Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชนิดของคำ

ชนิดของคำ

Description: ชนิดของคำ

Search

Read the Text Version

คาํ ในภาษาไทย จําแนกได 7 ชนดิ คอื 1. คํานาม 2. คาํ สรรพนาม 3. คํากริยา 4. คาํ วเิ ศษณ 5. คําบพุ บท 6. คําสนั ธาน 7. คาํ อุทาน

คอื คําที่ใชเรียกชือ่ คน สัตว สง่ิ ของ สถานที่ รวมทง้ั ส่ิงที่มีชีวิต และไมม ชี วี ิต ท้งั ทีเ่ ปน รูปธรรม และนามธรรม เชน เดก็ พอ แม นก ชา งบาน โรงเรยี น ความดี ความรัก คาํ นามแบงเปน 5 ชนิด ดงั น้ี 1. สามมานยนาม คอื คาํ นามที่ใชเ รยี กช่ือท่ัวไปไมช ี้เฉพาะเจาะจง เชน พอ แม นก รถ ขนม ทหาร ตํารวจ ครู คน ประเทศ รฐั บาล 2. วิสามานยนาม คือ นามที่เปนชอ่ื เฉพาะของคน สัตว ส่ิงของ สถานที่ เชน ครูสมศรี ประเทศไทย วนั จันทร จังหวดั ฉะเชงิ เทรา โรงเรียนวัดประชาบํารงุ กิจ 3. ลักษณะนาม คอื คํานามที่ใชบ อกลักษณะของนามหรือกรยิ า เพอ่ื บอกขนาด รปู รางสณั ฐาน ปรมิ าณ เชน ตัว ดา ม เมด็ หลัง 4. สมุหนาม คือ คาํ นามทีบ่ อกหมวดหมขู องนามทั่วไปและนาม เฉพาะ เพือ่ บอกถึงลกั ษณะที่รวมกันเปน หมู เปนพวก เชน ฝูง โขลง กอง กลมุ คณะ 5. อาการนาม คอื คํานามทีบ่ อกกิริยาอาการหรอื ความปรากฏ เปนตาง ซ่ึงมคี าํ \"การ\" \"ความ\"นาํ หนา

คือ คําท่ีใชแทนคํานามทผี่ พู ดู หรือผูเขียนไดก ลาวแลว หรอื เปนทีเ่ ขา ใจกนั ระหวางผฟู ง และผพู ูด เพ่ือไมต อง กลา วคํานามซ้ํา คาํ สรรพนามแบงเปน 6 ชนดิ ดังน้ี 1. บุรษุ สรรพนาม คอื คาํ สรรพนามท่ีใชแ ทนในการพดู จา 2. ประพนั ธสรรพนาม คือ คําสรรพนามท่ีใชแทนคํานามหรอื คาํ สรรพนามท่อี ยูขางหนา และประโยค ทาํ หนา ทเี่ ชอื่ มประโยค 2 ประโยคใหมคี วามสมั พนั ธกัน ไดแ ก คาํ ที่ ซึง่ อนั ผู 3. วิภาคสรรพนาม คือ คาํ สรรพนามที่ใชแทนคํานามเพื่อแบง พวกหรือรวมพวก ไดแก คาํ บา ง ตาง กัน 4. นยิ มสรรพนาม คือ คําสรรพนามที่ใชแทนคํานามท่ีแสดงความ ชี้เฉพาะเจาะจง ไดแก คาํ น่ี นนั่ โนน 5. อนิยมสรรพนาม คือ คําสรรพนามที่ใชแ ทนคํานามทีบ่ อกความ ไมเ จาะจง ไดแ ก คํา ใคร อะไร ไหน อยา งไร อะไร ๆ ผูใด ๆ ใด ๆ ซ่งึ ไมใชค าํ ถาม 6. ปฤจฉาสรรพนาม คอื คําสรรพนามที่ใชแ ทนคํานามท่มี ีความ หมายเปน คําถาม ไดแก คํา อะไร ใคร อยา งไร ทําไม ผูใด

คือคําทีเ่ ปลงออกมาเพ่อื แสดงอารมณ ความรูส กึ ของผูพ ดู ซ่งึ อาจเปลงออกมาในขณะทตี่ กใจ ดีใจ เสียใจ ประหลาดใจ คําอทุ านสว นมากไมม ีความหมายตรงตามถอยคํา แตจ ะมี ความหมายเนน ความรสู กึ และอารมณของผูพ ูดเปนสําคัญ คําอทุ านแบง ออกเปน 2 จําพวก ดังน้ี 1. อุทานบอกอาการ เชน โอย อา ว วาย โอย โอย ตายจรงิ คุณพระชวย โอโฮ 2. อทุ านเสริมบท เชน อาบน้าํ อาบทา , ไปวัด ไปวา, ผา ผอน, เส้อื แสง

คอื คาํ ท่ีใชขยายคาํ นาม คําสรรพนาม คาํ กรยิ า และคาํ วิเศษณ เพ่ือใหไดค วามชดั เจนยงิ่ ขึ้น คาํ วิเศษณแ บง เปน 10 ชนดิ ดงั น้ี 1. ลักษณวิเศษณ คอื คาํ วเิ ศษณบอกลกั ษณะ ชนดิ สี ขนาด สัณฐาน รส กลิ่น เสยี ง ความรูสกึ ไดแ ก คาํ ใหญ เล็ก เร็ว ชา หอม เหม็น เปรย้ี ว หวาน ดี ช่ัว รอ น เย็น 2. กาลวเิ ศษณ คือ คําวิเศษณทบ่ี อกเวลาในอดีต ปจ จุบนั อนาคต เชา สาย บา ย เย็น 3. สถานวเิ ศษณ คือ คําวิเศษณท ่บี อกสถานท่ี ระยะทาง ไดแ ก คาํ ใกล ไกล บน ลา ง เหนือ ใต ซา ย ขวา หนา หลงั 4. ประมาณวิเศษณ คอื คาํ วิเศษณท บ่ี อกจํานวนหรือปรมิ าณ ไดแ ก คํา มาก นอย หนึง่ สอง หลาย ทงั้ หมด 5. นยิ มวิเศษณ คือ คําวิเศษณทบี่ อกความช้เี ฉพาะ ชอกกําหนด แนนอน ไดแ ก คํา นี่ นนั่ โนน นั้น โนน เหลา น้ี เฉพาะ แนนอน จริง 6. ปอนยิ มสรรพนาม คอื คําวเิ ศษณท่แี สดงความไมชเ้ี ฉพาะ ไม แนนอนไดแก คาํ อะไร ทาํ ไม อยางไร ไย เชนไร ฉนั ใด ก่ี 7. ปฤจฉาวิเศษณ คือ คําวิเศษณทีบ่ อกเนอื้ ความเปนคําถามหรอื ความสงสัย ไดแกคาํ อะไร ไหน ทาํ ไม อยา งไร 8. ประตชิ ญาวเิ ศษณ คอื คาํ วิเศษณท ่ีใชในการเรยี กขานและโตต อบ กัน ไดแ ก คํา คะ ขา ครบั ขอรับ จา จะ พระพุทธเจา ขา 9. ประตเิ ษธวิเศษณ คือ คําวิเศษณท ี่บอกความปฏเิ สธ ไดแก คํา ไม ไมใช ไมได หามิได บ 10. ประพันธวเิ ศษ คือ คําวเิ ศษณท ป่ี ระกอบคาํ กริยาหรอื คาํ วิเศษณ เพื่อทาํ หนาทีเ่ ชือ่ มประโยค ใหมคี วามเกยี่ วขอ งกนั ไดแก คําท่ี ซึง่ อนั อยางท่ี ชนิดที่ ทว่ี า วา เพราะเหตุวา

คอื คําท่ที าํ หนาท่ีเช่ือมโยงคาํ หนึ่งหรอื กลมุ คาํ หนง่ึ ให สมั พันธก ับคาํ อ่นื หรือกลุม คําอืน่ เพือ่ แสดงความหมาย ตา ง ๆ เชน ความเปนเจา ของ ลักษณะ เหตผุ ล เวลา สถานที่ ประมาณ ความตองการ เปรยี บเทียบ ฯลฯ ไดแก คาํ ใน แก แต ตอ สาํ หรับ โดย ดวย ของ แหง ใกล คําบพุ บทแบง เปน 2 พวก คอื 1. คําบุพบทที่เชอ่ื มโยงกบั บทอื่น 2. คาํ บพุ บทที่ไมเชอื่ มโยงกบั บทอื่น สวนมากจะอยตู น ประโยค ใชเ ปน การทกั ทาย มกั ใชในคาํ ประพนั ธ

คือ คาํ ท่ที ําหนา ท่ีเช่ือมคาํ กบั คาํ ประโยคกับประโยค ขอความกบั ขอความ หรอื ความใหสละสลวย ไดแก คาํ และ หรือ แต เพราะ คาํ สนั ธานทําหนา ท่ีได 4 ลักษณะ ดงั นี้ 1. ใชเช่ือมคาํ กับคํา เชน ฉนั และเธอชอบเรยี นวิชาภาษาไทย, เธอ ชอบมะลิหรือกหุ ลาบ 2. ใชเ ชือ่ มขอความ เชน คนเราตอ งการอาหาร เสื้อผา เครอื่ งนงุ หม ทอ่ี ยอู าศัย และยารกั ษาโรคดว ยเหตุน้ี เราจงึ จําเปน ตองประกอบ อาชีพเพ่อื ใหไดเงินมาซ้อื สิง่ จาํ เปนเหลานี้ 3. ใชเชอื่ มประโยคกับประโยค เชน แมช อบปลูกไมด อกแตพอ ชอบ ปลูกไมประดบั , นองไปโรงเรยี นไมไดเพราะไมสบาย 4.เชือ่ มความใหส ละสลวย เชน เขาก็เปน คนจริงคนหน่งึ เหมอื นกัน, คนเราก็ตอ งมีผิดพลาดบา งเปน ธรรมดา คาํ สนั ธานมี 4 ชนิด คอื 1. คาํ สนั ธานเชื่อมใจความทคี่ ลอยตามกนั ไดแก คํา กับ, และ, ทัง้ …และ, ท้ัง…ก,็ ครัน้ …ก,็ ครน้ั …จึง, พอ…ก็ 2. คําสันธานเชื่อมใจความทขี่ ัดแยงกนั ไดแ ก คํา แต, แตทวา , ถึง…ก็, กวา…ก็ 3. คาํ สนั ธานเชอ่ื มใจความที่ใหเ ลือกเอาอยา งใดอยางหนึ่ง ไดแ ก คํา หรือ, หรอื ไมก,็ มิฉะน้นั , ไมเ ชน น้ัน, ไม…ก็ 4. คําสนั ธานเชือ่ มใจความท่เี ปน เหตุเปนผลกนั ไดแก จงึ , เพราะ, เพราะวา, เพราะ…..จงึ , ฉะนัน้ …จึง

คําแสดงอาการ การกระทาํ หรอื บอกสภาพของคาํ นาม หรือคาํ สรรพนาม เพือ่ ใหไดค วาม เชนคําวา กนิ เดนิ นงั่ นอน เลน จับ เขียน อาน เปน คือ ถูก คลาย คาํ กริยาแบงเปน 5 ชนดิ 1. อกรรมกรยิ า คอื คาํ กริยาท่ีไมตองมกี รรมมารับก็ไดค วามสมบูรณ เขาใจได 2. สกรรมกรยิ า คอื คาํ กรยิ าท่ตี องมีกรรมมารบั เพราะคํากริยาน้ี ไมมคี วามสมบูรณในตวั เอง 3. วิกตรรถกรยิ า คอื คํากรยิ าที่ไมม ีความหมายในตัวเอง ใชตาม ลําพงั แลวไมไดความ ตอ งมีคาํ อื่นมาประกอบจึงจะไดความ คํากรยิ า พวกน้ีคอื เปน เหมือน คลาย เทา คือ 4. กรยิ านุเคราะห คือ คํากรยิ าท่ที ําหนา ทีช่ วยคาํ กริยาสําคัญใน ประโยคใหมคี วามหมายชดั เจนขึ้น ไดแกคําวา จง กําลัง จะ ยอม คง ยัง ถกู นะ เถอะ เทอญ ฯลฯ 5. กริยาสภาวมาลา คือ คํากรยิ าท่ที าํ หนา ท่เี ปน คํานามจะเปน ประธาน กรรม หรอื บทขยายของประโยคก็ได


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook