Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บันทึกการเรียนรู้-นางสาวนิรณัย-ปานเหลือ-รหัส-62115239118

บันทึกการเรียนรู้-นางสาวนิรณัย-ปานเหลือ-รหัส-62115239118

Published by sukritta14799, 2021-05-06 12:30:57

Description: บันทึกการเรียนรู้-นางสาวนิรณัย-ปานเหลือ-รหัส-62115239118

Search

Read the Text Version

บนั ทกึ การเรยี นรู้ รายวชิ าการวดั และการประเมนิ ผลการเรยี นรู้

คานา บนั ทึกการเรียนรู้ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการวัดและการประเมินการศึกษาและการเรียนรู้ จัดทาขึ้นเพื่อ ศึกษาความรู้พร้อมท้ังทาความเข้าใจก่อนท่ีจะสรุปเนื้อหาเป็นความคิดส่วนตัว เพ่ือใช้ในการทบทวนความรู้ ท้ังนี้ประกอบด้วย เน้ือหาความรู้ทง้ั หมด 17 เรื่อง ได้แก่ แนวคิดเกย่ี วกับการเรยี นรู้ แนวคิดเบื้องต้นเกีย่ วกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ความสาคญั ประเภท หลกั การและจุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรยี นรูโ้ ดยใช้ แบบทดสอบ แบบทดสอบปรนัยชนิดถูก-ผิด (True or false Test) แบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่ (Matching test) แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคาและตอบสนั้ แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ (Multiple test) การตรวจสอบคุณภาพของ แบบทดสอบ การวิเคราะห์ข้อสอบด้วย SPSS การวิเคราะห์ตัวช้ีวัดสู่การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ การออกแบบหน่วยการ เรียนรู้อิงมาตรฐานโดยใช้กระบวนการแบบย้อนกลับ การประเมินจากการสื่อสารระหว่างบุคคล การประเมินการปฏิบัติการ ประเมินตามสภาพจริงในช้ันเรียน การใช้รูบิกส์ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และการประเมินโดยใช้แฟ้มสะสม ผลงาน ผู้จัดทาคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบันทึกการเรียนรู้น้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาต่อ หากมีข้อเสนอแนะประการใด ผู้จดั ทาขอน้อมรบั ไวด้ ว้ ยความขอบพระคณุ เป็นอย่างย่งิ ก

สารบัญ หนา้ ก เร่อื ง ข คานา ง สารบัญ จ อาจารยผ์ สู้ อน 1 เจา้ ของผลงาน 2 แนวคดิ เก่ียวกับการเรยี นรู้ 3 แนวคดิ เบ้อื งตน้ เก่ยี วกับการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 4 ความสาคัญ ประเภท หลกั การและจดุ ม่งุ หมายของการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 5 การวดั และประเมินผลการเรยี นร้โู ดยใช้แบบทดสอบ 6 แบบทดสอบปรนัยชนดิ ถูก-ผิด (True on false Test) 7 แบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่ (Matching test) แบบทดสอบปรนยั ชนิดเติมคาและตอบสน้ั ข

สารบญั (ต่อ) หน้า 8 เร่อื ง 9 แบบทดสอบปรนัยชนดิ เลือกตอบ (Multiple choice test) 10 การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ 11 การวเิ คราะห์ขอ้ สอบดว้ ย SPSS 12 การวเิ คราะหต์ วั ช้ีวดั สกู่ ารออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ 13 การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้องิ มาตรฐานโดยใช้กระบวนการแบบยอ้ นกลับ 14 การประเมินจากการสอ่ื สารระหวา่ งบุคคล 15 การประเมินการปฏบิ ัติ 16 การประเมินตามสภาพจริงในชัน้ เรียน 17 การใช้รูบิกสใ์ นการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 18 การประเมนิ โดยใช้แฟม้ สะสมผลงาน 21 สรปุ สะทอ้ นความร้สู กึ 22 ค สญั ญาการเรียน

อาจารย์ผ้สู อน ง

เจา้ ของผลงาน ชอ่ื -นามสกลุ นางสาวนริ ณยั ปานเหลอื รหสั นักศึกษา 62115239118 นักศึกษาสาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 คตปิ ระจาใจ คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร ตวั อย่างทดี่ มี คี า่ กวา่ คาสอน จ

แนวคดิ เกี่ยวกบั การเรียนรู้ การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 1. พทุ ธพิ สิ ยั (Cognitive) การเปลย่ี นพฤตกิ รรมของผู้เรียนท่ีคงทน ถาวรหรือค่อนข้างถาวร ทั้งที่เป็น 1. ความรู้/ความจา 2. ความเขา้ ใจ 3. การนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน พฤติกรรมท่ีแสดงออกให้เห็นได้ชัดหรือ 4. การวเิ คราะห์ พฤตกิ รรมทแี่ ฝงอยู่ในตัว 5. การสงั เคราะห์ 6. การประเมนิ คา่ Learning behavior 2. จิตพิสยั (Affective) 1. ข้ันรบั รู้ รับรจู้ นเกิดความสนใจ 2. ข้ันตอบสนอง ตอบสนองตอ่ สง่ิ ท่ีรบั รู้ 1. Cognitive ความจา ความเข้าใจ 3. ขนั้ เห็นคณุ คา่ สรา้ งคา่ นิยม 4. ข้นั จัดระบบคา่ นยิ ม จัดระบบคา่ นยิ มเปน็ แนวทางการปฏิบตั ิ การคดิ รปู แบบตา่ งๆ 5. ขน้ั สร้างลกั ษณะนสิ ัยจากค่านยิ ม เกิดนิสยั ถาวร 2. Affective ความรูส้ ึก ความเชอ่ื เจตคติ ค่านิยม 3. ทักษะพิสยั (Psychomotor) 3. Psychomotor เป็นพฤตกิ รรม เก่ยี วกับการเคลอื่ นไหวอวัยวะทางาน Dave 1.รบั ร้แู ละเรียนแบบ 2.ลงมือทาตามได้ คอยแนะนา 3.ลดความผิดพลาด ประสานกัน 4.ทาไดต้ ่อเนื่อง มีความคล่องแคลว่ 5.ทาได้อตั โนมตั ิ ปฏิบตั ิได้อยา่ งเป็นธรรมชาติ Simpson 1.รบั รู้ 2.เตรียมพรอ้ ม 3.ตอบสนองคาแนะนา 4.การปฏบิ ตั ิไดด้ ้วยตนเอง 5.ตอบสนองซบั ซ้อน 6.การดัดแปลง 7.รเิ ร่ิม 1

แนวคดิ เบือ้ งตน้ เกี่ยวกบั การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ การวัดผล (Assessment) ข้นั ตอนการเกบ็ รวบรวมข้อมลู และการจดั กระทาหรอื วิเคราะหข์ อ้ มูล กระบวนการกาหนดตวั เลขหรอื ใชร้ ะหว่างการจดั การเรยี นการสอนอย่างตอ่ เนอื่ ง (Formative) และช่วงทา้ ยการจัดการเรียนการ สญั ลักษณแ์ ทนสิ่งทต่ี ้องการวดั โดยสิง่ สอนเพือ่ หาข้อสรปุ (Summative) ทีต่ อ้ งการวดั เปน็ ผลมาจากการกระทา หรอื กจิ กรรม องคป์ ระกอบ 1. สง่ิ ทตี่ ้องการวัดผล การประเมนิ ผล (Evaluation) 2. วิธีการและเคร่ืองมอื ทีใ่ ชใ้ นการวัดผล 3. ขอ้ มูลแทนปรมิ าณหรอื คุณภาพของพฤติกรรมการเรยี นรู้ กระบวนการตัดสินคุณค่าหรอื คุณภาพ เกีย่ วกับการเรยี นรูข้ องผ้เู รยี น โดยมี มาตรการวดั ผล การเกบ็ รวบรวมและจัดวาระทาข้อมลู เพื่อ 1. ระดับนามบญั ญตั ิ (Nominal scale) จาแนกเป็นพวก เพศ อาชพี หมู่เลือด ตัดสนิ ระดบั คุณภาพตามเกณฑห์ รือ 2. ระดบั เรียงอันดบั (Ordinal Scale) จดั อนั ดับ เปรยี บเทียบได้ มาตรฐานท่ไี ด้ตงั้ ไว้อยา่ งชัดเจน 3. ระดับอันตรภาค (Interval scale) บอกความแตกต่างได้ อุณหภูมิ คะแนนสอบ 4. ระดบั อตั ราสว่ น (Ratio Sale) มีศนู ยแ์ ท้ นา้ หนัก ความสงู อายุ ระยะทาง 2

ความสาคัญ ประเภท ความสาคญั ตอ่ ผเู้ รยี น หลกั การและจุดม่งุ หมายของ ใชเ้ ป็นฐานในการตรวจสอบพฒั นาการของตนเอง ได้วางแผน (Plan) ทาตามแผน (Act) การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ สงั เกตผล (Object) ปรบั ปรุงและพัฒนา (Reflect and revise) ความสาคญั ตอ่ ผสู้ อน ได้วางแผนการสอนทเ่ี หมาะกับผเู้ รยี น ไดข้ ้อมูลทีเ่ ปน็ จุดเดน่ ,จุดด้อยของผู้เรยี น มี Formative , Summative ใชเ้ ปน็ ฐานการวจิ ัยรุ่นต่อ ๆ ไป ประเภท ตามขนั้ ตอนการจัดการเรยี นการสอน 1. วางตาแหนง่ ดูความพรอ้ ม 2. วนิ ิจฉัย สาเหตุท่ีจะสง่ ผลตอ่ การเรียน 3. พฒั นา ป้อนข้อมลู ย้อนกลับ 4. สรุปผล ตัดสินผลการเรียนตามการอา้ งองิ (อิงตน,กลมุ่ ,เกณฑ์) หลักการ สถานศึกษารบั ผิดชอบ เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นผเู้ กี่ยวข้องได้ประเมนิ ครอบคลุมจดุ ประสงค์ มาตรฐาน ตวั ช้ีวดั พจิ ารณาจากพัฒนาการผ้เู รียน ความประพฤติ การร่วมกจิ กรรม การทดสอบ จดุ มุ่งหมาย - องค์ประกอบหน่งึ ของระบบการศึกษา - องคป์ ระกอบของการเรยี นการสอน - เคร่ืองมือประกันคุณภาพการศึกษา – ตรวจสอบผลการเรยี นรู้ -ให้ขอ้ มลู ย้อนกลับเพ่ือพัฒนา 3

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรโู้ ดยใช้แบบทดสอบ ลักษณะการตอบ - ปฏบิ ตั ิ , เขียนตอบ , วาจา จุดมุ่งหมายการสรา้ ง - อัตนยั , ปรนยั การอา้ งองิ - องิ เกณฑ์ , อิงกลมุ่ , องิ ขอบข่าย แบบทดสอบความเรียง หรอื แบบทดสอบอัตนัย ชดุ คาถามทผ่ี ู้สอนกาหนดขึ้นให้ผูเ้ รียน แนวทางการสรา้ ง แนวทางการใหค้ ะแนน เขยี นเรยี บเรยี งคาตอบอยา่ งอิสระ เพอ่ื วัด - กาหนดจุดมงุ่ หมายการสร้าง - กาหนด Rubics ความคิดชั้นสงู - กาหนดขอ้ คาถามท่ีชดั เจน - ไม่อคติ จุดเด่น: วัดความคดิ ขั้นสงู ความคิดท่ี - ระบเุ วลา คะแนน - ตรวจเป็นข้อ ๆ ต่อเนอ่ื ง ลกึ ซง้ึ จุดดอ้ ย: การตรวจให้คะแนน - ระบุเกณฑท์ ่เี กี่ยวขอ้ งกบั การตอบ - รวบรวมส่วนท่ีหกั คะแนนไว้ ตรงกันทาไดย้ าก - ตรวจสอบก่อนนาไปใช้ - ตรวจสอบก่อนนาไปใช้ - ทบทวนผลท่ีได้ - ทบทวนผลทีไ่ ด้ 4

ชุดข้อความท่ีเป็นประโยคบอกเล่าหรือคาถามให้พิจารณา ว่าถูกหรือผิดตามหลักวิชาการ เพื่อดูว่าผู้เรียนแยก ขอ้ เทจ็ จริงกบั ความคิดเหน็ ออกหรือไม่ และข้อเท็จจริงนั้น ถกู หรือผดิ แบบทดสอบปรนัย แนวทางในการสรา้ ง ชนดิ ถูก-ผิด 1. คาช้แี จงชัดเจนตอ้ งตอบยงั ไงถึงไดค้ ะแนน (True or false Test) 2. คาถามเข้าใจตรงกนั หนึง่ ขอ้ มคี าถามเดยี วผิดหรอื ถกู อยา่ งใด อย่างหน่ึง 3. ขอ้ มลู เพยี งพอท่จี ะตอบ 4. ไมล่ อกตามหนังสอ่ ตารา 5. ใช้คาง่ายคนุ้ เคย 6. เปน็ อสิ ระไม้ชีแ้ นะคาตอบข้ออื่น 7. เลี่ยงปฏิเสธซอ้ นถา้ มใี ห้ขีดเส้นใต้ 8. ถกู ผดิ ตามหลกั วิชาการ 9. กระจายข้อถกู ผิด (มีขอ้ ถูกผดิ ไม่เท่ากนั ลดการเดา) 10. ไมซ่ า้ ท่ีเป็นเครอื่ งชแี้ นะ ตวั อยา่ ง (บาง-ทุก-สว่ น) 11. ควรจัดไวต้ อนตน้ ๆ ของแบบ ........ 1. 1 น้อยกวา่ 3 ทดสอบทัง้ ฉบบั (เพราะงา่ ย) ........ 2. 2+3 = 5 ........ 3. 4-2 = 2 5

แบบทดสอบปรนยั แนวทางในการสรา้ ง ชนิดจบั คู่ 1. เน้ือหาของคาถามกับคาตอบเปน็ เรอื่ งเดยี วกนั 2. เขียนคาชี้แจงชดั เจนตอบยงั ไงตอบไดก้ ีข่ อ้ (Matching Test) 3. คาถามคาตอบเป็นอิสระไม่ชแ้ี นะข้ออืน่ 4. คาตอบให้มากกว่าคาถามลดการเดา 5. คาถามไมม่ ากไมน่ อ้ ยเกนิ (5-8 ไม่เกิน 10) 6. ขอ้ คาตอบเรยี งอกั ษรตวั เลขเหตุการณ์เพอ่ื ง่ายต่อการหา 7. จดั อยหู่ น้าเดยี วกันลดความสบั สน ประกอบดว้ ย 2 กลุ่ม - กลุ่มขอ้ คาถาม คา วลี สัญลักษณ์ เป็นขอ้ ๆ - กลมุ่ คาตอบ คา วลี ที่เป็นคาตอบ (อา่ นคาถามแลว้ ตัวอย่าง พจิ ารณาคาตอบ) จงจับคสู่ มการเคมกี บั ชนิดของปฏิกริ ิยา โดยนาตัวอกั ษรหนา้ ชนดิ ของปฏกิ ริ ยิ ามาจบั ค่ไู ดเ้ พยี งคร้งั เดียวเทา่ น้ัน … 1. CH2 + Br2 a. ปฏิกริ ยิ าแทนที่ … 2. CH3 + HCl b. ปฏกิ ริ ยิ าการเตมิ … 3. C3H4 + Cl2 c. ปฏิกิริยาขจดั … 4. C6H6 + HCl d. ปฏกิ ริ ิยาออกซิเดชนั … 5. CH2CH3 + + NaOH e. ปฏิกิรยิ ารีดกั ชนั่ 6 f. ปฏิกริ ิยาเรียงตัวใหม่

แบบทดสอบปรนัย เตมิ คา ชนิดเตมิ คาและตอบสัน้ คิดหาคาตอบด้วยตนเอง วัดเน้ือหาความรู้ ข้อเท็จจริง Completion test ประโยคไมส่ มบรู ณ์ เชน่ แม่น้าท่ียาวทส่ี ุดในประเทศไทยคือ........ แนวทาง 1. เขียนข้อเสนอในการตอบชดั เจน 2. เขียนขอ้ ความชัดเจน 3. ไม่ลอกในหนังสือหรือตารา 4. ชอ่ งว่างควรอยทู่ ้ายและกว้างเทา่ กัน 5. เปน็ เรอ่ื งสาคญั ในบทเรียน ตอบสนั้ 7 เขยี นคาตอบเองแบบสนั้ ๆ กระชบั Short answer test ประโยคคาถาม / คาสั่ง เชน่ สมการ 2x+6=16 แลว้ x =? แนวทาง 1. เขยี นแนวทางการตอบทช่ี ัดเจน 2. มีแนวคาตอบชัดเจน 3. มีคาตอบเดียว (ตายตัว)

ตวั อยา่ ง เปน็ แบบทดสอบท่ีนยิ มเพราะงา่ ยตอ่ การตรวจ แนวทาง หน่วยพ้ืนฐานที่เล็กท่ีสุดของส่ิงมีชีวิต เรียกว่า ใหค้ ะแนน ใชท้ ดสอบคนจานวนเยอะ ๆ ได้ 1. เขยี นขอ้ คาถามชดั เจนมีข้อมลู เพียงพอ อะไร สะดวก ประกอบดว้ ย 2 ส่วน 2. คาตอบสั้นกระชับเลีย่ งถูกทกุ ขอ้ ผดิ ทุกข้อ - คาถาม (โดยตรง, ข้อความไม่สมบูรณ)์ 3. จานวนตวั เลอื ก 3-5 ตวั เลอื ก ก. เซลล์ - ตัวเลอื กคาตอบ (ถูก, ตวั ลวง) 4. ไม่คดั ลอกจากหนงั สอื ตารา ข. เน้อื เย่อื * คาถามนยิ มเป็นคาถามโดยตรงเขา้ ใจงา่ ย 5. ให้เลอื กคาตอบที่ดีทีส่ ุด ค. ผนงั เซลล์ ประเภท 6. ไม่เปน็ คาถามเชงิ ลบปฏิเสธ ง. กอลจิบอดี * คาถามเด่ียว (จบภายในขอ้ นัน้ มคี าถาม 7. มน่ั ใจว่ามีคาตอบทถี่ ูกขอ้ เดียว คาตอบครบ) 8. มตี วั ลวงที่ดี * คาตอบคงท่ี (ตอบคาถามได้หลายขอ้ ) 9. เปน็ อสิ ระไมช่ แ้ี นะข้ออ่ืน ๆ * สถานการณ์ ตาราง (พิจารณาเพอื่ หา 10. ตวั เลอื กแบบกระจาย คาตอบ) 11. ใช้คาศัพท์ทค่ี นุ้ เคย เล่ียงคาขยายท่ีจะ ช้ีแนะคาตอบ (บาง-ทกุ -) 12. พจิ ารณาและวางแผนความเหมาะสมทัง้ ฉบับ แบบทดสอบปรนยั ชนิดเลือกตอบ (Multiple choice test) 8

การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ “ขอ้ มลู ที่ได้มคี วามถกู ตอ้ ง ความตรงกนั จาแนก-แบง่ เปน็ กลมุ่ ๆ หรอื ไมแ่ ค่ไหน” ประเภทดังนี้ 1. คาถามแปลไดต้ รงกนั 1. องิ กลมุ่ แยกคนเป็นสองกลุ่ม -เนอ้ื หา (ตรงตวั ชว้ี ดั ผู้เชีย่ วชาญดูให้) 2. ตรวจให้คะแนนใครตรวจตรงกนั คอื สูงกบั ตา่ p= +1 แยกได้, -1 ใช้ไมไ่ ด้ -โครงสรา้ ง (จิตวิทยาความฉลาดทางอารมณ)์ 3. แปลความหมายคะแนนแปลตรงกนั , 0 แยกได้ไมด่ ี คา่ ทย่ี อมรบั 02-1 -เกณฑส์ มั พนั ธ์ สภาพ:ความจรงิ ปจั จุบนั ถูก (1) เข้าใจ 2. อิงเกณฑ์ กาหนดเกณฑผ์ ่าน (จดุ ตัด) พยากรณ:์ ความจริงในอนาคต ผดิ (0) ไม่เขา้ ใจ แบง่ เป็นผ่านกับไมผ่ ่านใช้ B-index ความเท่ียงตรง (validity) ความเปน็ ปรนยั (Objectivity) อานาจจาแนก (discriminant) P = จน.คนตอบข้อนนั้ ถูก(R) - คงเสน้ คงวา วัดที่ครง้ั 9 คนท้งั หมด(N) เหมอื นเดิม 1. อิงกล่มุ ปรนยั ใช้ ������������20 P เขา้ ใกล้ 1 งา่ ยเกนิ เข้าใกล้ 0 ยากเกนิ อัตนัยใช้ สมประสทิ ธิแ์ อลฟา ค่ายอมรับ 0.2-0.6 (0.5 ดีทสี่ ดุ ) 2. อังเกณฑ์ ใช้ lovett **อตั นยั ใช้ D.RและD.L (กลมุ่ สงู กลมุ่ ตา่ ) ความเชื่อมน่ั (Reliability) ความยาก (Difficult)

การวเิ คราะห์ขอ้ สอบโดยใช้ SPSS กรณขี อ้ สอบใหค้ ะแนน 0 กบั 1 การหาคา่ อานาจจาแนกรายขอ้ (r) และคา่ ความ ยาก (p) โดยใช้เทคนคิ 27% กลุ่มสูง-กลมุ่ ตา่ ขั้นที่ 1 สรา้ งไฟล์ข้อมลู ของกลุ่มทดลองใช้ N คน ขั้นท่ี 7 ตัดขอ้ มูลกลุ่มกลางออกทั้งหมด จากน้นั บันทึกไฟล์ โดยตงั้ ชือ่ ขั้นท่ี 2 รวมคะแนนทัง้ ฉบับของแตล่ ะคนโดยใช้คาส่ัง Compute variable ไฟลใ์ หม่ หรอื ใช้คาสงั่ Select Case เลอื กเฉพาะ Group = 1 or ขั้นท่ี 3 เรียงคะแนนจากน้อยไปหามาก โดยใชค้ าสั่ง Sort case ขั้นที่ 4 คานวณหาจานวนคนในกลมุ่ สงู (Nu) และจานวนคนในกลมุ่ ตา่ Group = 3 (Nl) โดยใช้สตู ร 27% ของ N เช่น ถ้า N=50 27% ของ N = (27/100) * (50)=14 คน นน่ั คอื Nu=Nl= 14 ขน้ั ที่ 8 วิเคราะหข์ อ้ มลู เพอื่ หาคานวณจานวนคนตอบถูกในกลมุ่ ตา่ (RI) ขน้ั ท่ี 5 สรา้ งตัวใหม่ ตั้งชือ่ Group โดยกาหนดค่า (Value) ให้ 1 แทนกลุ่มต่า (L) 2 แทนกลมุ่ กลาง (M) และ 3 แทนกลมุ่ สูง (U) และจานวนคนตอบถกู ในกล่มุ สงู (Ru) ของขอ้ สอบแตล่ ะขอ้ โดยใช้คาส่งั ขน้ั ท่ี 6 คีย์ข้อมลู ตวั แปร Group โดยกลมุ่ ต่าพมิ พเ์ ลข 1 กลมุ่ สูงพิมพ์ เลข 2 และกลุ่มกลางพมิ พเ์ ลข 3 Crosstabs ขน้ั ท่ี 9 คดั เลือกข้อสอบท่ที ัง้ ค่า p และ r ผา่ นเกณฑ์ใหไ้ ด้จานวน ขอ้ สอบตามทว่ี างแผนไว้ ข้นั ที่ 10 วเิ คราะห์ความเช่ือมน่ั ของแบบทดสอบทั้งฉบบั โดยใช้สูตร KR-20 ซ่งึ ในโปรแกรมเลือก alpha ใหใ้ ช้ไฟล์ขอ้ มูลของกล่มุ ทดลองใช้ ที่มีท้งั กลุม่ สงู กลาง และต่า 10

1. ความรู้ความเข้าใจ: ข้อเท็จจริง วธิ กี าร การวเิ คราะหต์ วั ช้วี ดั สู่การ 1. หา key word ของตวั ชวี้ ดั 2. คดิ อยา่ งมเี หตผุ ล ออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ 2. กาหนดหลักฐานการเรยี นรู้ 3. ทกั ษะการปฏบิ ัติ (ทดลอง สารวจ 3. เลอื กวธิ ีการวัดและประเมนิ ที่สอดคลอ้ งกบั ตัวชว้ี ดั สาธิต แสดง อา่ น พดู ใช)้ 4. กาหนดเคร่อื งมอื ท่ใี ช้ 4. ผลผลิตช้ินงาน / ผลจากการทา 5. กาหนดกิจกรรมทจี่ ะใชว้ ิธีการสอนที่เหมาะสม 5. จิตนิสยั (ความรู้สกึ อารมณ์) วธิ วี ิเคราะห์ ตัวชีว้ ดั ของ Stiggin 1. ผลผลติ ส่งิ ประดิษฐ์ แบบจาลอง รายงาน 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ โครงงาน สง่ิ ท่พี งึ รู้ พึงปฏบิ ตั ิ คุณลกั ษณะที่จะเกิดขึน้ เมอ่ื 2. ผลปฏิบตั ิ การสาธติ นาเสนอ อภิปราย แสดง จบการศึกษา หลักฐานการเรียนรู้ 2. ตวั ชว้ี ัด สง่ิ ท่ีพงึ รู้ พงึ ปฏบิ ตั ไิ ด้ สะทอ้ นใหเ้ ห็นมาตรฐาน การเรยี นรู้ นามาตรฐานมาลงมอื ปฏบิ ัติ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด 11

การออกแบบหนว่ ยการเรียนรูอ้ ิงมาตรฐานโดยใช้ กระบวนการแบบยอ้ นกลบั การวางแผนและจดั ทาหนว่ ยการเรยี นรู้ มีเป้าหมาย - ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ 1. ระบผุ ลลัพธ์ เป้าหมาย ผลการเรยี นรทู้ ่ี สาคญั คือมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชว้ี ัด โดยการ - มาตรฐานและตัวชีว้ ดั ตอ้ งการ ครอบคลมุ ความเขา้ ใจท่ีคงทน จิตพิสัย ออกแบบตอ้ งมีความเช่ือมโยงกบั สาระการเรยี นรู้ - สาระสาคญั (ความคิดรวบยอด) คณุ ลกั ษณะทกั ษะท่ีจาเปน็ วธิ ีการจดั การเรยี นการสอน วิธีวัดและประเมนิ ผล - สาระการเรยี นรู้ (องค์ความรู้ ทักษะ ค่านยิ มท่คี วรเรยี นร)ู้ 2. กาหนดหลกั ฐานการเรยี นรู้ หลกั ฐานท่ี - ภาระงาน (สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน แสดงว่าผเู้ รยี นบรรลเุ ปา้ หมายท่ตี ั้งไว้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นร)ู้ 3. วางแผนการเรยี นการสอน ประสบการณก์ ารเรยี นร้ทู ี่ - วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผล จะจดั ให้ผ้เู รียน - กิจกรรมการจดั การเรยี นการสอน - เวลาเรยี น นา้ หนกั คะแนน ขนั้ ตอน องค์ประกอบ 12

ความหมาย 7.ตรวจการบา้ น แบบฝกึ หัด ประเภท กระบวนการเกบ็ รวบรวมข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากการ การบา้ น งานท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั การเรยี นการสอนที่ 1. ถามตอบในช้นั เรยี น ถามเกบ็ ขอ้ มลู ท่ี สื่อสาร มาทาสารสนเทศ วิเคราะห์จุดเด่นจุด ใหผ้ ู้เรียนทานอกเวลาเรียนทาได้ทุกท่ี เหมาะสมกบั สง่ิ ท่ีตอ้ งวัด โดยผู้สอนป้อนกลบั ดอ้ ย จากนน้ั ใหข้ ้อมูลย้อนกลบั ประเภทการบ้าน แบบฝกึ หดั แบบเตรยี ม ใหผ้ เู้ รยี นผ่านการเสริมแรง/แกไ้ ขท่ีเข้าใจผดิ ลว่ งหน้า งานเขียนค้นควา้ เพิม่ เตม็ 2. การพบปะพดู คยุ การพูดโดยมเี ป้าหมาย แบบฝกึ หดั งานทอี่ อกแบบขึน้ เพ่ือมอบหมายให้ เพือ่ หาสาเหตุทสี่ ่งผลต่อการเรียนการสอน ผู้เรียนฝกึ หดั ซึ่งอาจเป็นฝึกตอบหรอื ฝึกปฏบิ ัติ 3. พูดคุยกบั ผู้ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ผู้เรยี น สนทนา มีเปา้ หมายเพ่อื เสรมิ ส่งิ ท่ีรู้และใชใ้ นการ การสอ่ื สารระหวา่ งบคุ คล ตัดสนิ ใจบางอย่าง พูดกับครูประจาชัน้ ฯลฯ เปน็ กระบวนการของการติดต่อส่อื สาร หรอื การ 4. การอภปิ รายในชน้ั เรยี น การแลกเปลี่ยน แสดงปฏกิ ริ ิยาโต้ตอบระหว่างบคุ คลสองคนหรอื ความรู้ความคดิ เหน็ ประสบการณ์ มากกว่านน้ั โดยมีองค์ประกอบคือ ผสู้ ่งสาร 5. การสอบปากเปล่า ใชว้ าจาในการตอบ สาร สื่อ/ช่องทาง ผู้รบั สาร คาถามโดยตรงกบั ผูส้ อน 6. บันทึกเหตกุ ารณ์ บนั ทึกเหตุการณ์ที่ เกิดขน้ึ ทัง้ ในและนอกต้องเรยี น การประเมนิ จากการสือ่ สารระหวา่ งบุคคล 13

ความหมาย ขัน้ ตอน ลกั ษณะสาคัญ ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ผ่ า น ภ า ร ะ ง า น ที่ ถู ก 1. ตัง้ จดุ ม่งุ หมายท่ีต้องการ - มีภาระงานท่ที าแล้วเกิดเป็นชิ้นงานหรือไม่ ออกแบบไว้โดยประเมินทักษะการปฏิบัติ 2. กาหนดส่ิงท่ีตอ้ งการวดั ทกั ษะความสามารถ เกดิ ก็ได้ สติปญั ญาคุณลักษณะนิสัยเจตคติต่องานจากน้ัน 3. ออกแบบภาระงาน - เน้นกระบวนการปฏบิ ตั ิ ต้องเฝา้ ดรู ะหว่าง นาข้อมลู มาวเิ คราะห์ 4. ทาเกณฑก์ ารประเมินใช้ Rubics ปฏิบัตดิ ้วย 5. เลอื กวิธเี กบ็ รวบรวมข้อมลู และเคร่ืองมอื ทีใ่ ช้ - ประเมนิ เพอื่ พัฒนา (formative) , 6. ช้ีแจงรายละเอยี ดให้ผู้เรยี นเข้าใจร่วมงาน ตัดสนิ ผล (summative) เสนอแนวทาง - ประเมนิ พฤติกรรมการเรยี นรผู้ า่ น 7. วางแผนลดความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้น กระบวนการทางานและผลงาน เปน็ อตั นยั • จดุ เดน่ ได้ทง้ั กระบวนการและผลงาน ปฏบิ ตั ดิ ้วยดกี ว่าฟังเฉยๆ เหมาะกับ ทฤษฎกี ารเรียนรรู้ ่วมสมยั • จุดดอ้ ย ให้คะแนนยากทาได้น้อย ใช้ เวลานาน การประเมนิ การปฏบิ ตั ิ 14

การประเมนิ ตามสภาพจรงิ ในชั้นเรยี น กระบวนการวัดและประเมนิ ศักยภาพผเู้ รียนแบบองค์ - ประเมินองคร์ วม 1. ออกแบบหนว่ ยการเรยี นร้ผู ลที่คาดหวัง รวม ผ่านการลงมอื ทา สอดคลอ้ งกบั ชีวติ จริง เน้น - ใชท้ กั ษะคดิ ขั้นสงู 2. เนน้ การมสี ่วนรว่ ม ผูเ้ รยี น ให้ความสนใจกบั บริบทแวดลอ้ มทส่ี ่งผลต่อ - ผู้เรยี นตอบสนองอยา่ งลมุ่ ลกึ 3. ผู้เรียนรับรแู้ ละเหน็ ดว้ ยกบั เกณฑ์ทท่ี าข้ึน การตอบสนองของผ้เู รยี น - ผลงานทเี่ ฉพาะเจาะจง 4. ทดลองใช้ Rubics - ผเู้ รียนมสี ว่ นร่วม 5. ผู้สอนมองการประเมินผลสาเร็จท่จี ะเกิดข้นึ ความหมาย - ใชเ้ ครื่องมือวดั หลากหลายต่อเนอ่ื งตลอดเวลา 6. ผู้เรียนเลอื กไดต้ ามความพอใจ - เป็นแบบองิ เกณฑไ์ ม่ไดว้ ัดกบั คนอนื่ 7. เห็นข้อผดิ พลาดป้อนข้อมลู ยอ้ นกลบั -ทาได้ทั้งในและนอกหอ้ งเรยี น - เป็นการวัด (Assessment) เก็บรวบรวมข้อมลู แนวทาง ลักษณะสาคัญ 15

ความหมาย Holistic (องคร์ วม) - ชดุ เกณฑ์หรือมาตรฐานทอ่ี อกแบบให้ มองในภาพรวมเอาทกุ ประเดน็ มาอธิบายพร้อมกันในแตล่ ะระดับ พิจารณาทุกอย่างเป็นภาพรวมทง้ั สอดคลอ้ งกับเป้าหมายการเรียนรู้ การปฏิบัตแิ ละผลงาน ตดั สินเป็นคะแนนเดียว ใช้กับ Summative - แนวทางในการตรวจให้คะแนน ข้อดี : ประหยัดเวลา ใช้กบั งานทคี่ ล้ายกนั ได้ ขอ้ เสยี : ไมใ่ หข้ อ้ มลู ย้อนกลับเฉพาะเจาะจง องคป์ ระกอบ Analytic (แยกตามประเดน็ ) 1. เกณฑ์การประเมินสะท้อนภาระงาน ตอ้ งกาหนดนา้ หนักคะแนน เขียนอธิบายแต่ละระดบั ชดั เจน กาหนดเกณฑ์ตดั สินรวมเพ่ือประเมนิ 2. ระดับคณุ ภาพ สรปุ ใช้กับ formative ข้อดี : ใหข้ ้อมูลยอ้ นกลับในส่วนทีเ่ ป็นจดุ แขง็ จดุ ออ่ น 3. การบรรยายระดบั คุณภาพ ขอ้ เสีย : ภาพรวมท้งั หมดสาคัญกวา่ ผลรวมของสว่ นย่อย ประเภท General (ท่ัวไป) การใชร้ ูบกิ สใ์ นการวัด ใช้เกณฑ์กว้าง ๆ เปน็ การอธิบายเหตุผลวา่ ทาไมถึงอยูร่ ะดบั คะแนนนน้ั ใช้กับงานทีค่ ล้ายกนั ได้ และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ข้อดี : ใช้ไดห้ ลายงาน ข้อเสีย : สรา้ งยาก ความเช่อื ม่ันต่ากว่าแบบเฉพาะงาน Task Specific (เฉพาะงาน) 16 ใช้กับงานเฉพาะเจาะจง เขยี นเฉลยแตล่ ะระดับคณุ ภาพให้มีลกั ษณะเฉพาะกบั งานนน้ั ๆ ขอ้ ดี : มคี าอธิบายชัดเจนกบั งานท่ีประเมนิ ขอ้ เสีย : ไม่สามารถนามาช้ีแจงเพ่ือทาความเข้าใจได้

การประเมนิ โดยใช้แฟม้ สะสมผลงาน ความหมาย ประเภท เป็นวิธีการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ โดยสง่ิ ประเมนิ 1. Working portfolio เพ่อื เกบ็ รวบรวมหลกั ฐานตา่ ง ๆ คอื “แฟ้มสะสมผลงาน” ทีผ่ ูเ้ รยี นรวบรวมผลงานจากการ เกี่ยวกบั ผลการปฏบิ ตั งิ านในระหวา่ งการเรียนเพอ่ื แสดงใหเ้ ห็นถงึ ปฏิบัติงานทเี่ กยี่ วข้องกับการเรยี นการสอนอยา่ งมจี ดุ มงุ่ หมาย และมี ความก้าวหนา้ สามารถนามาขัดเกลาปรบั ปรงุ ให้ดี การวางแผนล่วงหนา้ อย่างเปน็ ระบบ ตลอดชว่ งระยะเวลาหน่งึ แสดงให้เหน็ 2. Display or show portfolio คดั เลอื กผลงานทีด่ ีทส่ี ดุ จาก ถึงความพยายาม ความสามารถทางปญั ญา ความก้าวหนา้ ในการเรยี นรู้ Working portfolio เพือ่ นาเสนอผ้สู อนหรือนาไปจดั แสดงตอ่ ไป 3. Assessment portfolio เพื่อให้ผู้สอนทาการประเมนิ คุณภาพ จุดมุ่งหมาย การเรยี นรูด้ า้ นตา่ ง ๆ ตามเกณฑ์ 1. เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นไดพ้ ฒั นา ปรบั ปรงุ หรือขัดเกลาผลงานให้ดี 2. เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนไดพ้ ฒั นาความสามารถในการสะท้อนและ ขั้นตอนการดาเนนิ การ ประเมินผลงานตนเอง 1. ขั้นเตรยี มการประเมนิ 3. เพ่ือให้ผเู้ รยี นไดพ้ ฒั นาความสามารถในการคดั เลอื กผลงาน การ 2. ขนั้ จดั ทาแฟ้มสะสมผลงาน เกบ็ รวบรวมผลงานอยา่ งเป็นระบบ 3. ช้นั ประเมนิ แฟม้ สะสมผลงานท่ีสมบูรณ์ 4. ขน้ั ประชาสัมพนั ธผ์ ลงาน ความหมายและจดุ มุ่งหมาย ประเภทและข้นั ตอนดาเนินงาน 17

สรปุ แนวคดิ เกย่ี วกบั การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ต้องเปลย่ี นพฤตกิ รรมทคี่ งทนถาวรจากการรบั ประสบการณผ์ า่ นการลงมอื ทาจริง เราจะสังเกตจากพฤตกิ รรมการเรียนรทู้ ผ่ี เู้ รยี นจะแสดง ออกมาหรือไมแ่ สดงออกมาขณะน้ันกไ็ ด้ โดยพฤติกรรมการเรยี นรู้เหล่าน้ี ได้แก่ ความรู้ ความจา(พทุ ธิพสิ ยั ) ความรสู้ กึ (จติ พสิ ัย) และการแสดงออกต่างๆ (ทักษะพสิ ัย) แนวคดิ เบอ้ื งต้นเกยี่ วกบั การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การวดั ผลเปน็ การเก็บข้อมูล สว่ นการประเมินต้องตัดสินขอ้ มูลดว้ ย ความสาคัญ ประเภท หลกั การและจดุ มงุ่ หมายของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้มคี วามสาคัญต่อทัง้ ตัวผู้เรียนเองรวมถงึ ผสู้ อน การที่จะบรรลุจดุ ม่งุ หมาย ท้ัง 2 ฝ่ายจะต้องใหค้ วามรว่ มมอื กนั การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นร้โู ดยใชแ้ บบทดสอบ แบบทดสอบอัตนัยใชว้ ัดการคดิ ขน้ั สูงของผเู้ รียนได้ทงั้ การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ การสร้างสรรคแ์ ละประเมนิ ค่า ข้อสาคัญ เราต้องทาเกณฑก์ ารให้คะแนนท่ีชัดเจนเพ่อื ความเปน็ ปรนยั ในการตรวจให้คะแนนทตี่ รงกัน แบบทดสอบชนดิ ถกู -ผดิ (True or false Test) แบบทดสอบถูกผดิ ใชท้ ดสอบความเขา้ ใจทแี่ ท้จรงิ เพ่ือแยกข้อเท็จจริงกับขอ้ คิดเหน็ และระบุไดว้ า่ ขอ้ เทจ็ จริงนั้นถกู หรือผดิ การท่เี รารหู้ ลักของการออกแบบทดสอบ จะทาให้เรา สามารถปรับปรุงและออกแบบทดสอบไดเ้ หมาะสม ลดการเดาคาตอบของผู้เรียน ทาใหว้ ัดความร้คู วามเข้าใจของผูเ้ รยี นได้ แบบทดสอบปรนยั ชนดิ จับคู่ (Matching test) แบบทดสอบจับคูท่ ่ีดคี วรทาใหเ้ ปน็ เร่อื งเดยี วกนั เพื่อลดการเดา ทสี่ าคญั ตอ้ งมคี าชี้แจงท่ีชัดเจน อา่ นเขา้ ใจงา่ ย และปฏบิ ตั ติ ามได้ 18

สรุป (ตอ่ ) แบบทดสอบปรนยั ชนดิ เตมิ คาและตอบสนั้ เตมิ คา : นาคามาเตมิ ในชอ่ งว่างให้ประโยคสมบูรณ์ ตอบส้ัน : ตอบสน้ั ไม่แสดงความคดิ เห็น แบบทดสอบทด่ี ีไมค่ วรลอกจากหนังสือ ตารา เพราะจะทาใหผ้ เู้ รียนจามากกว่า ใชค้ วามคิด แบบทดสอบปรนยั ชนดิ เลือกตอบ (Multiple choice test) แบบทดสอบปรนยั ทด่ี ีจะตอ้ งวัดความเขา้ ใจของผเู้ รียนได้ โดยใชค้ าถามคาตอบท่ีอ่านเข้าใจงา่ ย สามารถใชอ้ อกแบบเพอื่ ทบทวนความรู้หรอื ตดั สันผลการเรยี นได้ เพราะสะดวก และง่ายต่อการตรวจ การตรวจสอบคณุ ภาพของแบบทดสอบ แบบทดสอบท่ีดีจะต้องมีการทดสอบคณุ ภาพ ท้ังความเที่ยงตรง ความเปน็ ปรนัย ความยาก อานาจจาแนก และความเชอื่ ม่นั ซ่ึงหัวใจสาคญั คอื “ ความเที่ยงตรง” เพราะถ้า เราได้ข้อมลู ที่ถูกต้องจึงจะสามารถนาข้อมลู เหล่าน้ันไปใชต้ อ่ ได้ การตรวจสอบคณุ ภาพแบบทดสอบจะทาให้เรารูว้ ่าแบบทดสอบท่ีได้จัดทาขน้ึ มคี วามเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ต้องปรับปรงุ จดุ ไหน การวเิ คราะหข์ อ้ สอบโดยใช้ SPSS โปรแกรม SPSS ไม่ได้ออกแบบมาเพ่อื ใช้วิเคราะห์ข้อสอบหรอื แบบสอบถามโดยตรง แต่ก็สามารถประยุกต์ใช้คาสงั่ ต่าง ๆ ทดแทนกันได้ ซงึ่ มีข้ันตอนค่อนขา้ งมาก การวเิ คราะหต์ ัวชว้ี ดั สกู่ ารออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นสิ่งที่จะเกิดเมอื่ จบการศึกษา ตัวชว้ี ดั เป็นส่ิงที่ทาใหเ้ หน็ มาตรฐานการเรยี นรู้ การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ตอ้ งคานึงตัวชี้วัดท่ีตอ้ งการตอ้ งมคี วาม สอดคล้องกนั 19

สรปุ (ต่อ) การออกแบบหน่วยการเรยี นรอู้ ิงมาตรฐานโดยใชก้ ระบวนการแบบย้อนกลับ การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้แบบยอ้ นกลบั (backward design) เป็นการวางแผนและจัดทาเน้ือหาที่จะใชส้ อนในหน่วยการเรียนรขู้ องสาระการเรียนรู้นั้น ๆ การประเมินจากการสื่อสารระหวา่ งบุคคล สรุปความคดิ การประเมินเปน็ การเก็บรวบรวมข้อมลู แล้วนามาวิเคราะห์กอ่ นใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลับ การท่ีเรารปู้ ระเภทของการประเมนิ ทา ใหส้ ามารถนาไปปรับใช้ไดเ้ หมาะสมกับจุดประสงคท์ ต่ี อ้ งการได้ การประเมนิ การปฏบิ ตั ิ การประเมนิ การปฏบิ ตั ิจะเนน้ ไปท่ีการลงมอื ทาจริงแล้วเกิดผลทเ่ี ปน็ รปู ธรรมหรือไมใ่ ช่กไ็ ด้ แต่ตอ้ งมีการเฝ้าดูการทาด้วยสาหรับผลท่ีไม่เป็นรูปธรรม การใหผ้ เู้ รียนได้ลงมอื ทา จรงิ จะเกิดการเรยี นรูท้ ี่ดกี ว่าการฟังการบรรยายเพียงอย่างเดยี ว เป็นการฝกึ ทกั ษะการทางานของผเู้ รยี น การประเมนิ ตามสภาพจรงิ ในชน้ั เรียน การประเมินสภาพจรงิ เปน็ การประเมินท้งั ความรู้ ทกั ษะ ทศั นคติ ผ่านการลงมือทางานที่สอดคลอ้ งกับความเป็นจรงิ การประเมนิ จะเนน้ ที่ผ้เู รยี นเป็นหลกั เปน็ การเก็บขอ้ มูล แลว้ ใหผ้ ลย้อนกลับแก่ผ้เู รียน ใชเ้ กณฑ์ในการประเมิน ไมไ่ ด้ไปเปรยี บเทยี บกับใคร การใชร้ บู กิ สใ์ นการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ รูบิกส์คอื ชดุ เกณฑ์หรือมาตรฐานทีอ่ อกแบบใหส้ อดคลอ้ งกับเปา้ หมายการเรียนรู้ เป็นแนวทางในการตรวจใหค้ ะแนน แบ่งเปน็ ประเภทดงั น้ี Holistic (องค์รวม) Analytic (แยกตามประเด็น) General (ท่วั ไป) และ Task specific (เฉพาะงาน) การประเมนิ โดยใชแ้ ฟม้ สะสมผลงาน แฟ้มสะสมผลงานทาให้เหน็ ความเป็นตวั ตนของผูเ้ รียนมากขึ้น ผ้เู รยี นไดอ้ อกแบบตามจนิ ตนาการของตนเอง ทาใหเ้ ห็นถึงการใชค้ วามคดิ และการลงมอื ทา แสดงให้เหน็ ถึง ความก้าวหน้าของผู้เรยี น 20

สะท้อนความร้สู ึก รายวชิ าการวัดและการประเมินการศึกษาและการเรยี นรู้ ครั้งแรกท่ไี ด้เหน็ ช่ือรายวิชาก็ ทาให้ดฉิ นั สงสยั และต่นื เตน้ ว่ารายวิชาน้จี ะยากไหม จะต้องเตรยี มตวั ยังไงบ้าง จะเรยี นไหวไหม แตพ่ อได้เรียนจริงๆแล้วอาจารย์เป็นคนใจดีมากใสใ่ จนกั ศกึ ษาทุกคนให้นักศึกษาทุกคนมีสว่ น ร่วมในการเรยี นรทู้ ุกคนสามารถแสดงความคิดเหน็ ไดอ้ าจารย์สอนได้ดมี ากใส่ใจทกุ รายละเอยี ดไม่ เข้าใจในส่วนไหนอาจารยก์ ็หาคาตอบใหไ้ ด้ไม่ละเลยนกั ศึกษาและรายวชิ าการวดั และการประเมนิ การศึกษาและการเรียนรูเ้ ปน็ เร่อื งทใ่ี กล้ตวั และสาคัญต่อวชิ าชพี ครูมากรายวชิ านี้มีเนื้อหาที่ละเอียด แตอ่ าจารย์ก็สอนให้ดิฉนั เข้าใจในเนอื้ หาไดแ้ ละสามารถนาไปพฒั นาตวั เองไปต่อยอดในอนาคตได้ 21

สญั ญาการเรยี น 22


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook