉนวน

2. ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ สภาพโดยรวมส-วนใหญเ- ปน6 ที่ราบลุม- มแี หล-งน้ำทส่ี ำคัญ 3. แม5นำ้ สำคัญ - มหี นองนำ้ สาธารณะ จำนวน 2 แหง- - มบี อ- บาดาล จำนวน 3 แหง- - มีบอ- น้ำตน้ื จำนวน 6 แห-ง - ระบบประปาหมู-บา/ น จำนวน 3 แหง- 4. ภมู ิอากาศ สภาพอากาศโดยทัว่ ไปของตำบล เป6นแบบมรสุม มี 2 ฤดู คอื - ฤดูร/อน เริ่มตั้งแต-เดือนมกราคม – เมษายน มีอุณหภูมิเฉลี่ย 28 – 40 องศาเซลเซยี ส - ฤดูฝน เริ่มตั้งแต-เดือนพฤษภาคม-ธันวาคม มีอุณหภูมิเฉลี่ย 25 – 28 องศาเซลเซยี ส และมีปรมิ าณน้ำฝนเฉล่ีย 400 มิลลเิ มตร/ปb

5. ทรพั ยากรธรรมชาติ ปาc ชุมชน ท-งุ เสมด็ จำนวน 185 ไร- 6. การคมนาคม - ทางหลวงแผ*นดนิ หมายเลข 41 - ทางหลวงชนบท สายบ7านยงู งาม - ควนสูง - ทางหลวงชนบท สายบ7านยูงงาม - บ7านเขาปูน - ถนนคอนกรตี 3 สาย ระยะทาง 2.070 กโิ ลเมตร - ถนนคอนกรตี 1 สาย ระยะทาง 600 เมตร - ถนนคอนกรตี เสรมิ เหล็กซอยราษฎรบำรงุ หมทู* ี่ 1 ระยะทาง 460 เมตร 7. ประวตั ิความเปน8 มาชุมชน เมื่อครั้งก*อนหมู*บ7าน “บ7านยูงงาม” มีต7นยูงใหญ*ประมาณ 4 คนโอบ ขึ้นอยู*ใจกลางหมู*บ7านมีความสวยงามและเป[นที่รู7จัก ของคนที่ผ*านไปมา แต*ด7วยภัยพิบัติทำให7ต7นยูง โค*นหักลง มาชาวบ7านในพื้นที่จึงตั้งชื่อหมู*บ7านว*าหมู*บ7าน บ7านยูงงาม โดยแต*เดิมแล7วหมู*บ7าน บ7านยูงงาม เป[นหมู*บ7านบ7านคลอง ฉนวน เมื่อมีการเปลี่ยนประกาศแยกอำเภอและแยก หมู*บ7าน เมื่อวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2505 ทำให7หมู*บ7าน บ7านยูงงาม แยกตัวออกจากหมู*บ7านบ7านคลองฉนวนโดยมี ผู7ใหญเ* นิ้น บุญนวล เป[นผใู7 หญบ* า7 นคนแรกของหมู*บา7 น

8. โครงสร)างของชุมชน - ดAานการปกครอง 1. นายเนนิ้ บุญนวล ดำรงตำแหนง* ตั้งแต*ปb พ.ศ. 2505 - 2518 2. นายจำนงคd เกดิ เกล้อื น ดำรงตำแหน*งตง้ั แต*ปb พ.ศ. 2519 - 2544 3. นายวศิ ิษฐd คษสง*า ดำรงตำแหน*งตงั้ แตป* b พ.ศ. 2545 - 2549 4. นายศักดิช์ ยั กมุ พนั ธd ดำรงตำแหนง* ตง้ั แต*ปb พ.ศ. 2550 ถึงปจi จบุ นั - ดAานประชากร ชุมชนบา7 นยูงงามมี ครัวเรอื นทงั้ หมด มจี ำนวนครวั เรอื น 172 หลงั คาเรอื น

8. โครงสรา) งของชุมชน (ต3อ) - ดAานการศึกษา โรงเรียนบ7านยูงงามก*อตั้งเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2517 โดยกำนันตำบลคลองฉนวน ผู7ใหญ*บ7านหมู*ที่ 1 และราษฎรบ7านยูงงาม โดยมีนาย เกษม สันตธรรม เป[นครูใหญ*คนแรก มีที่ดินบริจาค จำนวน 6 ไร* ตอ* มาราษฎรรว* มกนั จัดซ้ือเพม่ิ อกี 3 ไร* รวมเป[นเนื้อ ท่ี 9 ไร* ทำการเปkดเรียนโดยขยายชั้นเรียนปbละหนึ่งชั้น เรยี น ต้งั แตช* ้นั ประถมศึกษาปทb ี่ 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาปbที่ 6 ต*อมาขยายระดับก*อนประถมศึกษา เปน[ ช้นั อนบุ าลปbที่ 1 และ 2 - ดAานศาสนา ประชากรในชมุ ชนนบั ถือศาสนาพุทธร7อยละ 100%

9. โครงสรา) งด)านเศรษฐกจิ และอาชีพ ในชุมชนบ/านยูงงามมกี ารประกอบอาชีพ 3 อาชีพ ดังนี้ เกษตรกร ,คา/ ขาย ,รับราชการ แยกเป6น % ไดด/ ังนี้ อาชพี 5% 15 80% เกษตกร คา้ ขาย รบั ราชการ

10. ความเชอื่ ประเพณีและพธิ ีกรรม ความเชอ่ื 1. หมอบา7 น 2. ดูฤกษยd าม ,ดวง 3. พระเคราะหd 4. ครูหมอโนราหd ประเพณี 1. ทอดผา7 ปาn โรงเรยี น/งานประจำปโb รงเรยี น 2. ประเพณีทำบุญตกั บาตรสง* ท7ายปเb กา* 3. ต7อนรับปใb หม* 4. ลงแขกเกี่ยวขา7 ว 5. ประเพณีสารทเดอื น10 6. ประเพณลี อยกระทง 7. ประเพณีวันสงกรานตd (รดนำ้ พระ รดนำ้ ดำหวั ผู7ใหญ)* 8. ประเพณชี กั พระ 9. ประเพณีวนั เข7า-ออกพรรษา/แห*เทียนพรรษา 10. ประเพณที างศาสนาตา* งๆ

10. ความเช่อื ประเพณีและพธิ ีกรรม (ตอF ) พิธกี รรม 1. แห*ผ7าข้นึ ธาตุ 2. พธิ ีไหวเ7 จ7าที่ 3. พธิ ที ำขวญั เด็ก 4. การโกนผมไฟ

ปราชญ7ชาวบ)าน 1. ปราชญFชาวบAาน หมอพนื้ บาA น ชอ่ื นายบุญยนื วัตถุ อายุ 62 ปO วนั เดอื น ปO 1 มนี าคม 2502 ทีอ่ ยปู5 Qจจุบนั 33\\1 ม.1 ต.คลองฉนวน อ.เวียงสระ จ.สุราษฎรJ ธานี เบอรFตดิ ตอ5 084-9579503 ประวัติของปราชญชF าวบาA น บดิ าชอ่ื นายโชคชยั ศิริรตั นJ มารดาชอื่ นางพะยอม ชว- ยบญุ ชู สถานะ หม/าย มบี ตุ ร จำนวน 3 คน อาชีพ เกษตรกร การศึกษา มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ภูมิปQญญาทAองถิน่ หมอพืน้ บ/าน หมอโบราณ วิธีการเรียนรูภA ูมิปญQ ญาทAองถิ่นสบื ทอด บรรพบรุ ุษ กิจกรรมช5วยเหลือสงั คมเปนW จิตอาสา ช-วยเหลือสังคมงานชุมชน หมู-บา/ นในตำบล

ปราชญ7ชาวบ)าน (ตอ3 ) 2. ปราชญFชาวบAาน หมอดู ชอื่ นางวศิ ิษฐJ มพี ร้งิ อายุ 77 ปO วนั เดอื น ปO 1 มกราคม 2487 ท่อี ยปู5 Qจจบุ ัน 55 ม.1 ต.คลองฉนวน อ.เวยี งสระ จ.สรุ าษฎรJธานี เบอรFตดิ ตอ5 082-8039218 ประวตั ิของปราชญชF าวบาA น บิดาช่ือ นายสรว/ ง ประเสรฐิ มารดาช่ือ นางปราย ประเสรฐิ สถานะ หมา/ ย มบี ตุ ร จำนวน 4 คน อาชีพ หมอดู การศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4) ภมู ิปญQ ญาทอA งถน่ิ หมอดูยาม ดดู วงชะตา วธิ ีการเรียนรภูA ูมิปQญญาทอA งถ่นิ สืบทอด บรรพบรุ ษุ กิจกรรมช5วยเหลือสังคมเปนW จิตอาสา ชว- ยเหลือสงั คมงานชมุ ชน หมู-บา/ นในตำบล

ปราชญ7ชาวบ)าน (ต3อ) 3. ปราชญช) าวบา, น ด,านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม ชื่อ นางปราณี ทิพยทd อง อายุ 54 ป> วัน เดอื น ปี 3 มนี าคม 2510 ท่อี ยปูB จC จบุ ัน 21/2 ม.1 ต.คลองฉนวน อ.เวียงสระ จ.สรุ าษฎรธd านี เบอร)ติดตอB 084-9579503 ประวตั ิของปราชญช) าวบา, น บิดาชือ่ นายโชคชยั ศริ ิรัตนd มารดาชือ่ นางพะยอม ชว* ยบญุ ชู สถานะ สมรส มบี ุตร จำนวน 3 คน อาชพี เกษตรกร การศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.6) ภมู ปิ ญC ญาท,องถ่ิน งานศลิ ปะประดษิ ฐd วิธีการเรียนรู,ภูมิปCญญาท,องถิ่นสืบทอด ศึกษาจากสื่อต*างๆ อบรมเรียนรู7เพิ่มเติม จากแหล*งเรียนร7ู ประวัติการศึกษาดูงานเคยไปดูงานที่ ศึกษาตามกลุ*มอาชีพต*างๆ เป[นวิทยากรสอน งานประดิษฐdตามโครงการตา* งๆ กิจกรรมชBวยเหลือสังคมเปQนจิตอาสา อาสาสมัครสาธารณสุข ช*วยเหลือสังคมงาน ชมุ ชน หมูบ* 7านในตำบล รางวัลและประกาศเกียรติคุณที่เคยได,รับ อสม.ดีเด*นสาขาสิ่งประดิษฐd ประดิษฐd สนิ คา7 โอทอปประดับ 3 ดาว

11. สถานที่สำคัญ 1. ปาc สงวนเลยี้ งสตั วJ (มโี ครงการสรา/ งคุมขงั นักโทษแตย- ังไม- ดำเนนิ การ) 2. โรงเรยี นบ/านยูงงาม 12. การเปลย่ี นแปลงทางสังคมและวฒั นธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมชุมชน บ/านยูงงามมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย-างมาก นั่นก็คือ มีความความต/องการทางด/านวัตถุ การ ยอมรับประเพณีและวัฒนธรรมใหม-ๆ วิถีชีวิตที่ เปลี่ยนไป มีการพัฒนาของภาครัฐ เศรษฐกิจ และความเจริญด/านเทคโนโลยีจากภายนอกเข/ามา มากขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงบางอย-างก็เป6นการ เปลี่ยนแปลงที่นำไปสู-ศักยภาพของชุมชนที่ดีขึ้น แต-การเปลี่ยนแปลงบางกรณีนำไปสู-ปqญหาทาง สังคม เชน- ปญq หายาเสพติด เป6นต/น

02 01 หมู$ท2่ี

หมูท$ ี่ 2 บ\"านคลองฉนวน

1. ขนาดและทตี่ ง้ั ประมาณ 985 ไร- บ/านคลองฉนวน ตั้งอยู-หมู-ที่ 2 ตำบลคลองฉนวน อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุ ราษฎรJธานี หมู-บ/านคลองฉนวน เดิมจัดตั้งติดอยู-ในเขตปกครองตำบลทุ-งหลวง อำเภอนาสาร ทศิ เหนอื จดจากบ/านยูงงาม ติดเขตหม-ูท่ี 1 ทศิ ใต/จดจากบ/านควนสงู หมทู- ่ี3 ทศิ ตะวนั ตกจากบา/ นขนุ ไสรงคJ ติดเขตหมูท- ี่ 11 ทิศตะวนั ออกจดจากบา/ นต/นแค เขตพนื้ ทตี่ ิดส-วนของหม-ูที่ 9 ตำบลคลองฉนวนอยู*ทางทิศใต7ของอำเภอเวียงสระห*างจากตัวที่ว*าการ อำเภอ 18 กิโลเมตร มี 12 หมู*บ7าน สภาพทั่วไปเป[นที่ราบ มีเนื้อที่ 90 ตาราง กิโลเมตร และได7รับการจดั ตงั้ เปน[ หมูบ* 7าน อพฟ. เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2526

2. ลักษณะภมู ิประเทศ มีอาณาเขตกว/างไกล พื้นที่เป6นที่ราบสูงมีภูเขาหลายแห-ง มีเนื้อที่ 90 ตารางกโิ ลเมตร 3. แม5น้ำสำคัญ - ลำนำ้ คลอง 1 แห-ง - บ-อนำ้ สาธารณะ จำนวน 1 แห-ง - บ-อบาดาลสาธารณะ จำนวน 2 แหง- - ระบบน้ำประปาหมูบ- /าน จำนวน 1 แหง- 4. ภมู อิ ากาศ สภาพอากาศโดยท่ัวไปของตำบล เปน6 แบบมรสุม มี 2 ฤดู คอื - ฤดูร/อน เริ่มตั้งแต-เดือนมกราคม - เมษายน มีอุณหภูมิเฉลี่ย 28 – 40 องศาเซลเซียส - ฤดูฝน เริ่มตั้งแต-เดือนพฤษภาคม - ธันวาคม มีอุณหภูมิเฉลี่ย 25 – 28 องศาเซลเซียส มีปริมาณน้ำฝนเฉล่ีย 400 มลิ ลเิ มตร/ปb

5. ทรพั ยากรธรรมชาติ บ/านคลองฉนวน มีแหล-งน้ำสำคัญ คือ ลำคลองฉนวน และบ-อ บาดาลสาธารณะ แหล-งน้ำนี้ถือเป6นแหล-งน้ำสำคัญสำหรับการเพาะปลูก และทำเกษตรของชาวบา/ น 6. การคมนาคม การเดินทางเข7าส*ูตำบล ราษฎรสว* นใหญ*จะใช7รถยนตสd *วนตัว รถจกั รยานยนตd และรถประจำทาง มที างหลวงแผ*นดนิ สายเอเชีย (สาย41) ผ*านตวั ตำบล มี ถนนเชอ่ื มโยงไปทกุ หมูบ* า7 น 7. ประวตั ิความเป8นมาชุมชน บ7านคลองฉนวน ตั้งอยู*หมู*ที่ 2 ตำบล คลองฉนวน อำเภอ เวียงสระ จังหวัดสุราษฎรdธานี หมู*บ7านคลองฉนวน เดิม จัดตั้งติดอยู*ในเขตปกครองตำบลทุ*งหลวงอำเภอนาสาร ต*อมาราชการได7จัดตั้งอำเภอเวียงสระ ผนวกเอาตำบลทุ*ง หลวงมาอยู*ในเขตการปกครอง เมื่อประชาชนมาอาศัยอยู* มากขน้ึ จงึ ไดแ7 ยกตำบลเพิ่มเป[นตำบลคลองฉนวน

8. โครงสร)างของชมุ ชน - ดาA นการปกครอง 1. นายเกรยี งศกั ดิ์ สันตธิ รรม ตำแหน*งผูใ7 หญบ* า7 น 2. นายสำเรงิ ทองศรี ตำแหน*ง นายกองคกd ารบรหิ ารสว* นตำบล 3. นายสมคดิ ทองถงึ ตำแหน*งสมาชิกองคกd ารบริหารสว* นตำบล 4. นายอภสิ ทิ ธ์ิ สม7 เกล้ยี ง ตำแหนง* สมาชิกองคกd ารบริหารสว* นตำบล - ดAานประชากร จำนวนหลังคาเรอื น 189 หลงั คาเรอื น จำนวนประชากร 786 คน และ ประชากรชาย 395 คน ประชากรหญิง 391 คน

8. โครงสร)างของชมุ ชน (ตอ3 ) - ดAานการศึกษา ตำบลคลองฉนวนมีโรงเรียนประถมศึกษาจำนวน 1 แห*ง คือโรงเรยี นคลองฉนวน ข7อมูลทางด7านการศึกษาของคนในชุมชนมี ดงั น้ี ไมไ* ดเ7 รียนหนงั สอื จำนวน 6 คน ประถมศกึ ษา จำนวน 14 คน มธั ยมศกึ ษา จำนวน 31 คน อนปุ รญิ ญา จำนวน 13 คน ปรญิ ญาตรี จำนวน 39 คน สงู กว*าปรญิ ญาตรี จำนวน - คน - ดAานศาสนา ตำบลคลองฉนวนมวี ัดประจำตำบล 1 แห*ง คือวดั คลองฉนวน ประชากรในชุมชนนบั ถือศาสนาพทุ ธร7อยละ 100%

9. โครงสรา) งด)านเศรษฐกจิ และอาชพี ในบา/ นคลองฉนวนมกี ารประกอบอาชีพท่หี ลากหลายอาชพี ดังน้ี 1. เกษตรกร 2. ขา/ ราชการ 3. พนกั งานบรษิ ทั 4. คา/ ขาย 5. รบั จ/าง

10. ความเชื่อ ประเพณแี ละพิธีกรรม ในเขตหมู*ที่ 2 ตำบลคลองฉนวน จะเป[นประเพณีของคนในพื้นที่ เป[นประเพณี ขึ้นปbใหม*และที่สำคัญจะมีการทำบุญศาลาหมู*บ7าน จะมีการอาบน้ำพ*อท*านพร7อม สงฆd น้ำพ*อท*านพร7อม ซึ่งพ*อท*านพร7อมเป[น ผู7บุกเบิกวัดคลองฉนวน ซึ่งการจัดงาน จัดจัดในช*วงวันที่ 5-12 เมษายน ของทุกๆปbและในเดือนกรกฎาคมจะมีการแห*เทียน พรรษา ณ วัดคลองฉนวน ปราชญชF าวบAาน 1.นายจวน บานเย็น มีความรเ0ู รื่อง การจัดสาน 2.นายเยอื น บานเยน็ มีความรเู0 ร่อื ง เยบ็ ป<กถักรอ0 ย 3.นายยทุ ธ อินทฉิม มคี วามรเ0ู ร่ือง จกั รสาน 4.นางบานเยน็ เพชระ มคี วามรเ0ู รื่อง การทำอาหาร 5.นายเกษต สันตธรรม มคี วามรด0ู า0 น ศาสนพธิ ีทางศาสนา 6.นายชม ทองถงึ มีความรู0ดา0 น พิธีทางศาสนา 7.นางกาญจน ชยั ภกั ดี มคี วามรู0ดา0 น ทำดอกไมเ0 กลด็ ปลา 8.นางผอW งศรี ดว0 งชมุ มคี วามรู0ด0านเศรษฐกจิ พอเพยี ง 9.นางพรวิวาทZ ทองถึง มีความรู0ด0านชาW งเยบ็ ผา0 10.นายวันชัย ด0วงชุม มีความรู0ด0าน ชาW งยนตZ 11.นางสาวเสาวรันตZ จนิ า มคี วามรดู0 า0 นทำหมอนแกะสลัก 12.นายนกุล ทรพั ยเZ จรญิ มีความรด0ู 0านชาW งไม0 13.นายปริญญา ชยั ภกั ดี มีความรด0ู า0 น ชWางไฟฟา^

11. สถานทีส่ ำคัญ 1. โรงเรยี นคลองฉนวน 2. วัดคลองฉนวน 3. อนามยั คลองฉนวน 12. การเปลยี่ นแปลงทางสงั คมและวฒั นธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมชุมชนบ7านคลอง ฉนวนมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมอย*างมาก เนื่องจากประชากรในหมู*บ7านมีความรู7ความสามารถ มีความ พร7อมที่จะพัฒนาหมู*บ7านคลองฉนวนให7ดีขึ้น อีกทั้งความ เจริญด7านเทคโนโลยีจากภายนอกเข7ามามากขึ้น ซึ่งการ เปลี่ยนแปลงบางอย*างก็เป[นการเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู* ศักยภาพของชุมชนที่ดีขึ้น ในส*วนทางด7านประเพณีและ วัฒนธรรมนั้นเนื่องจากในหมู*บ7านคลองฉนวนมีวัดประจำ หมู*บ7านอยู*ทำให7ชาวบ7านเข7าถึงวัฒนธรรมและประเพณีอย*าง ทั่วถึง มีการยอมรับประเพณีและวัฒนธรรมใหม*ๆ และมีวิถี ชีวิตที่เปลี่ยนไป มีการพัฒนาของภาครัฐ เศรษฐกิจ ไป ในทางที่ดีขึ้น แต*อย*างไรก็ตามทางหมู*บ7านคลองฉนวนก็ยังมี ปiญหาทางสังคมอยู* เช*น ปiญหายาเสพติด ปiญหาภายใน ครอบครัวของชาวบ7าน และปiญหาในด7านของการศึกษา เปน[ ตน7

03 01 หมท$ู ่3ี

หมูท$ ี่ 3 บ\"านควนสงู

1. ขนาดและทต่ี งั้ บ/านควนสูง หมู-ที่ 3 ตั้งอยู-ในตําบลคลองฉนวน อําเภอเวียงสระ จังหวัด สุราษฎรJธานี ห-างจากอําเภอเวียงสระ ไปทางทิศใต/ ประมาณ 13 กิโลเมตร ห-าง จากจังหวัดสุราษฎรJธานี ไปทางทิศใต/ ประมาณ 80 กิโลเมตร มอี าณาเขตติดต-อ ดังนี้ ทศิ เหนอื ติดต-อกับ คลองลําพลา ทิศใต/ ติดต-อกบั ตาํ บลดุสติ อําเภอถ้ำพรรณรา จงั หวัดนครศรธี รรมราช และหมูท- ่ี 6 ตําบลคลองฉนวน ทิศตะวันออก ตดิ ตอ- กบั หม-ทู ี่ 10 ตําบลคลองฉนวน ทศิ ตะวันตก ติดตอ- กับ หม-ทู ี่ 7 ตําบลคลองฉนวน

2. ลกั ษณะภูมิประเทศ บ/านควนสูงเป6นที่ราบลุ-มสลับดินดอน มีแหล-งน้ำตามธรรมชาติ พนื้ ที่เหมาะสำหรบั ทำการเกษตร เชน- สวนยางพารา สวนปาลมJ นำ้ มัน 3. แม5นำ้ สำคญั 1. คลองลำพลา 4. ภูมอิ ากาศ อำเภอเวียงสระเป6นที่ราบมีลมมรสุมพัดผ-าน จึงมีฝนตกชุก ตลอดปb ฤดูกาลจะมีเพียง 2 ฤดู คือฤดูร/อน เริ่มตั้งแต-เดือนมกราคม ถึง เดือนเมษายนหรือเดือนพฤษภาคม ฤดูฝน เริ่มตั้งแต-เดือนพฤษภาคม ถึงเดือนธันวาคม บางปbอาจถึงเดือนมกราคม โดยทั่วไปในฤดูร/อน อากาศไม-ร/อนเนื่องจากมีสวนผลไม/ สวนยางพารา ฤดูฝนจะมีฝนตกใน ปริมาณที่มากกว-าพื้นทที่ ัว่ ไป ช-วงกลางคืนอากาศจะเยน็ ชน้ื

5. ทรัพยากรธรรมชาติ ชมุ ชนบา/ นควนสงู ไดม/ ีการจัดตั้งพืน้ แหล-งธรรมชาตสิ ำคัญในชมุ ชน เพอ่ื ปtองกันการเสอ่ื มโทรมและการถกู ทำลายของพ้ืนที่ โดยจดั ตงั้ ให/ หานพอื และคลองลำพลา เป6นแหลง- อนรุ กั ษภJ ายในชมุ ชน 6. การคมนาคม การคมนาคม (การเดนิ ทางไปยงั หม*ูบ7าน) การเดินทางเข7าหมู*บา7 น ราษฎรสว* นใหญ*จะใช7รถยนตสd *วนตัว รถจกั รยานยนตd และรถประจำทาง โดยใช7เส7นทางสายหลกั ดงั น้ี - ทางหลวงแผ*นดนิ หมายเลข 41 (ถนนสายเอเชีย) - ทางหลวงชนบท สายบ7านยูงงาม – ควนสงู - ทางหลวงชนบท สายควนสงู - บอดใต7 ระยะทาง 3,000 กิโลเมตร 7. ประวตั คิ วามเป8นมาชุมชน บ0านควนสูง หมูWที่ 3 ตำบลคลองฉนวน อำเภอเวียงสระ จงั หวดั สุราษฎรZธานี กอW ต้ังหมบูW 0านเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2490 จาก คำบอกเลWาของคุณพWอน0าว เกิดเลื่อน อายุ 101 ปc ทWานกลWาววWา กWอนหน0านั้นผู0คนมีการสัญจรไปมาโดยทางเรือแมWน้ำตาปc คน จำนวนมากลWองเรือและแจวเข0ามาทางบ0านปากฉนวน ขึ้นตรงมา คลอง ฉนวนป<จจุบัน มาตั้งถิ่นฐานที่บ0านคลองฉนวน หมูWที่ 2 ใน ป<จจุบัน ซึ่งเปgนพื้นที่ถูกกั้นด0วยลําคลองฉนวน ตWอมาเมื่อประชากร เพิ่มมากขึ้นจึงต0องมีการขยับขยายออกมาทำมาหากิน การถางปiา ปลูกข0าวนา ทำไรW เมื่อ ประชากรเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จึงมีการแบWงเขต การปกครองหมูWบ0าน โดยมีผู0ใหญWบ0านคนแรก คือผู0ใหญWประทิศ ณ นคร ปกครองเปgนบ0านควรสูง หมูWที่ 3 ตำบลคลองฉนวน อำเภอ เวียงสระ จังหวดั สรุ าษฎรZธานี

8. โครงสรา) งของชุมชน - ดาA นการปกครอง บ0านควนสูง มีการปกครองแบบระบอบประชาธิปไตย โดยมีคณะกรรมการหมูWบ0านนำโดย นายวรี ศกั ด์ิ ลิกขไชย ผใ0ู หญWบา0 น คณะกรรมการหมบูW 0าน เปgนต0น บ0านควนสูง มีพื้นที่ทั้งหมดอยูWในเขตการปกครองขององคZการบริหารสWวนท0องถิ่น การ ปกครองตามข0อบังคับของกระทรวงมหาดไทยวWาด0วยคณะกรรมการหมูWบ0าน พ.ศ. 2526 มี คณะกรรมการและกลุWมองคZกรในหมูWบ0าน ที่มีความเข0มแข็งเนื่องจากผู0นำชุมชน ประชาชนใน หมูWบ0านมีความสามัคคีมีสWวนรWวมในการจัดเวทีประชาคม เพื่อปรึกษาหารือในด0านตWางๆ ทำให0 หมบWู 0านและองคZกรตาW งๆสามารถพัฒนาให0เข0มแขง็ เปgนหมูWบ0านเศรษฐกจิ พอเพียงได0 - ดAานประชากร ชมุ ชนบ7านควนสูง มจี ำนวนประชากร รวมทง้ั ส้ิน 1,411 คน

8. โครงสรา) งของชุมชน (ต3อ) - ดาA นการศกึ ษา ภายในชุมชนบ0านควนสูงไมWมีสถานศึกษา เด็ก ภายในชุมชนต0องออกไปเรียนหนังสือนอกพื้นที่ และมีเด็กบางสWวน ไมWได0รับการศึกษา เนื่องจากไมWมีคWาเลWาเรียนและสถานที่ศึกษาอยWู ไกลจากพ้นื ที่ - ดาA นศาสนา ชาวบา0 นควนสงู ทั้งหมดนับถอื ศาสนาพุทธ ชาวบ0านจะไปทำบุญหรอื ประกอบกจิ กรรมตาW งๆในวันสำคญั ทางศาสนาทวี่ ัดสามคั คีธรรมราม

9. โครงสรา) งดา) นเศรษฐกจิ และอาชพี คนในหมู-บ/านส-วนใหญ-ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช-น ทำสวน ยางพารา สวนปาลJมน้ำมนั รับจ/างท่วั ไป คา/ ขาย และเลีย้ งสตั วJ เปน6 ต/น

10. ความเชื่อ ประเพณีและพธิ ีกรรม ความเช่อื 1. หมอบ/าน 2. ดูฤกษJยาม ,ดวง 3. พระเคราะหJ ประเพณี 1. ประเพณวี นั ข้ึนปใb หม- 2. ประเพณีวันสงกรานตJ (รดนำ้ พระ ,รดนำ้ ดำหัวผ/ูใหญ-) 3. ประเพณีสารทเดอื น10 4. ประเพณวี ันเข/า-ออกพรรษา/แหเ- ทียนพรรษา 5. ประเพณลี อยกระทง

10. ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม (ตอF ) พธิ กี รรม 1.พธิ ไี หวเ/ จา/ ท่ี 2.พธิ ีทำขวญั เดก็ 3.การโกนผมไฟ

11. สถานท่ีสำคญั 1. วดั ธรรมสามคั คีราม 2. คลองลาํ พลา 3. ศนู ยส์ าธารณสขุ มลู ฐาน 4. แหลง่ เรยี นรูช้ มุ ชน 12. การเปล่ยี นแปลงทางสงั คมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมชุมชน บ/านควนสูงมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม คือ มี ความความต/องการทางด/านวัตถุ การยอมรับ ประเพณีและวัฒนธรรมใหม-ๆ วิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป มีการพัฒนาของภาครัฐ เศรษฐกิจ และความ เจริญด/านเทคโนโลยีจากภายนอกเข/ามามากขึ้น ซึ่งส-งผลให/ชุมชนมีการพัฒนา ยกระดับคุณภาพ ชีวิตและเศรษฐกิจของชุมชน ชาวบ/านมีความ เป6นอยู-ท่ดี ขี ้นึ

04 01 หมทู$ ่4ี

หม$ูท่ี 4 บ\"านคลองกา ตฉำนบวลนคลอง อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร-ธานี

1.ขนาดและท่ีตั้ง ทิศเหนือจรด หมู.ท่ี 4 บ4านเขาปูน ทิศใต4จรด ตำบลดุสิต อำเภอถ้ำพรรณรา จังหวัดนครศรีธรรมราช ทิศตะวันออกจรด ตำบลดุสิต อำเภอถ้ำพรรณรา จังหวัดนครศรีธรรมราช ทิศตะวันตกจรด หมู.ท่ี 5 บ4านปากกา ตำบลคลองฉนวน บ4านคลองกาเปMนหม.ูบ4านหนึ่งใน 12 หม.ูบ4านขององคQการบริหารส.วนตำบล คลองฉนวน อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎรQธานี ต้ังอย.ูทางด4านทิศตะวันออก ขององคQการบริหารส.วนตำบลคลองฉนวน และอย.ูห.างจากองคQการบริหารส.วน ตำบลคลองฉนวน โดยทางรถยนตQเปMนระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร 2.ลักษณะภูมิประเทศ พื้นท่ี มีลักษณะเปMนที่ราบ (หรือท่ีราบ/แอ.ง/ท่ีรามเชิงเขา) เหมาะแก.การทำนาและท.ุงเลี้ยงสัตวQ 3.แม>น้ำสำคัญ - คลองกา - หนองจูด

4.ภูมิอากาศ สภาพอากาศโดยทั่วไปของตำบล เปMนแบบมรสุมมี 2 ฤดู -ฤดูร4อน เร่ิมตั้งแต.เดือนมกราคม – เมษายน มีอุณหภูมิเฉล่ีย 28–40 องศาเซลเซียส -ฤดูฝน เร่ิมตั้งแต.เดือนพฤษภาคม-ธันวาคม มีอุณหภูมิเฉลี่ย 25–28 องศาเซลเซียส และมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 400 มิลลิเมตร/ปd 5.ทรัพยากรธรรมชาติ บ4านคลองกา มีคลองกาและหนองจูดไหลผ.านบริเวณหม.ูบ4าน ซึ่งถือเปMนแหล.งทรัพยากรธรรมชาติท่ีสำคัญของหม.ูบ4าน ท่ีเกิดข้ึนมาอย.างยาวนานตั้งแต.สมัยบรรพบุรุษชาวบ4าน จึงช.วยกันอนุรักษQโดยร.วมกันรณรงคQไม.ให4ท้ิงขยะ ลงในแม.น้ำลำคลองและห4ามตัดต4นไม4บริเวณน้ัน 6.การคมนาคม - ทางหลวงแผ.นดินหมายเลข 41 (ถนนสายเอเชีย) - ทางหลวงชนบท สายคลองกา - ถนนสายปากกา พรุแชง (กรมทางหลวงชนบท) - ทางหลวงชนบทสายบ4านยูงงาม - บ4านเขาปูน (กรมทางหลวงชนบท) - ถนนลาดยางสายโรงเรียนบ4านคลองกา - เขาปูน หมู.ท่ี 4 (องคQการบริหารส.วนจังหวัดฯ)

7.ประวัติชุมชน ท่ีต้ังหมู.ที่4 เดิมเปMนหมู. 10 ตำบลทุ.งหลวง อำเภอบ4านนาสาร จังหวัดสุราษฎรQธานี และ ได4แยกออกมาเปMน หมู. 4 บ4านคลองกา ตำบลคลองฉนวน อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎรQธานี เมื่อปd พ.ศ.2497 โดยมีผ4ูใหญ.บ4านช่ือ นายไข. สุขแก4ว เปMนผู4ก.อตั้งหมู.บ4าน โดยต้ังช่ือว.าหม.ูบ4าน คลองกา จากคำบอกเล.าของชาวบ4าน ช่ือหม.ูบ4านคลองกา มาจาก นายไข. สุขแก4ว เปMนผู4ตั้ง โดย ได4พบเห็นฝูงกาเปMนจำนวนมากมาลงเล.นน้ำหรือกินน้ำบริเวณทุ.งนาที่มีคลองและเวลาช.วงค่ำ จะมีฝูงกามานอนบริเวณทางเดิน 8.โครงสรMางของชุมชน 8.1 ด&านการปกครอง ทำเนียบผู4ใหญ.บ4านตั้งแต.อดีตจนถึงปiจจุบัน 1. นายไข. สุขแก4ว เริ่ม พ.ศ.2497 2. นายชม สุขแก4ว - 3. นายสุวรรณ ริยาพันธQ เริ่ม พ.ศ.2515 - พ.ศ.2540 4. นายวันชัย ยะโสธQ เริ่ม พ.ศ.2541 - พ.ศ.2562 5. นายวิชาญ สุขแก4ว เริ่ม 30 ธันวาคม 2563 – ปiจจุบัน 8.2 ด&านประชากร หม.ูท่ี 4 บ4านคลองกามีจำนวนประชากร 722 คน เปMนชาย 371 คน เปMนหญิง 351 คน จำนวน ครัวเรือนทั้งหมด 196 ครัวเรือน

โครงสรMางของชุมชน (ต>อ) 8.3ด&านการศึกษา ประวัติความเปMนมา โรงเรียนบ4านคลองกาตั้งเมื่อ 14 มิถุนายน พ.ศ.2505 โรงเรียนนี้ราษฎรในหมู.ที่ 10 ตำบล ทุ.งหลวง อำเภอบ4านนาสาร จังหวัดสุราษฎรQธานี ได4พร4อมใจกันสร4างโรงเรียนข้ึน 1 หลังมุง ด4วยสังกะสี โดยนายจางกามณีและนายสมปอง ยะโสธQ มอบที่ดินให4คนละ 6 ไร. รวมเปMนเนื้อ ท่ี 12 ไร. ขนาดกว4าง 7 เมตร ยาว 13 เมตร ในท่ีดินซ่ึงสงวนไว4เปMนสมบัติของโรงเรียน พร4อม ด4วยอุปกรณQต.าง ๆ ค.าใช4จ.ายประมาณ 5,500 บาท แรกเปoดทำการสอนเปMนโรงเรียนแบบ ประชาชน ผ4ูใหญ.บ4านหม.ูท่ี 10 เปMนผ4ูอุปการะและนายเกริก บุญพวง ได4ขออนุญาตเปoดทำ การสอน โดยให4ช่ือ โรงเรียนนี้ว.า “โรงเรียนบ4านคลองกา” (สามัคคีก.อสร4าง) เปoดสอนจาก ช้ัน ป.1-4 เม่ือวันท่ี 14 มิถุนายน พ.ศ.2505 จัดตั้ง มีครู 3 คน คือ นายเปล่ียนเพชรช.วย นายอุดม สวนกูล และนางสาวหนูเด็ด ขวัญใน ในการเปoดโรงเรียนนี้ได4นิมนตQพระและได4เชิญนายทั่ววิทยปรีชากุลเจ4าหน4าที่แผนก ศึกษาธิการอำเภอพร4อมด4วย นายเกษม สันตธรรม ประธานกลุ.มคลองฉนวน และนาย-บัตร ทองศรี ครูโรงเรียนวัดคลองฉนวน นอกจากน้ีมีผ4ูใหญ.บ4านหม.ูท่ี 10 ผ4ูปกครองนักเรียนได4มา ร.วมเปMนจำนวนมาก เมื่อทำพิธีเปoดปrายเรียบร4อยแล4วนายทั่วได4กล.าวถึงวัตถุประสงคQของ การศึกษาและการดำเนินการของโรงเรียนพอสมควร ต.อมาวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2506 โรงเรียนนี้ก็ได4เปoดเปMนโรงเรียนประชาบาล นายนิกร แก4วเจริญ ครูโรงเรียนบ4านควนสูง มาเปoดรับเด็กเข4าเรียนในปdนี้จนทาง ราชการได4บรรจุ นายทวี ขุนสิทธ์ิ มาดำรงตำแหน.งโรงเรียนนี้เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ.2506 นายนิกร แก4ว เจริญ มอบหมายงานแล4วกลับไปทำการสอนโรงเรียนเดิม ในปdการศึกษาต.อมา นายทวี ขุน สิทธ์ิ ย4ายไปทำการสอนโรงเรียนบ4านไทรห4อง และได4บรรจุ นายอนงคQ นาคเดช มาเมื่อ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2507 และนายอภิรมยQ สมศิลปt มาเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ.2507 ซึ่งทั้ง สองคนทำการสอนอยู.เปMนปกติทุกวัน

8.โครงสรMางของชุมชน (ต>อ) 8.3 ด&านการศึกษา (ต8อ) - สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสุราษฎรQธานี เขต 3 - มีเขตพ้ืนที่บริการ 1 หมู.บ4าน คือ หม.ูที่ 4 ตำบลคลองฉนวน อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎรQธานี - ช่ือ-สกุล ผ4ูบริหารสถานศึกษาปiจจุบัน : นางสาวขวัญชนกเต็มเปvdยม - ระดับที่เปoดสอน : เปoดสอนต้ังแต.ระดับอนุบาลถึงระดับประถมศึกษาปdที่6 - ระบบโครงสร4างการบริหาร : โรงเรียนแบ.งโครงสร4างงานภายในสถานศึกษา ถือตามระเบียบคณะกรรมการเขตพื้นท่ีการศึกษาสุราษฎรQธานี เขต 3 ว.าด4วย การแบ.งส.วนราชการภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2548 โดยแบ.งเปMน 4 กล.ุม ดังน้ี 1. กลุ.มบริหารงานวิชาการ 2. กล.ุมแผนงานและงบประมาณ 3. กล.ุมบริการงานบุคคล 4. กล.ุมบริการงานทั่วไป คำขวัญโรงเรียน คุณธรรมดี วิชาการเด.น เน4นกีฬา ร4ูค.าส่ิงแวดล4อม ก4าวพร4อมชุมชน วิสัยทัศนQ/ปรัชญา โรงเรียนบ4านคลองกา จัดการศึกษาเน4นคุณธรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง สู.การเรียนร4ูที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา พันธกิจ/เปrาประสงคQ 1.คุณธรรมนำความรู4ค.ูเศรษฐกิจพอเพียง 2.ส.งเสริมการพัฒนาครูเพื่อพัฒนาผู4เรียน 3.ส.งเสริมการบริหารจามมาตรฐานการศึกษา 4.มวลชนสัมพันธQ

8.โครงสรMางของชุมชน (ต>อ) 8.3 ด&านการศึกษา (ต8อ) - ข4อมูลครู/บุคลากรโรงเรียนบ4านคลองกา : จำนวนชาย 1 คน หญิง 6 คน รวมทั้งหมด 7 คน นางสาวขวัญชนก เต็มเปdvยม ตำแหน.ง ผ4ูอำนวยการโรงเรียน นางเพียงโสม สมบัติ นางสาวสุกัญญา ไชยชาญ นางสาวณัฐณิชา สิทธิรักษQ ตำแหน.ง ครู ตำแหน.ง เจ4าหน4าท่ีธุรการ ต(อำแัตหรานจ.ง4าคง)รู นายประจวบ ศรีภิลา นางสาวนินาวดี ดอเลzาะ นางพัชรินทรQ กาญจนะ ตำแหน.ง ครูผู4ช.วย ตำแหน.ง ครูผ4ูช.วย ตำแหน.ง ครูผ4ูช.วย (ช.วยราชการ)

8.โครงสรMางของชุมชน (ต>อ) 8.4 ด&านศาสนา ประชากรในชุมชนนับถือศาสนาพุทธร4อยละ 100% 9.โครงสรMางดMานเศรษฐกิจและอาชีพ ในชุมบ4านคองกามีการประกอบอาชีพ 3 อาชีพ ดังน้ี เกษตรกร ,ค4าขาย ,รับราชการ แยกเปMน % ได4ดังน้ี เกษตร 80% ค4าขาย 15% รับราชการ 5% รับราชการ ค+าขาย เกษตร 5% 15% 80%

10.ความเช่ือ ประเพณีและพิธีกรรม 10.1 วัฒนธรรม/ประเพณี - ประเพณีสงกรานตD - ประเพณีลอยกระทง - ประเพณีการทำบุญตักบาตร เม่ือถึงวันสำคัญทางศาสนา - ประเพณีสารทเดือนสิบ - ทำบุญข้ึนบ5านใหมB - ประเพณีการเข5าโรงครู ชาวบ5านท่ีนับถือเชื้อสายทางมโนราหD 10.2 ปราชญDชาวบ5าน สานกระด5ง - นางเผ่ือน สุขแก5ว เก่ียวกับสมุนไพร - นายเสริม อินทกูล กลอนมโนราหD - นายเวียน แก5วทุBง 11.สถานที่สำคัญ - คลองกา - หนองจูด 12.การเปล่ียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมชุมชนบ4านคลองกามีการเปลี่ยนแปลงทาง สังคมอย.างมากการยอมรับประเพณีวัฒนธรรมใหม. ๆ และเทคโนโลยีสมัยใหม.ที่เกิดขึ้นใน ชุมชนซ่ึงการเปลี่ยนแปลงเหล.านี้มีผลต.อวิถีชีวิตของผู4คนเปลี่ยนไปในทางท่ีดีข้ึน และการมี ส.วนร.วมของคนในชุมชนนั้นก็ยังเปMนบ.อเกิดของความสามัคคีภายในชุมชนให4ชุมชนเข4มแข็ง ห.างไกลจากยาเสพติดต.าง ๆ

05 01 หมทู$ ่5ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook