Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Portfolio

Portfolio

Published by Munthana Kamwangjan, 2021-09-27 08:20:41

Description: Portfolio

Search

Read the Text Version

PORTFOLIO แฟ้ มสะสมผลงาน นางสาวมณั ฑนา คาวังจันทร์ นกั ศกึ ษาชน้ั ปีที่ 5 สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลาปาง

ข้อมูลทว่ั ไป Personal information

ประวัตสิ ่วนตวั ช่ือ – นามสกลุ นางสาวมัณฑนา คาวงั จนั ทร์ ชือ่ เลน่ เมย์ เกิดวนั ท่ี 17 เมษายน 2541 อายุ 23 ปี สถานะ โสด เชอื้ ชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ ทีอ่ ยู่ 152 ม.10 ต.นานอ้ ย อ.นานอ้ ย จ.น่าน 55150 บดิ าชอ่ื นายนคิ ม คาวงั จนั ทร์ มารดาชือ่ นางกัลยา คาวังจนั ทร์ ปจั จุบันเป็นนกั ศึกษาชนั้ ปีที่ 5 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏลาปาง และกาลังฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครูท่ี โรงเรียนแมเ่ มาะวทิ ยา นางสาวมณั ฑนา คาวงั จันทร์ Miss Munthana Kumwangjan ประวตั กิ ารศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อดุ มศึกษา โรงเรยี นบา้ นนาหล่าย โรงเรียนศรีสวสั ดว์ิ ทิ ยาคาร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏลาปาง ประวัติการสอน สังเกตการสอน โรงเรียนลาปางกลั ยาณี สังเกตในรายวิชาการออกแบบเทคโนโลยี ม.4 ทดลองสอน โรงเรียนแม่เมาะวิทยา ทดลองสอนในรายวชิ าการพัฒนาโครงงาน ฝึกสอน คอมพิวเตอร์ ม.6 โรงเรียนแมเ่ มาะวิทยา ฝึกสอนในรายวิชาการจัดการฐานข้อมลู พื้นฐาน ม.4 และรายวิชาการผลติ สื่อสิ่งพิมพ์และมลั ตมิ ีเดยี ม.5

ประวตั ิการหยดุ ราชการ Sick & Personal Leave ไม่มปี ระวัตกิ ารหยุดราชการ ประวัตกิ ารฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพ Practice Teaching ปีการศึกษา 2562 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 การสังเกตการสอน โรงเรียน ลาปางกลั ยาณี อาเภอเมอื ง จงั หวัดลาปาง ปีการศึกษา 2563 การฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพครูระหวา่ งเรียน 2 การทดลองสอน โรงเรียนแม่เมาะ วทิ ยา อาเภอแม่เมาะ จงั หวดั ลาปาง ชัน้ จานวนนักเรยี น วชิ า จานวนคาบ/ (คน) สัปดาห์ ม.6 86 การพัฒนาโครงงาน 6 คอมพิวเตอร์

ปีการศึกษา 2564 การฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ครู ฝึกสอน โรงเรียนแมเ่ มาะวิทยาอาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง ภาคเรยี นที่ 1 จานวนนกั เรียน วิชา จานวนคาบ/ (คน) สัปดาห์ ชน้ั ม.4 58 การจัดการ 4 ฐานข้อมลู พ้ืนฐาน ม.5 92 การผลิตส่ือสิ่งพิมพ์ 6 และมัลตมิ เี ดยี

เกียรตบิ ัตรที่ได้รบั Award & Reward การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรรู้ ูปแบบออนไลนส์ าหรบั ครู การเขา้ ร่วมการประชมุ เชิงปฏิบตั กิ าร ตามโครงการโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ขอ้ มลู การพัฒนาตนเองและการสรา้ งสรรค์ ผลงานทางวิชาชีพครู Personal development information and Creation of professional teacher

การรว่ มประชุม การอบรม การสัมมนา และการศึกษาดงู าน Meeting & School trip ลาดบั ซอื่ หลักสูตรประชุม/การ สถานท่ปี ระชมุ /การอบรม/ อบรม/การสัมมนา/และ การสัมมนา/และ การศึกษาดู 1 2 การศึกษาดูงาน งาน 3 ประชุมประจาเดือน มถิ ุนายน อาคารศูนย์ถ่ายทอด 4 ปกี ารศึกษา 2564 อาคารศูนยถ์ ่ายทอด 5 ห้องคลีนคิ คอมพิวเตอร์ ประชุมประจาเดือน กรกฏาคม 6 ปีการศึกษา 2564 อาคารศูนยถ์ ่ายทอด 7 หอ้ งคลนี ิคคอมพิวเตอร์ ประชุมนกั ศึกษา ประจาเดือนกรกฏาคม อาคารศูนย์ถา่ ยทอด ปีการศึกษา 2564 หอ้ งคลนี คิ คอมพิวเตอร์ ประชมุ ประจาเดอื น สิงหาคม ปกี ารศึกษา 2564 ประชมุ นกั ศึกษา ประจาเดือนสิงหาคม ปีการศึกษา 2564 ประชุมประจาเดอื น กันยายน ปีการศึกษา 2563 ประชุมนักศึกษา ประจาเดือนกันยายน ปีการศึกษา 2564

การนเิ ทศตดิ ตามผลการพัฒนาตนเองและเพื่อนนักศึกษาฯ Meeting & School trip ภาคเรียนที่ 1/2564 ลาดบั กจิ กรรม วนั ที่ สถานท่ี 1 ศูนยฝ์ ึกประสบการณ์วชิ าชพี ฯ 7 พฤษภาคม 2564 บ้าน นเิ ทศออนไลนก์ ารปฏบิ ตั ิงาน ครงั้ ท่ี 1 2 อาจารยน์ เิ ทศ ออนไลน์ คร้ังที่ 1 28 พฤษภาคม บา้ น 2564 3 ศูนย์ฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ฯ 3 สิงหาคม 2564 บ้าน นิเทศออนไลน์การปฏบิ ัตงิ าน คร้ังที่ 2 โรงเรียน แม่เมาะวทิ ยา 4 อาจารย์นิเทศ ออกนิเทศติดตามผล 1 กนั ยายน 2564 ก า ร พั ฒ น า ต น เ อ ง ข อ ง ส า ข า วิ ช า บ้าน คอมพิวเตอร์ คร้ังที่ 1 5 ศูนย์ฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ฯ 27 กันยายน 2564 นเิ ทศออนไลน์การปฏบิ ตั งิ าน ครั้งที่ 3

ข้อมลู การประพฤติตามจรรยาบรรณครู Personal Ethics Teachers

แบบแผนพฤตกิ รรม ขา้ พเจ้านางสาวมณั ฑนา คาวงั จันทร์ ได้ประพฤติตามจรรยาบรรณครู ดังนี้ ด้านท่ี 1 จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง 1. ต้องมวี ินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ให้ทัน ตอ่ การพัฒนาทางวทิ ยาการ เศรษฐกจิ สังคม และการเมืองอยเู่ สมอ พฤติกรรมทพ่ี ึงประสงค์ พฤตกิ รรมที่ไมพ่ ึงประสงค์ 1) ประพฤตติ นเหมาะสมกบั สถานภาพ 1) เก่ยี วข้องกบั อบายมุขหรอื เสพส่ิงเสพ และเป็นแบบอยา่ งทดี่ ี ตดิ จนขาดสตหิ รอื แสดงกริ ิยาไม่ 2) ประพฤตติ นเปน็ แบบอย่างที่ดใี นการ สุภาพเป็นที่น่ารังเกียจในสังคม ดาเนนิ ชีวติ ตามประเพณีและ 2) ประพฤตผิ ิดทางชสู้ าวหรือมี วฒั นธรรมไทย พฤตกิ รรมล่วงละเมิดทางเพศ 3) ปฏิบัตงิ านตามหน้าที่ท่ีไดร้ ับ 3) ขาดความรับผิดชอบ ความ มอบหมายใหส้ าเร็จอยา่ งมคี ุณภาพ กระตือรือร้น ความเอาใจใส่ จนเกดิ ตามเปา้ หมายท่กี าหนด ความเสียหายในการปฏิบตั ิงานตาม 4) ศึกษา หาความรู้ วางแผนพัฒนา หนา้ ท่ี ตนเอง พัฒนางาน และสะสมผลงาน 4) ไมร่ บั รู้หรอื ไม่แสวงหาความรใู้ หม่ ๆ อยา่ งสม่าเสมอ ในการ จดั การเรยี นรู้ และการปฏิบตั ิ 5) คน้ ควา้ แสวงหา และนาเทคนิคด้าน หน้าท่ี วิชาชีพ ที่พัฒนาและกา้ วหนา้ เป็นที่ 5) ขดั ขวางการพัฒนาองค์การจน ยอมรบั มาใช้แก่ศิษยแ์ ละผูร้ บั บริการ เกดิ ผลเสียหาย ให้เกดิ ผลสัมฤทธิ์ทพ่ี ึงประสงค์

ด้านที่ 2 จรรยาบรรณตอ่ วชิ าชีพ 2. ต้องรัก ศรัทธา ซ่ือสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพและเป็นสมาชิกท่ีดีของ องค์กรวิชาชีพ พฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ พฤตกิ รรมที่ไมพ่ ึงประสงค์ 1) แสดงความชน่ื ชมและศรัทธาใน 1) ไม่แสดงความภาคภูมใิ จในการ คุณคา่ ของวชิ าชพี ประกอบวิชาชีพ 2) รกั ษาช่ือเสียงและปกปอ้ งศักด์ศิ รี 2) ดูหมนิ่ เหยยี ดหยาม ใหร้ า้ ยผู้ร่วม แห่งวิชาชพี ประกอบวชิ าชีพศาสตรใ์ นวิชาชพี 3) ยกย่องและเชิดชูเกียรติผมู้ ีผลงานใน หรอื องค์กรวิชาชี วชิ าชีพ ให้สาธารณชนรับรู้ 3) ประกอบการงานอ่นื ทีไ่ ม่เหมาะสมกับ 4) อทุ ิศตนเพื่อความก้าวหน้าของ การเปน็ ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการ วิชาชีพ ศึกษา 5) ปฏบิ ตั หิ นา้ ทด่ี ้วยความรบั ผดิ ชอบ 4) ไม่ซ่อื สัตย์สุจรติ ไม่รบั ผดิ ชอบ ซ่อื สัตยส์ ุจรติ ตามกฎ ระเบยี บ และ หรือไมป่ ฏบิ ัตติ ามกฎ ระเบียบ หรือ แบบแผนของทางราชการ แบบแผนของทางราชการจน 6) เลอื กใช้หลักวชิ าทีถ่ ูกต้อง ก่อใหเ้ กดิ ความเสียหาย สร้างสรรค์เทคนคิ วธิ กี ารใหม่ ๆ เพ่ือ 5) คัดลอกหรอื นาผลงานของผู้อ่ืนมา พัฒนาวชิ าชีพ เปน็ 7) ใชอ้ งคค์ วามรูห้ ลากหลายในการ ของตน ปฏิบตั หิ น้าท่ี และแลกเปลีย่ นเรียนรู้ 6) ใช้หลกั วชิ าการที่ไมถ่ ูกต้องในการ กับสมาชกิ ในองคก์ าร ปฏิบัติวิชาชีพ ส่งผลให้ศิษย์หรอื 8) เข้าร่วมกิจกรรมของวชิ าชีพหรือ ผรู้ ับบรกิ ารเกิดความเสียหาย องค์กรวชิ าชีพอย่างสร้างสรรค์ 7) ใช้ความรทู้ างวชิ าการ วิชาชพี หรือ อาศัย องค์กรวชิ าชีพแสวงหา ประโยชนเ์ พ่ือตนเองหรอื ผู้อน่ื โดยมิ ชอบ

ดา้ นท่ี 3 จรรยาบรรณตอ่ ผู้รับบริการ 3. ครูต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจแก่ศิษย์และ ผู้รบั บรกิ าร ตามบทบาทหนา้ ท่โี ดยเสมอหน้า 4. ครูต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และ ผู้รบั บริการ ตามบทบาทหนา้ ที่อยา่ งเตม็ ความสามารถด้วยความบรสิ ุทธิใ์ จ 5. ครตู อ้ งประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี ทงั้ ทางกาย วาจา และจิตใจ 6. ครูต้องไม่กระทาตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์และผู้รบั บรกิ าร 7. ครูต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับ ผลประโยชน์ จากการใชต้ าแหน่งหน้าท่โี ดยมิชอบ พฤตกิ รรมท่พี ึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไมพ่ ึงประสงค์ 1) ใหค้ าปรึกษาหรอื ชว่ ยเหลอื ศิษย์และ 1) ลงโทษศิษย์อยา่ งไมเ่ หมาะสม ผรู้ บั บริการด้วยความเมตตากรณุ า 2) ไมใ่ ส่ใจหรอื ไม่รบั รู้ปัญหาของศิษย์ อย่างเต็มกาลังความสามารถและ หรอื ผู้รบั บรกิ ารจนเกิดผลเสียหายต่อ เสมอภาค ศิษย์หรือผูร้ บั บรกิ าร 2) สนับสนุนการดาเนนิ งานเพื่อปกปอ้ ง 3) ดูหม่นิ เหยียดหยามศิษย์หรอื สิทธิเดก็ เยาวชน และผู้ดอ้ ยโอกาส ผู้รบั บริการ 3) ตั้งใจ เสียสละ และอทุ ิศตนในการ 4) เปดิ เผยความลบั ของศิษย์หรอื ปฏิบัติหน้าท่ี เพ่ือใหศ้ ิษยแ์ ละ ผู้รับบริการเปน็ ผลให้ไดร้ บั ความอับ ผู้รบั บรกิ ารไดร้ ับการพัฒนาตาม อายหรือเส่ือมเสียช่ือเสียง ความสามารถ ความถนดั และความ 5) จงู ใจ โน้มนา้ ว ยยุ งส่งเสรมิ ใหศ้ ิษย์ สนใจของแตล่ ะบคุ คล หรือผู้รับบรกิ ารปฏบิ ตั ิขัดตอ่ ศีลธรรม 4) ส่งเสริมใหศ้ ิษย์และผรู้ ับบริการ หรือกฎระเบยี บ สามารถแสวงหาความร้ไู ด้ด้วยตนเอง 6) ชกั ชวนใช้จา้ งวานศิษยห์ รอื จากส่ือ อุปกรณ์ และ แหล่งเรยี นรู้ ผู้รบั บริการให้จัดซือ้ จัดหาสิ่งเสพติด อย่างหลากหลาย หรือเขา้ ไปเกี่ยวข้องกับอบายมุข 5) ให้ศิษยแ์ ละผู้รบั บริการ มสี ่วนรว่ มวาง 7) เรยี กร้องผลตอบแทนจากศิษย์หรอื แผนการเรียนรู้ และเลอื กวธิ ีการ ผรู้ ับบริการในงานตามหนา้ ท่ที ่ีต้อง ปฏบิ ัตทิ เ่ี หมาะสม กบั ตนเอง ให้บรกิ าร 6) เสรมิ สรา้ งความภาคภูมิใจใหแ้ กศ่ ิษย์ 8) ใชค้ วามรทู้ างวชิ าการ วิชาชีพ หรือ และผรู้ ับบรกิ ารด้วยการรับฟงั ความ อาศัย องคก์ รวชิ าชพี แสวงหา คดิ เห็น ประโยชนเ์ พื่อตนเองหรอื ผอู้ ่ืนโดยมิ 7) ยกยอ่ ง ชมเชย และใหก้ าลงั ใจอยา่ ง ชอบ กัลยาณมิตร

ดา้ นท่ี 4 จรรยาบรรณต่อผู้รว่ มประกอบวชิ าชีพ 8. ครพู ึงช่วยเหลอื เกอื้ กลู ซ่งึ กันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมัน่ ในระบบ คณุ ธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ โดยพึงประพฤติและละเวน้ การประพฤตติ ามแบบ แผนพฤติกรรม พฤติกรรมทีพ่ ึงประสงค์ พฤตกิ รรมทไี่ มพ่ ึงประสงค์ 1) เสียสละ เอือ้ อาทร และใหค้ วาม 1) ปดิ บังขอ้ มลู ข่าวสารในการปฏิบตั งิ าน ช่วยเหลือผรู้ ่วมประกอบวชิ าชพี จนทาให้เกดิ ความเสียหายตอ่ งานหรอื 2) มีความรกั ความสามัคคี และร่วมใจ ผรู้ ่วมประกอบวชิ าชีพ กันผนึกกาลงั ในการพัฒนาการศึกษา 2) ปฏิเสธความรับผดิ ชอบ โดยตาหนิ ให้ รา้ ยผู้อน่ื ในความบกพร่องท่ีเกิดข้นึ 3) สรา้ งกลุ่มอิทธิพลภายในองค์การหรือ กลนั่ แกลง้ ผรู้ ่วมประกอบวิชาชีพให้ เกดิ ความเสียหาย 4) เจตนาให้ข้อมูลเท็จทาใหเ้ กดิ ความ เขา้ ใจผิดหรอื เกดิ ความเสียหายตอ่ ผู้ ร่วมประกอบวิชาชีพ 5) วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ผู้ร่วมประกอบ วชิ าชีพในเรอ่ื งทีก่ ่อให้เกิดความ เสียหายหรือแตกความสามัคคี

ด้านท่ี 5 จรรยาบรรณต่อสังคม 9. ครูพึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นาในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ส่ิงแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวมและยึด มั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยพึ ง ประพฤติและละเวน้ การประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดงั ตัวอยา่ งต่อไปน้ี พฤตกิ รรมทีพ่ ึงประสงค์ พฤตกิ รรมท่ไี มพ่ ึงประสงค์ 1) ยดึ มน่ั สนับสนนุ และส่งเสรมิ การ 1) ไม่ใหค้ วามร่วมมือหรอื สนับสนุน ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมี กจิ กรรมของชุมชนท่ีจัดเพ่ือประโยชน์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตอ่ การศึกษาท้ังทางตรงหรือ 2) นาภมู ิปัญญาท้องถิ่นและ ทางอ้อม ศิลปวัฒนธรรมมาเป็นปัจจัยในการ 2) ไมแ่ สดงความเป็นผูน้ าในการอนุรักษ์ จัดการศึกษาใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ ่อ หรือพัฒนาเศรษฐกจิ สังคม ศาสนา ส่วนรวม ศิลปวัฒนธรรมภูมิปญั ญาหรอื 3) จัดกจิ กรรมส่งเสริมให้ศิษย์เกดิ การ สิ่งแวดลอ้ ม เรียนรู้และสามารถดาเนินชีวติ ตาม 3) ไมป่ ระพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ดี ใี น หลกั เศรษฐกจิ พอเพียง การอนุรักษ์หรอื พัฒนาสิ่งแวดลอ้ ม 4) เปน็ ผนู้ าในการวางแผนและ 4) ปฏิบัติตนเปน็ ปฏปิ กั ษ์ต่อวัฒนธรรม ดาเนนิ การเพ่ืออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อนั ดงี ามของชมุ ชนหรอื สังคม พัฒนาเศรษฐกิจ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น และศิลปวัฒนธรรม

ขอ้ มลู พฤติกรรมการสอน ตามแนวทางปฏริ ปู การเรียนรู้ Teaching according to the learning reforms

ประวตั กิ ารสอน Teaching ตารางสอน นางสาวมณั ฑนา คาวังจันทร์ โรงเรียนแม่เมาะวทิ ยา อาเภอแมเ่ มาะ จงั หวดั ลาปาง ปี โรงเรยี นทีส่ อน ช้นั จานวน วชิ าท่ีสอน จานวน การศึกษา ที่สอน นกั เรยี น ชัว่ โมง การจดั การ 2564 โรงเรยี น ม.4/2 21 ฐานข้อมูลพ้ืนฐาน / 2564 แม่เมาะวิทยา ม.4/3 37 สปั ดาห์ 2564 ม.5/1 28 การจดั การ โรงเรียน ฐานขอ้ มูลพื้นฐาน 2 แม่เมาะวิทยา 33 การผลติ สื่อ 2 โรงเรยี น 31 ส่ิงพิมพ์ และ แม่เมาะวทิ ยา 2 มัลติมเี ดยี 2564 โรงเรยี น ม.5/2 การผลิตส่ือ 2 แม่เมาะวิทยา สิ่งพิมพ์ และ มัลตมิ ีเดยี 2 2564 โรงเรียนแม่เมาะวิทยา ม.5/3 การผลติ ส่ือ สิ่งพิมพ์ และ มลั ติมเี ดยี

ประวตั ิการสอน Teaching ตารางการจดั การสอนในรายวชิ าคอมพิวเตอร์ โรงเรียนแมเ่ มาะวทิ ยา อาเภอแม่เมาะ จังหวดั ลาปาง ภาคเรยี นที่ 1 วนั /คาบ คาบ1 คาบ2 คาบ3 คาบ4 คาบ5 คาบ6 คาบ7 คาบ8 คาบ9 วนั จนั ทร์ ม.4/3 ม5/3 วนั อังคาร การจัดการ การผลิตสื่อ ฐานข้อมลู สิ่งพิมพ์ และ มลั ตมิ ีเดยี พื้นฐาน วันพุ ธ ม.4/2 การจัดการ ฐานขอ้ มลู พ้ืนฐาน วันพฤหัสบดี ม.5/2 ม.5/1 วันศุกร์ การผลิตสื่อ การผลติ ส่ือ ส่ิงพิมพ์ และ ส่ิงพิมพ์ และ มัลติมีเดีย มัลติมเี ดยี

หนา้ ท่ี Duty วัน / เดือน / ปี งานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย / หนา้ ท่ี 1/06/2564 ติดตั้งระบบสายแลน (RJ45) ตามอาคารตา่ งๆ 2-4/06/2564 จัด ผ้าหน้าโรงเรีย น แ ละตก แ ต่ง สถ านที่เนื่อง ในวั นเฉลิมพ ระ 7/06/2564 ชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดาพัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรม 8/06/2564 ราชนิ ี 9/06/2564 ท ด ส อ บ ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง เ สี ย ง ข อ ง โ ร ง เ รี ย น ณ ห้ อ ง MM.W 10/06/2564 Technology learning 17/06/2564 จั ด ท า ภ า พ พั ก ห น้ า จ อ ข อ ง โ ป ร เ จ็ ค เ ต อ ร์ ข อ ง ห้ อ ง MM.W Technology learning ควบคมุ เครอ่ื งเสียงและทากิจกรรมในห้องประชมุ กรอกข้อมูลนักเรียนช้ัน ม.1 และ ม.4 เข้าสู่ระบบฐานข้อมูลของ โรงเรียน จดุ ตรวจ COVID-19 ตอนเชา้ และตอนเย็น 21/06/2564 ทารายชอ่ื ครูแต่ละกลุ่มสาระลงเวบ็ โรงเรยี น 23/06/2564 ติดตง้ั ระบบสายแลน (RJ45) ตามอาคารตา่ งๆ 24/06/2564 จดุ ตรวจ COVID-19 ตอนเชา้ และตอนเยน็ 2/07/2564 ประชุมกิจกรรมแนะแนวของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 5-6/08/2564 16/09/2564 - จัดผา้ หนา้ โรงเรยี น เน่ืองในวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระ นาเจ้าสิริกิตต์ฯ - เดินสายแลน (RJ45) - จดั ทาขอ้ สอบกลางภาค จดุ ตรวจ COVID-19 ตอนเชา้ และตอนเย็น

รปู ภาพประกอบการปฏบิ ตั ิหน้าที่ Illustration of Duty

รปู ภาพประกอบการปฏบิ ตั ิหน้าที่ Illustration of Duty

รปู ภาพประกอบการปฏิบัติหน้าที่ Illustration of Duty

การวเิ คราะหห์ ลกั สูตร การพัฒนาหลักสูตรและการเขียนแผนการสอน Curriculum development ขัน้ เตรียมแผนการสอน 1.1 วเิ คราะหห์ ลักสูตร/กลุ่มสาระ ศึกษาคาอธิบายรายวิชา และจัดทาหน่วยการเรียนรู้มี ความเข้าใจเก่ียวกับมาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นและตัวช้ีวัด สาระการ เรยี นรูช้ ่วงชนั้ สาระการเรียนรู้รายปี และได้มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น สาระการเรยี นร้ชู ว่ งชนั้ สาระการเรียนรู้รายปี ตัวชี้วัดแต่ละมาตรฐาน เพ่ือนาไปใส่ในแผนการ จัดการเรยี นรูร้ ะดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 5 1.2 จดั ทาแผนการจดั การเรียนรูร้ ายชั่วโมง ผลงาน ได้วิเคราะห์หลักสูตร/กลุ่มสาระ และศึกษาคาอธิบายรายวิชา และได้จัดทา หน่วยการเรยี นรู้รายชว่ั โมง ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5 1.3 ดาเนินการสอน ผลงาน ได้นาเอาแผนการจัดการเรียนรู้ไปสอนตลอดระยะเวลา1ภาคเรียน คือ ภาค เรียนที่ 1 ของปกี ารศึกษา 2564 เปน็ ระยะเวลา 40 สัปดาห์ โดยได้รบั มอบหมายจากหวั หน้ากลุม่ สาระและครพู ี่เล้ียงให้ดาเนินการสอน ในรายวิชา การผลติ ส่ือสิ่งพิมพ์ และมลั ติมีเดีย ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ Child Center Learning 1. ความตอ้ งการหรอื ความสนใจของผเู้ รยี นเป็นสาคัญ 2. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนมากที่สุด และเน้นความร่วมมือ ซ่ึงเป็น ทกั ษะที่สาคัญในการดาเนินชวี ิตประจาวัน 3. เน้นให้ผู้เรียนสามารถสร้างสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเองหมายความว่าให้สามารถ เรียนรู้จากประสบการณ์ในสภาพความเป็นจริงสามารถวิจัยเชิงปฏิบัติการ และสืบค้นหา ความรูด้ ว้ ยตนเอง 4. เป็นการพึ่งพาตนเองเพ่ือให้เกิดทักษะที่จะนาสิ่งที่เรียนรู้ไปใช้ได้จริงในชีวิตประจาวัน และสามารถเข้าใจวิธีการเรียนรู้ของตนได้คือรู้วิธีคิดของตนเองและพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนวิธี คิดอย่างเหมาะสมไม่เน้นท่กี ารจดจาเพียงเนอื้ หา 5. เนน้ การประเมนิ ตนเองเดิมผู้สอนเป็นผูป้ ระเมินการเปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นประเมินตนเอง อยา่ งสม่าเสมอและตอ่ เนอ่ื งจะช่วยให้ผ้เู รียนเขา้ ใจตนเองไดช้ ดั เจนข้ึนรู้จดุ เด่นจดุ ด้อยและ พร้อมที่จะปรับปรงุ หรือพัฒนาตนเองใหเ้ หมาะสมยิง่ ขน้ึ การประเมินในส่วนน้เี ปน็ การประเมิน ตามสภาพจรงิ และใช้ผลงานช่วย

การวดั และการประเมินผลการเรียนการสอน และการทดสอบความรู้พื้นฐานของนักเรียน Measurement and evaluation การวดั ผล (Measurement) หมายถงึ กระบวนการหาปรมิ าณ หรือจานวนของส่ิงต่าง ๆ โดยใช้เคร่ืองมืออย่างใดอย่างหน่ึง ผลจากการวัดจะออกมาเป็นตัวเลข หรือสัญลักษณ์การ ทดสอบการศึกษา หมายถึง กระบวนการวัดผลอย่างหนึ่งท่ีกระทาอย่างมีระบบเพ่ือใช้ในการ เปรียบเทียบความสามารถของบุคคล โดยใช้ข้อสอบหรือคาถามไปกระตุ้นให้สมองแสดง พฤติกรรมอยา่ งใดอย่างหน่ึงออกมา หลักการวัดผลการศึกษา 1. ตอ้ งวัดใหต้ รงกบั จุดมุง่ หมายของการเรยี นการสอน คือ การวัดผลจะเป็นส่ิงตรวจสอบ ผลจากการสอนของครูว่า นักเรียนเกิดพฤติกรรมตามท่ีระบุไว้ในจุดมุ่งหมายการสอนมากน้อย เพียงใด 2. เลอื กใช้เครอ่ื งมือวัดที่ดแี ละเหมาะสม การวดั ผลครูต้องพยายามเลอื กใชเ้ คร่อื งมอื วดั ที่มี คุณภาพ ใชเ้ คร่อื งมอื วัดหลาย ๆ อยา่ ง เพ่ือชว่ ยให้การวัดถูกต้องสมบรู ณ์ 3. ระวงั ความคลาดเคลื่อนหรือความผดิ พลาดของการวัด เมื่อจะใช้เคร่ืองมือชนิดใด ต้อง ระวังความ บกพรอ่ งของเครือ่ งมือหรอื วิธีการวัดของครู 4. ประเมินผลการวัดให้ถูกต้อง เช่น คะแนนที่เกิดจาการสอนครูต้องแปลผลให้ถูกต้อง สมเหตสุ มผลและมีความยุติธรรม 5. ใช้ผลการวัดให้คุ้มค่า จุดประสงค์สาคัญของการวัดก็คือ เพ่ื อค้นและพั ฒนา สมรรถภาพของนักเรียน ต้อง พยายามค้นหาผู้เรียนแต่ละคนว่า เด่น-ด้อยในเร่ืองใด และหา แนวทางปรบั ปรุงแกไ้ ขแต่ละคนใหด้ ขี ึ้น

ขอ้ มลู แผนการจดั การเรยี นรู้ ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย Learning Management Plan

ข้อมูลแผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ีไดร้ บั มอบหมาย Learning Management Plan ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้จัดการเรียนการสอนในรายวิชา การผลิตสื่อส่ิงพิมพ์ และ มัลตมิ ีเดีย ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 โดยวชิ าดังกล่าวมโี ครงสรา้ งรายวิชาดังน้ี ลาดับท่ี ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน/ตัวชวี้ ัด/ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั ผลการเรยี นรู้ (ช่วั โมง) คะแนน 1 รู้จักส่ือสิง่ พิมพ์ ความร้เู บ้อื งตน้ เกย่ี วกบั สอ่ื 1. อธบิ ายธรรมชาตแิ ละ สิง่ พิมพ์ 2 4 2 ข้ันตอนการผลติ สอื่ สิ่งพมิ พ์ คณุ สมบตั ทิ างเทคนคิ ของส่ือส่งิ พิมพ์ ส่ือ ขั้นตอนการผลติ สือ่ สง่ิ พมิ พ์การ 16 34 ประสมได้ ตกแต่งภาพถ่าย และออกแบบ 2. สามารถสรา้ งและ แผ่นพับปกหนังสอื ปา้ ยไวนิล ป้าย ตกแต่งช้นิ งานสือ่ โฆษณา ส่งิ พิมพ์ได้สวยงามตาม - ทาความรูจ้ กั กับโปรแกรมที่ หลักการออกแบบ เกยี่ วข้องกบั การออกแบบ - องค์ประกอบของการออกแบบ - การใช้งานโปรแกรม Photoshop เบือ้ งต้น - การใชง้ านโปรแกรม Photoshop เบือ้ งตน้ 2 - เทคนคิ การใช้เคร่อื งมือของ โปรแกรม Photoshop - เทคนิคการใช้เคร่ืองมอื ของ โปรแกรม Photoshop2 - การสร้างชนิ้ งานผ่านโปรแกรม Photoshop - การสร้างช้ินงานผา่ นโปรแกรม Photoshop2 3 รจู้ กั สอ่ื ประสม 3. อธิบายประโยชน์ และ ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกับสอ่ื ประสม 2 4 4 การผลติ สอ่ื ประสม ข้ันตอนการผลติ สื่อ 14 30 ประสมด้วยคอมพิวเตอร์ - ขน้ั ตอนการผลติ ส่ือประสม ได้ - การเขยี นสตอรบ่ี อรด์ 4. สามารถสรา้ งสอื่ - ทาความรจู้ ักกับโปรแกรมตดั ประสมไดถ้ กู ต้องตาม ต่อวิดีโอ หลักการออกแบบ - การสรา้ งสอ่ื ประสมอย่างง่าย ด้วยโปรแกรม filmora - วิธใี ช้งานโปรแกรม filmora เบ้ืองตน้ - การสร้างสรรค์วดิ โี อ - การสร้างสรรค์วดิ โี อ2 5 การนาเสนอส่อื ประสม 5. เลอื กวิธีการนาเสนอ - การนาเสนอขอ้ มูลสื่อประสมใน 4 8 ข้อมูลดว้ ยคอมพิวเตอร์ รปู แบบท่ีเหมาะสม ไดเ้ หมาะสมกบั ชิน้ งาน - การนาเสนอขอ้ มลู สือ่ ประสมใน 6. สามารถนาเสนอ รปู แบบทเ่ี หมาะสม2 ขอ้ มลู ส่ือประสม ใน รูปแบบทีเ่ หมาะสมได้ รวมระหวา่ งภาคเรยี น 38 80 รวมสอบปลายภาค 2 20 รวมตลอดภาค 40 100

ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้จัดการเรียนการสอนในรายวิชา การจัดการฐานข้อมูลพื้นฐาน ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 โดยวชิ าดังกล่าวมโี ครงสร้างรายวชิ าดังนี้ ลาดบั ท่ี ชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐาน/ตัวชว้ี ดั / สาระสาคญั เวลา น้าหนกั ผลการเรียนรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน 1 ความรู้เบือ้ งตน้ เกย่ี วกบั - ความหมายของฐานข้อมลู ฐานข้อมูลและการออกแบบ 1. มีความรู้เบื้องต้น - สว่ นประกอบต่างๆ ของ 8 10 ฐานขอ้ มลู เกี่ยวกบั ฐานขอ้ มลู ฐานขอ้ มูล 2. มีความรูเ้ ก่ียวกบั การ - การออกแบบฐานขอ้ มลู 4 10 2 โปรแกรมการจดั การฐานขอ้ มลู วิเคราะห์ และออกแบบ - ชนดิ ของคยี ์ในฐานข้อมูลเชิง 6 10 3 การสรา้ งตารางและเพิ่ม ฐานขอ้ มูล สัมพันธ์ 6 10 ความสามารถให้ตาราง 3. สามารถ - โปรแกรมจดั การฐานขอ้ มลู ออกแบบ - รูจ้ ักโปรแกรมโปรแกรม 6 20 4 การสรา้ งแบบสอบถาม ฐานข้อมูล Microsoft Access และจาแนก - วธิ กี ารสร้างสรา้ งตารางและ 5 การสร้างแบบฟอรม์ ลกั ษณะ เพิ่ม ลบ แก้ไข ตารางฐานข้อมลู ความสัมพันธ์ - วธิ ีการเลอื กใชช้ นิดของข้อมลู ระหวา่ งขอ้ มูล ได้อย่างเหมาะสมกบั สถานการณ์ ต่างๆ ได้ - ขัน้ ตอนการแกไ้ ขโครงสรา้ ง 4. มคี วามรู้เบื้องต้น ตารางแต่ละรูปแบบ เกยี่ วกบั โปรแกรมการ -การสร้างแบบสอบถาม จดั การฐานข้อมูล (Query) เพ่ือใชค้ น้ หาขอ้ มลู ตาม 5. สามารถสร้าง เงือ่ นไขท่กี าหนด ฐานข้อมลู สรา้ ง -บอกขั้นตอนการคน้ หาขอ้ มลู ตาราง (Table) เพิ่ม -สร้างแบบสอบถามเพื่อการ ขอ้ มลู ในตารางและ คน้ หา ประมวลผลขอ้ มูลใน - มุมมองตา่ งๆของฟอรม์ ตารางได้ - ความแตกต่างของ Bound 6. สามารถสรา้ ง Control กับ Unbound แบบสอบถาม Control (Query) ค้นหาและ - การทางานคอนโทรล วเิ คราะหข์ อ้ มูลตามท่ี ตอ้ งการได้ 7. สามารถสร้างฟอรม์ (Form) บันทกึ ข้อมูลและ ประมวลผลข้อมลู ผา่ น ฟอร์มได้ 6 การสรา้ งรายงาน 8. ใช้โปรแกรมระบบการ - การจดั ทารายงานการสรา้ ง 8 20 จดั การฐานข้อมลู สรา้ ง ฐานขอ้ มูล รวมระหว่างภาคเรยี น โครงงานเพ่ือการจดั การ - ส่วนประกอบของรายงาน รวมสอบปลายภาค งานดา้ นต่างๆ อย่างมี - ประโยชนข์ องรายงานท่จี ดั ทา รวมตลอดภาค จิตสานึกและความ - การนาเสนอผลงาน รับผิดชอบ 38 80 2 20 40 100

ขอ้ มลู การช่วยพัฒนาโรงเรียน School Development

ข้อมูลแผนการจัดการเรียนรทู้ ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย Learning Management Plan งานฝ่าย งานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ฝ่ายวชิ าการ - กรอกข้อมูลนักเรียน ม.1 และ ม.4 ลงในระบบฐานข้อมูล โรงเรยี น ฝ่ายบรหิ ารงานทั่วไป - เรยี งเลขทน่ี ักเรยี นทเ่ี ขา้ ใหม่ และเชค็ ดูความเรยี บรอ้ ยของข้อมูล ฝ่ายธรุ การ นกั เรียน ฝ่ายปกครอง - ตรวจดคู วามสะอาดเรียบรอ้ ยของอาคารต่างๆ - จัดทารายช่อื ครใู นแตล่ ะกลุ่มสาระ - ควบคุมระบบเคร่ืองเสียงในหอ้ งประชุมตา่ งๆ - จดั เรยี งใบเสร็จรับเงนิ ของนักเรียนในแต่ละระดับชนั้ - เดินเอกสาร - พิมพ์เอกสารเก่ียวกบั ขอ้ มลู นักเรียน - จัดเรียงเอกสารเก่ียวกับข้อมลู การเยย่ี มบ้านของนักเรยี น

ขอ้ มลู การร่วมมือกับสังคมและชุมชน Cooperation with Society and community

ขอ้ มลู การร่วมมอื กบั สังคมและชุมชน Cooperation with Society and community เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของไวรัส COVID-19 ทาให้โรงเรียนแม่เมาะวิทยา งดจัดกจิ กรรมทีใ่ หส้ ังคมและชมุ ชนมสี ่วนร่วมทุกชนดิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook