กรอบภาพรวมของการพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี นตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ วสิ ยั ทศั น์ หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ม่งุ พัฒนาผเู้ รยี นทุกคน ซ่งึ เป็นกาลังของชาตใิ หเ้ ป็นมนษุ ย์ทม่ี คี วามสมดลุ ทง้ั ดา้ นร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจิตสานกึ ในความเป็นพลเมอื งไทยและเป็นพลโลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทกั ษะพ้ืนฐาน รวมทงั้ เจตคติ ท่จี าเป็นต่อการศกึ ษาตอ่ การ ประกอบอาชพี และการศกึ ษาตลอดชีวติ โดยมุง่ เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั บนพื้นฐานความเชือ่ วา่ ทุกคนสามารถเรียนรู้และ พฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ จุดหมำย ๑. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มท่ีพงึ ประสงค์ เหน็ คณุ คา่ ของตนเอง มีวินัยและปฏิบัตติ นตามหลกั ธรรม ของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนับถอื ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๒. มีความรูอ้ นั เปน็ สากลและมคี วามสามารถในการส่ือสาร การคิด การแก้ปญั หา การใชเ้ ทคโนโลยีและมี ทกั ษะชวี ิต ๓. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ท่ีดี มีสขุ นสิ ยั และรกั การออกกาลงั กาย ๔. มคี วามรกั ชาติ มีจิตสานกึ ในความเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ยดึ มน่ั ในวิถีชวี ติ และการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข ๕. มีจติ สานกึ ในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย การอนรุ กั ษ์และพัฒนาสง่ิ แวดล้อม มจี ิตสาธารณะ ที่มุง่ ทาประโยชนแ์ ละสร้างสงิ่ ทด่ี งี ามในสังคม และอยรู่ ่วมกนั ในสังคมอยา่ งมคี วามสขุ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑.ความสามารถในการส่ือสาร ๒.ความสามารถในการคดิ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๓.ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔.ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ ๒. ซ่ือสัตยส์ จุ รติ ๓. มีวนิ ยั ๕.ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๔. ใฝเ่ รยี นรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มงุ่ มน่ั ในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจติ สาธารณะ มำตรฐำนกำรเรยี นรูแ้ ละตวั ช้ีวดั ๘ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน ๑. ภาษาไทย ๒. คณิตศาสตร์ ๓. วทิ ยาศาสตร์ ๑.กิจกรรมแนะแนว ๒.กิจกรรมนกั เรียน ๔. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕. สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๓. กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและ สาธารณประโยชน์ ๖. ศิลปะ ๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘. ภาษาต่างประเทศ คุณภำพของผูเ้ รยี นระดบั กำรศกึ ษำขน้ั พนื้ ฐำน
ทาไมตอ้ งเรยี นวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เก่ียวขอ้ ง กับทุกคนท้ังในชีวิตประจาวันและการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เคร่ืองมือเคร่ืองใช้และ ผลผลิตต่าง ๆ ที่มนุษย์ได้ใช้เพอ่ื อานวยความสะดวกในชีวิตและการทางาน เหล่านี้ล้วนเปน็ ผลของความรู้ วทิ ยาศาสตร์ ผสมผสานกบั ความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อ่ืน ๆ วิทยาศาสตรช์ ่วยให้มนุษย์ไดพ้ ัฒนาวิธี คิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าหา ความรู้ มคี วามสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ขอ้ มลู ท่ีหลากหลายและ มีประจักษ์พยานทต่ี รวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เปน็ วัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซง่ึ เป็นสงั คมแหง่ การเรียนรู้ (K knowledge-based society) ดังน้ันทกุ คนจึงจาเป็นต้องไดร้ บั การพฒั นาให้รวู้ ทิ ยาศาสตร์ เพื่อท่ีจะมี ความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น สามารถนาความรู้ไปใช้อย่างมี เหตผุ ล สร้างสรรค์ และมคี ุณธรรม เรียนรอู้ ะไรในวิทยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรม์ ุ่งหวงั ให้ผเู้ รยี น ไดเ้ รยี นรวู้ ิทยาศาสตรท์ ่ีเนน้ การเชอื่ มโยง ความรู้กบั กระบวนการ มีทกั ษะสาคญั ในการค้นควา้ และสรา้ งองคค์ วามรู้ โดยใช้กระบวนการในการสบื เสาะหาความรู้ และการแก้ปัญหาทหี่ ลากหลาย ให้ผ้เู รียนมสี ว่ นร่วมในการเรียนรทู้ กุ ข้ันตอน มีการทา กิจกรรมด้วยการลงมอื ปฏบิ ัติจรงิ อย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดบั ช้ัน โดยไดก้ าหนดสาระสาคัญไว้ ดังน้ี ส่งิ มีชีวติ กับกระบวนการดารงชีวติ สิง่ มีชีวิต หนว่ ยพ้ืนฐานของสิง่ มชี วี ติ โครงสรา้ งและหนา้ ที่ของ ระบบต่าง ๆ ของสงิ่ มชี วี ติ และกระบวนการดารงชวี ิต ความหลากหลายทางชวี ภาพ การถา่ ยทอดทาง พนั ธุกรรม การทางานของระบบต่าง ๆ ของสง่ิ มีชีวติ ววิ ฒั นาการและความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ และ เทคโนโลยีชวี ภาพ ชีวิตกับสง่ิ แวดล้อม ส่ิงมชี ีวิตที่หลากหลายรอบตัว ความสมั พันธ์ระหว่างสิ่งมชี ีวิตกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ความสัมพนั ธ์ของสิง่ มีชวี ติ ต่าง ๆ ในระบบนิเวศ ความสาคัญของทรพั ยากรธรรมชาติ การใชแ้ ละจดั การ ทรพั ยากรธรรมชาติ ในระดับท้องถนิ่ ประเทศ และโลก ปจั จยั ทมี่ ีผลตอ่ การอยู่รอดของสง่ิ มชี วี ิตใน สภาพแวดล้อมต่าง ๆ สารและสมบัติของสาร สมบัติของวัสดุและสาร แรงยึดเหนย่ี วระหว่างอนุภาค การเปลยี่ นสถานะ การเกดิ สารละลายและการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมขี องสาร สมการเคมี และการแยกสาร แรงและการเคลอ่ื นท่ี ธรรมชาตขิ องแรงแมเ่ หล็กไฟฟ้า แรงโนม้ ถว่ ง แรงนวิ เคลียร์ การออกแรง กระทาต่อวัตถุ การเคลื่อนท่ีของวตั ถุ แรงเสียดทาน โมเมนตก์ ารเคลอื่ นทีแ่ บบต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน พลังงาน พลังงานกับการดารงชีวิต การเปล่ียนรปู พลังงาน สมบตั ิและปรากฏการณ์ของแสง เสยี ง และวงจรไฟฟ้า คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรงั สีและปฏกิ ริ ยิ านิวเคลียร์ ปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างสารและ พลงั งานการอนรุ ักษ์พลังงาน ผลของการใชพ้ ลงั งานต่อชวี ิตและสงิ่ แวดล้อม กระบวนการเปลยี่ นแปลงของโลก โครงสรา้ งและองคป์ ระกอบของโลก ทรัพยากรทางธรณี สมบตั ิ ทางกายภาพของดิน หิน น้า อากาศ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ กระบวนการเปล่ยี นแปลงของ เปลอื กโลก ปรากฏการณ์ทางธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลยี่ นแปลงของบรรยากาศ
ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ วิวัฒนาการของระบบสุรยิ ะ กาแล็กซี เอกภพ ปฏสิ ัมพันธ์และผลต่อ สิ่งมชี ีวิตบนโลก ความสมั พนั ธ์ของดวงอาทติ ย์ ดวงจนั ทร์ และโลก ความสาคัญของเทคโนโลยอี วกาศ ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปญั หา และจิตวิทยาศาสตร์ คณุ ภาพผเู้ รยี น จบชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๖ 1. ส่อื สารความคิด ความรู้จากผลการสารวจตรวจสอบโดยการพดู เขียน จัดแสดง หรอื ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 2. ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดารงชีวิต การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทา โครงงานหรอื สรา้ งช้นิ งานตามความสนใจ 3. แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบและซ่ือสัตย์ในการสืบเสาะหาความรู้ โดยใช้ เครอื่ งมือและวธิ กี ารทใี่ ห้ไดผ้ ลถูกต้องเชอ่ื ถือได้ 4. ตระหนกั ในคณุ คา่ ของความรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีทใ่ี ชใ้ นชีวติ ประจาวัน การประกอบอาชีพ แสดงถงึ ความช่ืนชม ภูมิใจ ยกย่อง อา้ งอิงผลงาน ช้ินงานทเ่ี ปน็ ผลจากภมู ิปัญญาท้องถนิ่ และการ พฒั นาเทคโนโลยที ่ีทนั สมยั 5. แสดงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมอย่างรู้คุณ ค่า เสนอตัวเองร่วมมือปฏิบัติกับชุมชนในการป้องกัน ดูแล ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมของทอ้ งถิ่น 6. แสดงถึงความพอใจ และเหน็ คุณค่าในการคน้ พบความรู้ พบคาตอบ หรอื แก้ปัญหาได้ 7. ทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผลประกอบ เก่ียวกับผลของการพัฒนาและการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคมและ สิง่ แวดลอ้ ม และยอมรับฟังความคดิ เห็นของผ้อู ่นื คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข และมีความเป็นไทย มี ศักยภาพในการศึกษาตอ่ การประกอบอาชพี โรงเรียนจึงกาหนดคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของผู้เรียนให้ สอดคล้องกับความต้องการ สภาพปัญหาและความจาเป็นของผู้เรียน และชุมชน เพื่อให้สามารถอยู่ ร่วมกบั ผ้อู ื่นในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดงั น้ี ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซอื่ สัตยส์ จุ รติ ๓. มวี นิ ยั ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อยา่ งพอเพียง ๖. มุง่ มนั่ ในการทางาน ๗. รกั ความเปน็ ไทย ๘. มีจติ สาธารณะ
การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และ เขยี น หมายถงึ ความสามารถของผู้เรียนในการอา่ นหนังสอื เอกสาร เปา้ หมาย : เพอื่ ให้นกั เรยี น ๑. สามารถอ่านเพ่ือหาขอ้ มูลสารสนเทศเสรมิ ประสบการณ์จากสอ่ื ประเภทต่างๆ ๒. สามารถจับประเด็นสาคัญ เปรยี บเทียบ เชื่อมโยงความเปน็ เหตุเปน็ ผลจากเรือ่ งทอ่ี า่ น ๓. สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเร่อื งราวเหตุการณข์ องเรอ่ื งทอี่ า่ น ๔. สามารถแสดงความคิดเห็นตอ่ เร่ืองที่อา่ นโดยมีเหตผุ ลสนบั สนุน ๕. สามารถถ่ายทอดความเข้าใจความคิดเห็นคุณคา่ จาก เรอ่ื งท่อี ่านโดยการเขียน สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน นักเรยี นในปัจจุบนั ตกอยภู่ ายใตส้ ่ิงแวดล้อมทที่ าใหม้ พี ฤตกิ รรมที่เปน็ ปัญหา ขณะเดียวกนั ก็มี สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน หลักสตู รโรงเรียนแม่เมาะวิทยา ไดจ้ ัดการเรียนการสอนท่ี มุ่งเน้นใหผ้ ู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดงั นี้ ๑. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรอง เพ่ือขจัดและลดปญั หาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรบั หรอื ไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความ ถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการส่ือสาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและ สังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพอ่ื การตัดสินใจเกยี่ วกับตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปญั หาและอปุ สรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญ ได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสมบนพน้ื ฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกัน และแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคม และสง่ิ แวดล้อม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การดาเนินชวี ิตประจาวัน การเรยี นรู้ด้วยตนเอง การเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เน่ือง การทางาน และการอยู่ร่วมกัน ในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จัก หลกี เลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงคท์ ่ีส่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อนื่ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้าน ต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การ สือ่ สาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมคี ุณธรรม
ตารางวเิ คราะห์มาตรฐาน/หรอื ผลการเรยี นรูเ้ พอื่ จัดทาคาอธบิ ายรายวิชา รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี (รายวิชาพ้นื ฐาน) รหสั วิชา ว๓๑๑๘๒ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ชัว่ โมง ที่ ตวั ช้วี ดั / ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ/ กระบวนการ คุณลกั ษณะ ว 4.1 ม วิเคราะห์แนวคดิ หลกั ของ (K) (P) (A) 4/1 เทคโนโลยี ความสัมพันธก์ ับศาสตร์ อื่นโดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ วิเคราะห์แนวคดิ หลกั ของ ประเมนิ ผล ว 4.1 ม คณิตศาสตร์ รวมทัง้ ประเมนิ ผล เทคโนโลยี ความสัมพันธ์ กระทบที่จะ กระทบท่ีจะเกดิ ขึน้ ต่อมนษุ ย์ สังคม เกิดข้นึ ต่อมนษุ ย์ 4/2 เศรษฐกิจ และส่ิงแวดล้อม เพือ่ กับศาสตรอ์ ื่น สงั คม เศรษฐกจิ และส่งิ แวดลอ้ ม เปน็ แนวทางในการพัฒนา ระบปุ ญั หาหรอื ความ เพ่ือเป็นแนวทาง เทคโนโลยี ต้องการท่ีมีผลกระทบตอ่ ในการพฒั นา สังคม รวบรวม วเิ คราะห์ เทคโนโลยี ระบปุ ัญหาหรือความตอ้ งการ ขอ้ มูลและแนวคิดที่ สงั เคราะห์ ทม่ี ีผลกระทบต่อสงั คม เกี่ยวขอ้ งกับปญั หาท่ีมี วธิ ีการ รวบรวม วเิ คราะหข์ อ้ มูลแล ความซับซ้อน เทคนิคใน แนวคดิ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั ปัญหาที่ การ มีความซบั ซอ้ นเพอ่ื สงั เคราะห์ แกป้ ัญหา วธิ ีการ เทคนิคในการ โดยคานึงถึง แกป้ ัญหา โดยคานึงถึงความ ความถูกตอ้ ง ถูกตอ้ งดา้ นทรัพยส์ ินทาง ดา้ น ปัญญา ทรัพยส์ ิน ทางปัญญา ออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหา วิเคราะห์เปรยี บเทียบ .ออกแบบวิธกี าร โดย และตัดสนิ ใจเลือกขอ้ มลู ท่ี แก้ปัญหา จาเป็นภายใตเ้ ง่ือนไขและ วเิ คราะหเ์ ปรียบเทียบ และ นาเสนอแนวทางการ ตดั สินใจเลือกขอ้ มูลทจ่ี าเป็น ทรพั ยากรที่มีอยู่ แกป้ ัญหาให้ผอู้ ื่น ภายใตเ้ งอ่ื นไขและทรัพยากร เขา้ ใจด้วยเทคนคิ หรอื ว 4.1 ม วธิ กี ารท่ีหลากหลาย ที่ วางแผนข้นั ตอน การ 4/3 มีอยู่ นาเสนอแนวทางการ ทางานและดาเนินการ แกป้ ญั หา แกป้ ัญหาใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจดว้ ย เทคนิคหรือวธิ ีการที่ หลากหลาย โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์ ช่วยในการออกแบบ วางแผน
ข้นั ตอน การทางานและ ทดสอบ ประเมนิ ผล หาแนวทางการ ดาเนินการแกป้ ัญหา วิเคราะหแ์ ละใหเ้ หตผุ ล ปรับปรงุ แก้ไข และ ทดสอบ ประเมินผล วเิ คราะห์ และใหเ้ หตุผลของปัญหาหรือ ของปญั หาหรือ นาเสนอผลการ ขอ้ บกพร่องทเ่ี กิดข้ึนภายใต้ ขอ้ บกพร่องทีเ่ กดิ ข้ึน แก้ปญั หา พรอ้ มท้งั ว 4.1 ม กรอบเงือ่ นไข หาแนวทางการ เสนอแนวทางการ 4/4 ปรับปรุงแกไ้ ข และนาเสนอ ภายใตก้ รอบเงื่อนไข พฒั นาต่อยอด ผล ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง การแกป้ ัญหา พรอ้ มท้งั เสนอ ใช้ความรู้และทักษะ เหมาะสม และ แนวทางการพฒั นาตอ่ ยอด เก่ียวกับวัสดุ ปลอดภัย ใช้ความรู้และทกั ษะ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เก่ียวกับ กลไก ไฟฟ้า และ อิเลก็ ทรอนิกส์ และ วสั ดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เทคโนโลยที ซ่ี บั ซอ้ นใน กลไก ไฟฟ้า และ การแก้ปัญหาหรือ ว 4.1 ม อิเล็กทรอนิกส์ และ พัฒนางาน 4/5 เทคโนโลยี ทซ่ี บั ซอ้ นในการแกป้ ัญหา หรือ พฒั นางาน ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั
โครงสร้างรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.4 เวลา ( 20 ชั่วโมง) ลาดับท่ี ชือ่ หนว่ ยการ มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เวลา คะแนน เรยี นรู้ ตัวช้วี ดั (ช่ัวโมง) 15 1 ระบบทาง ว 4.1 ม.4/1 เทคโนโลยมี อี งคป์ ระกอบสาคญั 5 ส่วน เทคโนโลยี ซึ่งแตล่ ะสว่ นมีความสัมพันธเ์ กี่ยวขอ้ ง 15 กัน เรียกว่า ระบบเทคโนโลยี ประกอบ ไปด้วยตัวป้อน (input) กระบวนการ 5 30 (process) ผลผลิต (outcome) หรอื 20 80 ผลลพั ธ์ (output) ทรพั ยากรทาง 20 เทคโนโลยี (resources) ปัจจัยท่ีขัดขวาง 100 (constraints) เทคโนโลยีมกี ารเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา ตง้ั แตอ่ ดีตจนถงึ ปจั จบุ ัน ซง่ึ มีสาเหตุหรอื ปัจจัยมาจากหลายด้าน เชน่ ปญั หา ความต้องการ ความก้าวหนา้ ของ ศาสตรต์ า่ ง ๆ เศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม สิง่ แวดล้อม 2 กระบวนการเชงิ ว 4.1 ม.4/2 กระบวนการออกแบบทาง วิศวกรรม ว 4.1 ม.4/3 วศิ วกรรม เปน็ กระบวนการคิด ว 4.1 ม.4/4 สร้างสรรค์เทคโนโลยีท่ีเปน็ ระบบ ว 4.1 ม.4/5 เนน้ การทาซ้า เพือ่ หาทางออกท่ี ตอบโจทย์ความต้องการของมนุษย์ 5 ประกอบไปด้วยตัวปอ้ น (input) กระบวนการ (process) ผลลพั ธ์ (output) และผลสะทอ้ น (feedback) 3 ผลงานออกแบบ ว 4.1 ม.4/2 การสร้างผลงานออกแบบและ 10 และเทคโนโลยี ว 4.1 ม.4/3 เทคโนโลยีหรือพัฒนาโครงงาน ว 4.1 ม.4/4 ควรคานงึ ถึงการเลือกใช้วัสดุแต่ละ ว 4.1 ม.4/5 ประเภทมสี มบัตแิ ตกตา่ งกัน ทดสอบกลางภาคเรยี น รวมคะแนนระหวา่ งเรยี น ทดสอบปลายภาคเรยี น รวม 20
โครงสร้างการวัดผลประเมินผล รายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออ ท่ี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนร้/ู เวลา คะแนน รวม ตัวช้ีวดั (ช.ม.) ผลสมั ฤทธ์ิ คะแน ผลการเรยี นรู้ KPA 1 ระบบทางเทคโนโลยี ว 4.1 ม.4/1 5 10 5 15 2 กระบวนการเชงิ วศิ วกรรม ว 4.1 ม.4/2 5 10 5 15 ว 4.1 ม.4/3 ว 4.1 ม.4/4 ว 4.1 ม.4/5 3 ผลงานออกแบบและเทคโนโลยี ว 4.1 ม.4/2 10 10 15 5 30 ว 4.1 ม.4/3 ว 4.1 ม.4/4 ว 4.1 ม.4/5 สอบกลางภาคเรยี น - - - 20 คะแนนระหว่างเรียน 80 สอบปลายภาคเรยี น - - - 20 รวม 20 - - - 100 รวม 100
อกแบบและเทคโนโลย)ี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 20 ช่วั โมง ม อา่ น คดิ วเิ คราะห์ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสาคัญ และเขียน (ข้อท)ี่ (ขอ้ ท)่ี นน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ 5 11 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 5 11 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 11 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0 0 33 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ระบบทางเทคโนโลยี เวลา 5 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ัด ว 4.1 เขา้ ใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้ และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหา หรือ พัฒนางานอย่างมี ความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานึง ผลกระทบตอ่ ชวี ิต สงั คม และส่งิ แวดลอ้ ม ว 4.1 ม.4/1 วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ รวมท้ังประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และ สง่ิ แวดลอ้ ม เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยี 2. สาระการเรยี นรู้ 1) ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุ่มของส่วนต่างๆ ตั้งแตส่ องส่วนข้ึนไปประกอบเข้าดว้ ยกนั และทางานรว่ มกัน เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยในการทางานของระบบเทคโนโลยีจะประกอบไปด้วย ตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลติ (output) ทส่ี มั พันธ์กนั นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยีอาจมีข้อมูล ย้อนกลับ (feedback) เพื่อใช้ปรับปรุงการทางานได้ตามวัตถุประสงค์ โดยระบบทางเทคโนโลยีอาจมี ระบบย่อยหลายระบบ (sub-systems) ที่ทางานสมั พนั ธ์กนั อยู่ และหากระบบยอ่ ยใดทางานผดิ พลาดจะ สง่ ผลตอ่ การทางานของระบบอื่นด้วย 2) เทคโนโลยีมีการเปลย่ี นแปลงตลอดเวลาต้ังแต่อดตี จนถงึ ปัจจบุ ัน ซึ่งมีสาเหตหุ รือปัจจัยมาจากหลายดา้ น เชน่ ปญั หา ความตอ้ งการ ความก้าวหนา้ ของศาสตรต์ ่างๆ เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม สิง่ แวดล้อม 3. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เทคโนโลยี เปน็ องคป์ ระกอบของหลายสว่ นท่ีถูกออกแบบให้ทางานร่วมกัน สว่ นระบบทางเทคโนโลยี เปน็ กลุ่ม ของส่วนต่าง ๆ ต้ังแต่สองส่วนขึ้นไปประกอบเข้าด้วยกันและทางานร่วมกัน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยในการ ทางานของระบบเทคโนโลยีจะประกอบไปด้วย ตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ที่ สัมพันธ์กัน นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยีอาจมีข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพื่อใช้ปรับปรุงการทางานได้ตาม วัตถปุ ระสงค์ โดยระบบทางเทคโนโลยอี าจมรี ะบบยอ่ ยหลายระบบ (sub-systems) ท่ีทางานสัมพันธ์กันอยู่ และหาก ระบบยอ่ ยใดทางานผดิ พลาดจะส่งผลตอ่ การทางานของระบบอนื่ ด้วย 4. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี นและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มีวนิ ัย รบั ผิดชอบ 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้ 1) ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ 3. มุง่ มนั่ ในการทางาน 2) ทกั ษะการคิดอยา่ งสรา้ งสรรค์ 3) ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 5. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) 1. ใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง ความสัมพันธข์ องวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์กบั เทคโนโลยี 2. ใบงานท่ี 1.2 เรื่อง ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยี 3. PowerPoint เรือ่ ง ความสมั พนั ธข์ องเทคโนโลยีกับศาสตร์อน่ื ๆ 4. PowerPoint เรือ่ ง การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 5. แผนผงั ความคดิ เรื่อง การทางานของระบบเทคโนโลยี 6. ผงั มโนทศั น์ เรอ่ื ง สาเหตขุ องการเปล่ียนแปลงเทคโนโลยี
6. การวัดและการประเมินผล วธิ วี ัด เครอื่ งมอื เกณฑก์ าร ประเมนิ รายการวดั แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2 ช้ินงาน/ ภาระงาน ผา่ นเกณฑ์ 6.1 การประเมินช้ินงาน/ - ตรวจ แบบทดสอบกอ่ น ประเมนิ ตาม ภาระงาน (รวบยอด) PowerPoint เรียน สภาพจรงิ - ตรวจแผนผงั - ใบงานที่ 1.1 รอ้ ยละ 60 ผา่ น เกณฑ์ ความคิด - ใบงานท่ี 1.2 ร้อยละ 60 ผา่ น เกณฑ์ - ตรวจผังมโนทัศน์ - ผลงานท่นี าเสนอ ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ 6.2 การประเมินก่อนเรยี น ตรวจแบบทดสอบ - แบบสังเกต ระดบั คุณภาพ 2 พฤติกรรม การ ผ่านเกณฑ์ - แบบทดสอบก่อนเรียน กอ่ นเรียน ทางานรายบุคคล ระดบั คุณภาพ 2 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์ พฤตกิ รรมการ เรือ่ ง ระบบทางเทคโนโลยี ทางานกลมุ่ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ 6.3 การประเมินระหว่างการจดั กจิ กรรม - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ ร้อยละ 60 ผา่ น 1) ความสมั พันธ์ของวทิ ยาศาสตร์และ อันพงึ ประสงค์ เกณฑ์ คณติ ศาสตร์กบั เทคโนโลยี - ตรวจใบงานที่ 1.1 แบบทดสอบหลัง เรยี น 2) ผลกระทบจากการใชเ้ ทคโนโลยี - ตรวจใบงานท่ี 1.2 3) การนาเสนอผลงาน - ประเมนิ การ 4) พฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล นาเสนอ ผลงาน 5) พฤติกรรมการทางานกลมุ่ - สงั เกตพฤติกรรม การทางาน รายบคุ คล - สังเกตพฤตกิ รรม การทางานกลุม่ 6) คณุ ลกั ษณะ - สังเกตความมวี ินยั อันพงึ ประสงค์ รบั ผิดชอบ ใฝ่ เรยี นรู้ และม่งุ ม่นั 6.4 การประเมินหลังเรยี น ในการทางาน - แบบทดสอบหลังเรยี น ตรวจแบบทดสอบ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 หลังเรียน เร่อื ง ระบบทางเทคโนโลยี 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้
เรอื่ งท่ี 1 : ความสัมพันธข์ องวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์กบั เทคโนโลยี เวลา 2 ชั่วโมง วธิ สี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) เวลา 3 ช่ัวโมง เรื่องท่ี 2 : การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยแี ละระบบทางเทคโนโลยี วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) 8. สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 ส่อื การเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.4 หน่วยการเรยี นที่ 1 ระบบทางเทคโนโลยี 2) ใบงานที่ 1.1 เรือ่ ง ความสัมพนั ธ์ของวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตรก์ ับเทคโนโลยี 3) ใบงานที่ 1.2 เร่ือง ผลกระทบจากการใชเ้ ทคโนโลยี 4) PowerPoint เร่อื ง ความสมั พนั ธข์ องวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตรก์ ับเทคโนโลยี 5) PowerPoint เร่อื ง การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี 8.2 แหลง่ เรยี นรู้ 1) หอ้ งเรยี น 2) ห้องสมดุ 3) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ แบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 คาชแี้ จง : ให้นกั เรียนเลือกคาตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว
1. ศาสตร์ท่ีทาให้เกดิ ผ้สู ร้างเทคโนโลยจี ากธรรมชาติ 6. การอยูร่ ว่ มกนั ขององค์ประกอบต่างๆ ทางาน เพ่อื ตอบสนองความตอ้ งการของมนษุ ย์ สมั พันธ์กัน เพ่อื บรรลุเป้าหมาย คือส่วนใด 1. วิทยาศาสตร์ 2. มนุษยศ์ าสตร์ 1. ตวั ป้อน 2. กระบวนการ 3. คณติ ศาสตร์ 4. สงั คมศาสตร์ 3. ผลผลิต 4. ระบบ 5. วศิ วกรรมศาสตร์ 5. ระบบยอ่ ย 2. การวิเคราะหค์ วามต้องการ และเสนอแนวทาง 7. การผลิตรถยนตไ์ ฮบรดิ ช่วยสง่ เสริมใหเ้ กดิ แกป้ ัญหา เปน็ ความสัมพันธเ์ ทคโนโลยกี บั ศาสตร์ใด ประโยชนจ์ ากการใช้เทคโนโลยดี า้ นใดมากที่สุด 1. วทิ ยาศาสตร์ 2. ศลิ ปศาสตร์ 1. การปฏิวตั ิอตุ สาหกรรม 3. มนุษยศ์ าสตร์ 4. คณติ ศาสตร์ 2. การผลิตใหม้ ีคุณภาพและมาตรฐาน 5. วิศวกรรมศาสตร์ 3. ลดมลภาวะในสิ่งแวดล้อม 3. การออกแบบของเล่นเดก็ ให้มีสีสนั สวยงาม 4. การตลาดของผลผลิต ยอดจาหนา่ ยสูงข้นึ การออกแบบโทรศพั ท์เคลอื่ นที่ให้มรี ูปทรงท่พี กพา 5. ประหยัดต้นทุน แรงงาน เพิม่ ผลตอบแทน สะดวกมีความสมั พนั ธก์ ับศาสตรใ์ นขอ้ ใด 8. เม่ือมีการปฏวิ ตั ิอุตสาหกรรมทาใหเ้ กิดการว่างงาน 1. วทิ ยาศาสตร์ 2. ศิลปศาสตร์ ส่งผลกระทบต่อด้านใดมากท่ีสุด 3. คณติ ศาสตร์ 4. สังคมศาสตร์ 1. มนุษยแ์ ละสังคม 2. เศรษฐกิจ 5. วิศวกรรมศาสตร์ 3. สงิ่ แวดล้อม 4. ความปลอดภัย 4. องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยี มอี ะไรบา้ ง 5. วัฒนธรรม 1. ตวั ปอ้ น กระบวนการ ผลลพั ธ์ 9. ข้อใดเป็นผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยีต่อมนุษย์ 2. ตัวป้อน กระบวนการ ปัจจยั เออ้ื ทรัพยากร และสังคมโดยตรง 3. ตัวป้อน กระบวนการ ผลลพั ธ์ ทรพั ยากร 1. การปฏิสมั พันธก์ นั ระหวา่ งมนษุ ย์ 4. ตัวปอ้ น กระบวนการ ปัจจัยเออ้ื ผลลัพธ์ 2. มโี รงงานอตุ สาหกรรมเพมิ่ มากข้นึ 5. ตัวป้อน กระบวนการ ผลลัพธ์ ทรัพยากร 3. การว่างงานเนื่องจากเครือ่ งจักรกล ปจั จัยเอือ้ หรือปจั จยั ขัดขวาง 4. มลภาวะทางน้า อากาศเปน็ พิษ 5. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ 5. ค่านยิ มในการใช้เทคโนโลยเี ปลย่ี นไป ก. ขอ้ มูลย้อนกลับเปน็ สิ่งจาเป็น 10. ปัจจุบนั การขายของออนไลน์เป็นทนี่ ยิ ม เน่ืองจาก ข. ระบบมคี วามซับซ้อน สาเหตกุ ารเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยีด้านใด ค. เหมาะกับงานทตี่ ้องการความแม่นยา 1. ความตอ้ งการ 2. เศรษฐกิจและสงั คม ง. ตน้ ทนุ ตา่ ประหยัดคา่ ใช้จา่ ย 3. วัฒนธรรม 4. ส่งิ แวดล้อม ขอ้ ใดถูกต้องเกี่ยวกับลกั ษณะของระบบปดิ 5. ความก้าวหนา้ ของวิทยาการ 1. ก เทา่ นัน้ 2. ก และ ข 3. ค และ ง 4. ก ข และ ค 5. ข ค และ ง เฉลย 1. 5 2. 3 3. 2 4.แ1บบทด5.ส4อบหล6ัง. เ4รยี น 7. 3 8. 2 9. 1 10. 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว
1. ศาสตร์ท่ีทาให้เกิดผสู้ ร้างเทคโนโลยจี ากธรรมชาติ 6. การอย่รู ่วมกนั ขององค์ประกอบต่างๆ ทางาน เพื่อตอบสนองความตอ้ งการของมนษุ ย์ สมั พันธก์ ัน เพอ่ื บรรลเุ ป้าหมาย คอื ส่วนใด 1. วทิ ยาศาสตร์ 2. มนุษย์ศาสตร์ 1. ตัวป้อน 2. กระบวนการ 3. คณิตศาสตร์ 4. สังคมศาสตร์ 3. ผลผลิต 4. ระบบ 5. วิศวกรรมศาสตร์ 5. ระบบย่อย 2. การวิเคราะหค์ วามต้องการ และเสนอแนวทาง 7. การผลติ รถยนต์ไฮบรดิ ชว่ ยสง่ เสรมิ ใหเ้ กิด แก้ปญั หา เป็นความสมั พนั ธเ์ ทคโนโลยกี ับศาสตร์ใด ประโยชนจ์ ากการใชเ้ ทคโนโลยีด้านใดมากท่ีสุด 1. วิทยาศาสตร์ 2. ศิลปศาสตร์ 1. การปฏิวตั ิอตุ สาหกรรม 3. มนุษย์ศาสตร์ 4. คณติ ศาสตร์ 2. การผลิตให้มคี ุณภาพและมาตรฐาน 5. วิศวกรรมศาสตร์ 3. ลดมลภาวะในสิ่งแวดล้อม 3. การออกแบบของเลน่ เด็กให้มีสีสันสวยงามการ 4. การตลาดของผลผลิต ยอดจาหนา่ ยสงู ขน้ึ ออกแบบโทรศพั ทเ์ คลอื่ นที่ให้มรี ูปทรงทพ่ี กพา 5. ประหยดั ต้นทุน แรงงาน เพม่ิ ผลตอบแทน สะดวกมคี วามสมั พนั ธก์ ับศาสตร์ในขอ้ ใด 8. เม่ือมีการปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรมทาให้เกิดการว่างงาน 1. วิทยาศาสตร์ 2. ศลิ ปศาสตร์ สง่ ผลกระทบตอ่ ด้านใดมากท่ีสุด 3. คณิตศาสตร์ 4. สังคมศาสตร์ 1. มนุษย์และสังคม 2. เศรษฐกิจ 5. วศิ วกรรมศาสตร์ 3. ส่ิงแวดล้อม 4. ความปลอดภยั 4. องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยี มีอะไรบ้าง 5. วฒั นธรรม 1. ตัวปอ้ น กระบวนการ ผลลพั ธ์ 9. ขอ้ ใดเป็นผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยีต่อมนษุ ย์ 2. ตวั ป้อน กระบวนการ ปจั จัยเอ้ือ ทรัพยากร และสังคมโดยตรง 3. ตัวป้อน กระบวนการ ผลลัพธ์ ทรพั ยากร 1. การปฏิสมั พันธ์กนั ระหว่างมนษุ ย์ 4. ตวั ป้อน กระบวนการ ปัจจยั เออ้ื ผลลพั ธ์ 2. มีโรงงานอตุ สาหกรรมเพมิ่ มากขน้ึ 5. ตัวปอ้ น กระบวนการ ผลลัพธ์ ทรพั ยากร 3. การวา่ งงานเนอื่ งจากเครือ่ งจักรกล ปจั จยั เอือ้ หรอื ปัจจัยขัดขวาง 4. มลภาวะทางนา้ อากาศเป็นพิษ 5. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ 5. ค่านยิ มในการใชเ้ ทคโนโลยีเปลีย่ นไป ก. ข้อมลู ย้อนกลับเป็นส่ิงจาเปน็ 10. ปจั จบุ นั การขายของออนไลนเ์ ป็นท่นี ิยม เนือ่ งจาก ข. ระบบมคี วามซบั ซ้อน สาเหตุการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีด้านใด ค. เหมาะกับงานท่ตี ้องการความแมน่ ยา 1. ความต้องการ 2. เศรษฐกิจและสงั คม ง. ตน้ ทุนตา่ ประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ย 3. วัฒนธรรม 4. ส่ิงแวดลอ้ ม ข้อใดถูกตอ้ งเกย่ี วกับลกั ษณะของระบบปดิ 5. ความก้าวหนา้ ของวิทยาการ 1. ก เทา่ นัน้ 2. ก และ ข 3. ค และ ง 4. ก ข และ ค 5. ข ค และ ง เฉลย 1. 5 2. 3 3. 2 แบ4.บ1ประเม5นิ . ก4ารนา6เส. น4 อผลง7า. น3 8. 2 9. 1 10. 2 คาชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ลงในช่องท่ี ตรงกบั ระดบั คะแนน
ลาดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 ความถูกต้องของเนอ้ื หา 2 ความคิดสร้างสรรค์ 3 วธิ กี ารนาเสนอผลงาน 4 การนาไปใช้ประโยชน์ 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงชือ่ ................................................... ผ้ปู ระเมนิ ............/................./................... เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินเปน็ สว่ นใหญ่ ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ บางสว่ น เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรบั ปรงุ
แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล คาช้แี จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องท่ี ตรงกบั ระดบั คะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเหน็ 2 การยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผู้อ่นื 3 การทางานตามหน้าทท่ี ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย 4 ความมนี ้าใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชื่อ ................................................... ผ้ปู ระเมิน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ ............/.................../................ ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยคร้ัง ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ากวา่ 8 ปรับปรงุ
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ คาชีแ้ จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ลงในชอ่ งที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลาดับท่ี ชอ่ื –สกุล การแสดง การยอมรบั การทางาน ความมนี า้ ใจ การมี รวม ของนกั เรยี น ความคดิ เหน็ ฟังคนอื่น ตามท่ไี ดร้ บั ส่วนรว่ มใน มอบหมาย การปรับปรงุ 15 ผลงานกลมุ่ คะแนน 321321321321321 เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงชอ่ื ................................................... ผ้ปู ระเมิน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ............./.................../............... ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครงั้ ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางครง้ั ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรับปรุง
แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ คาชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อนั พึงประสงคด์ ้าน 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาตไิ ด้ 1.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมท่สี รา้ งความสามคั คปี รองดอง และเป็นประโยชน์ ตอ่ โรงเรียน 1.3 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทางศาสนาท่ีตนนับถือ ปฏบิ ตั ิตามหลกั ศาสนา 1.4 เข้ารว่ มกิจกรรมทีเ่ กยี่ วกับสถาบันพระมหากษัตรยิ ต์ ามทโี่ รงเรยี นจดั ข้ึน 2. ซื่อสตั ย์ สุจรติ 2.1 ให้ขอ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ งและเปน็ จรงิ 2.2 ปฏิบตั ิในสิ่งท่ีถูกตอ้ ง 3. มวี ินยั รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บังคับของครอบครัว มคี วามตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ ง ๆ ในชวี ิตประจาวัน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 รจู้ กั ใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ และนาไปปฏิบตั ไิ ด้ 4.2 รจู้ กั จัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชอื่ ฟงั คาส่ังสอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โตแ้ ยง้ 4.4 ต้ังใจเรยี น 5. อยู่อยา่ งพอเพียง 5.1 ใชท้ รัพย์สนิ และส่งิ ของของโรงเรยี นอย่างประหยัด 5.2 ใชอ้ ปุ กรณก์ ารเรียนอยา่ งประหยดั และรู้คณุ คา่ 5.3 ใช้จา่ ยอยา่ งประหยัดและมีการเกบ็ ออมเงิน 6. มงุ่ มน่ั ในการทางาน 6.1 มคี วามตั้งใจและพยายามในการทางานที่ไดร้ บั มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพ่ือให้งานสาเร็จ 7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มีจิตสานกึ ในการอนรุ กั ษ์วฒั นธรรมและภูมิปญั ญาไทย 7.2 เห็นคณุ ค่าและปฏิบตั ิตนตามวฒั นธรรมไทย 8. มีจติ สาธารณะ 8.1 รู้จักชว่ ยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครูทางาน 8.2 รู้จกั การดูแลรกั ษาทรัพย์สมบตั แิ ละส่ิงแวดล้อมของหอ้ งเรยี นและโรงเรยี น ลงชอ่ื .................................................. ผูป้ ระเมนิ ............/.................../................ เกณฑก์ ารให้คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ พฤติกรรมที่ปฏบิ ัตชิ ัดเจนและสม่าเสมอให้ 3 คะแนน 51–60 ดีมาก 41–50 ดี พฤตกิ รรมทปี่ ฏิบตั ิชัดเจนและบ่อยครง้ั ให้ 2 คะแนน 30–40 พอใช้ พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ัติบางคร้ังให้ 1 คะแนน ตา่ กวา่ 30 ปรับปรงุ
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 ความสัมพนั ธข์ องวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตรก์ บั เทคโนโลยี เวลา 2 ชั่วโมง 1. มาตรฐาน/ตัวชวี้ ัด ว 4.1 ม.4/1 วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์ รวมทั้งประเมินผลกระทบที่เกิดข้ึนตอ่ มนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดล้อม เพ่ือ เปน็ แนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยี 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความสัมพันธข์ องวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตรก์ บั เทคโนโลยีได้ (K) 2. อธบิ ายความสัมพันธเ์ ทคโนโลยีกับศาสตร์อืน่ ๆ ที่ใช้ในชวี ติ ประจาวัน ได้ (P) 3. เหน็ คณุ ประโยชนข์ องการเรียนวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี และตระหนกั ในคณุ ค่าของความร้ทู าง เทคโนโลยีท่ีใช้ในชีวติ ประจาวนั (A) 3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการ เรียนรู้ ท้องถิ่น - ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุ่มของส่วนต่างๆ ตั้งแต่สองส่วนข้ึนไปประกอบเข้าด้วยกันและ พจิ ารณา ทางานร่วมกัน เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ โดยในการทางานของระบบเทคโนโลยีจะประกอบ ตาม ไปด้วย ตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ที่สัมพันธ์กัน หลกั สตู ร นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยีอาจมีข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพื่อใช้ปรับปรุงการทางาน ของ ไดต้ ามวตั ถุประสงค์ โดยระบบทางเทคโนโลยอี าจมีระบบย่อยหลายระบบ (sub-systems) ท่ี สถานศึกษา ทางานสมั พนั ธก์ ันอยู่ และหากระบบย่อยใดทางานผดิ พลาดจะส่งผลต่อการทางานของระบบ อน่ื ดว้ ย 4. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุ่มของส่วนต่างๆ ต้ังแต่สองส่วนข้ึนไปประกอบเข้าด้วยกันและทางานร่วมกัน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยในการทางานของระบบเทคโนโลยีจะประกอบไปด้วย ตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ที่สัมพันธ์กัน นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยีอาจมีข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพื่อใช้ปรบั ปรงุ การทางานได้ตามวัตถุประสงค์ โดยระบบทางเทคโนโลยีอาจมรี ะบบยอ่ ยหลายระบบ (sub-systems) ท่ที างานสมั พนั ธก์ นั อยู่ และหากระบบยอ่ ยใดทางานผดิ พลาดจะส่งผลต่อการทางานของระบบอื่นด้วย 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี นและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มีวินัย รบั ผิดชอบ 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. ม่งุ ม่ันในการทางาน 1) ทักษะการคิดวิเคราะห์
2) ทักษะการคดิ อย่างสรา้ งสรรค์ 3) ทักษะการคิดอยา่ งเป็นระบบ 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ช่ัวโมงท่ี 1 ขน้ั นา กระตุน้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูพูดคุยซกั ถามนักเรียนเกี่ยวกบั เทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน พรอ้ มทงั้ ให้นกั เรยี นช่วยกันค้นหา วัตถหุ รือ สิ่งของท่ีเกิดจากเทคโนโลยี จากน้ันครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาซักถามเก่ียวกับเทคโนโลยีในการสร้าง วตั ถุท่ีชว่ ยตอบสนองความตอ้ งการในชีวติ ประจาวัน 2. ครูสุ่มนักเรียน 3-4 คน ยกตัวอย่าง สิ่งประดิษฐ์หรือนวัตกรรมท่ีเกิดจากเทคโนโลยีท่ีทันสมัย พร้อมท้ัง บอกว่าองค์ประกอบของแต่ละส่วนของระบบเทคโนโลยี และการออกแบบการทางานเปน็ อยา่ งไร 3. นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน 4. ครูเปิดคลิปเกี่ยวกับ “การประกอบชั้นส่วนจักรยาน” พร้อมท้ังถามคาถามกระตุ้นความคิดว่า จักรยาน เป็นเทคโนโลยีหรือไม่ ต้องใช้ความรู้ศาสตร์ใดบ้างจงึ มีคณุ สมบัติท่ีเหมาะกับการใช้งานและความต้องการ แล้วใหน้ ักเรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นและตอบคาถาม (แนวตอบ : จักรยานเป็นเทคโนโลยี ซ่ึงเป็นเทคโนโลยีย่อยมาประกอบกัน ต้องใช้ความรู้พืน้ ฐานทางด้าน วิทยาศาสตร์ การเคลอ่ื นท่ี ความยืดหยุ่น และคณติ ศาสตร์ช่วยสร้างอปุ กรณท์ ม่ี ีความทนทาน เป็นต้น ) 5. นักเรียนร่วมกันสรุปความคิด พร้อมท้ังมีครูช่วยอธิบายเสริม เก่ียวกับเทคโนโลยี เป็นองค์ประกอบของ หลายส่วน ถูกออกแบบให้ทางานร่วมกัน โดยองค์รวมของสรรพส่ิงที่มีการสร้างความสัมพันธ์ต่อกันเพื่อ เปา้ หมายคือระบบทางเทคโนโลยี ขัน้ สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 – 4 คน สืบค้นข้อมูลจากหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี(การ ออกแบบและเทคโนโลยี) ม.4 หน้า 3 พร้อมท้ังสบื คน้ คลิปเก่ียวกบั ทนุ่ ลอยส่งสญั ญาณผิวทะเล แลว้ ให้สมาชิก แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาจากคลิปตัวอย่างที่แต่ละกลุ่มเลือกมา โดยศึกษาความสัมพันธ์ของวิทยาศาสตร์กับ เทคโนโลยี 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายข้อมูลท่ีสืบค้นได้ภายในกลุ่ม แล้วร่วมกันสรุปลงในกระดาษ A4 แล้ว นามาสง่ ครเู พื่อให้ครูตรวจสอบความถกู ตอ้ ง 3. ครูตั้งคาถาม แลว้ สุ่มตวั แทนแต่ละกลมุ่ ตอบคาถาม ดงั น้ี ทนุ่ ลอยสง่ สญั ญาณผิวทะเล สร้างข้นึ เพื่ออะไร
(แนวตอบ : ชว่ ยแกป้ ัญหาและสนองความจาเป็นและความต้องการของมนษุ ย์) หลักการในการสรา้ ง ทนุ่ ลอยสง่ สญั ญาณผิวทะเล (แนวตอบ :มนุษย์เรียนรู้ภัยพิบัติ ด้วยหลักการวิทยาศาสตร์และหาทางป้องกันภัยสึนามิ จาก ปรากฏการณ์ธรรมชาติ มนุษย์จึงคิดค้นเครื่องมือที่ใช้เตือนภัยโดยอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และเทคโนโลยี มาประดิษฐ์อุปกรณ์ทางเทคโนโลยขี ึน้ ) ยกตวั อย่างอปุ กรณ์ทางเทคโนโลยีอนื่ ๆ ในชวี ิตประจาวนั ท่ีชว่ ยแก้ปญั หาภยั พิบัตทิ างธรรมชาติ (แนวตอบ : อุปกรณ์เตอื นการเกดิ แผ่นดินไหว อปุ กรณ์สง่ สญั ญาณอุทกภยั เปน็ ตน้ ) 4. นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายสรปุ เก่ียวกบั ความสมั พนั ธ์ของวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์กบั เทคโนโลยี ชั่วโมงท่ี 2 ข้ันสอน (ต่อ) สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 3 – 4 คน ร่วมกันสืบคน้ ข้อมูลเกยี่ วกบั คลิปภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ พร้อมทั้ง สืบค้นอุปกรณ์ทางเทคโนโลยีท่ีช่วยแก้ปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติน้ัน (โดยแต่ละกลุ่มห้ามซ้ากัน) แล้ว รว่ มกันอภปิ รายเก่ียวกบั ขอ้ มูลท่ีสืบคน้ ไดภ้ ายในกลุ่ม 2. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันสรปุ วธิ กี ารใชเ้ ทคโนโลยีมาชว่ ยในการแกป้ ัญหาภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ 3. ครูตง้ั คาถามให้นกั เรยี นช่วยกันตอบ ดังน้ี วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตรช์ ่วยทาให้เข้าใจธรรมชาติได้อยา่ งไร (แนวตอบ : 1. ใช้ฐานความรู้เดิมต่อยอดไปสู่ความรู้ใหม่ 2. มนุษยป์ ระสานพลังความคดิ ของตนเองเพ่อื สร้างสองศาสตร์นี้ 3. ใชป้ ระสานเช่ือมโยงธรรมชาตกิ ับธรรมชาติเพอ่ื เขา้ ใจธรรมชาติอยา่ งลึกซึง้ ) ความรจู้ ากศาสตรใ์ ดบา้ ง ทาใหเ้ กิดเทคโนโลยี (แนวตอบ : วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ เป็นต้น) เทคโนโลยีที่สรา้ งส่งผลต่อการดาเนนิ ชีวิตอยา่ งไร (แนวตอบ : การแสวงหาความรู้ อานวยความสะดวกสบายในชีวติ ประจาวนั เปน็ ตน้ ) อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูตั้งคาถามให้นักเรียนช่วยกันหาคาตอบว่า นักเรียนรู้หรือไม่ว่า การสร้างอุปกรณ์เทคโนโลยีมี ความสัมพันธ์กับศาสตร์อ่ืนๆ มีอะไรบ้าง อย่างไร (แนวตอบ : 1. วิทยาศาสตร์ โดยใช้ความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรม์ าชว่ ยออกแบบการสร้างอุปกรณ์ทางเทคโนโลยี 2. คณิตศาสตร์ โดยใชป้ ระกอบในการสรา้ งแบบจาลอง 3. วิศวกรรมศาสตร์ สรา้ งเทคโนโลยีจากธรรมชาติ เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของมนษุ ย์ 4. มนุษย์ศาสตร์ ช่วยวิเคราะห์ความต้องการ สื่อสารความต้องการให้ผู้อื่นเข้าใจ และเสนอ แนวทางแก้ปัญหา
5. สังคมศาสตร์ ทาให้มนุษย์ตระหนักถึงหน้าท่ีความรับผิดชอบต่อสังคมโดยใช้เทคโนโลยีให้ เหมาะสม มองเหน็ ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยตี อ่ สงั คม สิง่ แวดล้อม และวัฒนธรรม) 2. ครูให้นักเรียนรวมกลุ่มเดิม ศึกษาค้นคว้าคลิปตัวอย่างที่กลุ่มตัวเองสนใจ อภิปรายร่วมกันเพื่อหา ข้อสรุป แล้วจัดทาเป็น PowerPoint พร้อมท้ังอธิบายตามประเด็นที่กาหนดให้ ดังน้ี อุปกรณ์หรือเทคโนโลยีท่ีสนใจ หลักการทางานของอุปกรณ์น้ัน ความสมั พนั ธ์กับเทคโนโลยกี ับศาสตร์ใดบ้าง อยา่ งไร 3. นักเรยี นแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอความร้เู ร่อื ง ความสัมพนั ธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตรอ์ ่นื ๆ ขณะทนี่ กั เรียน แตล่ ะกลุม่ นาเสนอใหค้ รคู อยแนะนาและเสรมิ ข้อมลู ทถี่ กู ต้องใหน้ กั เรยี น 4. ครูอธิบายเพิ่มเติมเก่ียวกับการสร้างเทคโนโลยี ดังนี้ วศิ วกรเป็นผู้สร้างเทคโนโลยี โดยใช้คณิตศาสตร์เป็น เคร่ืองมือในการแทนปรากฏการณ์ธรรมชาติและหลักการวิทยาศาสตร์ จากน้ันเขียนออกมาเป็น แบบจาลองทางคณิตศาสตร์ วิศวกรจะใช้ความรู้พัฒนาหลักการข้ึนมาก่อน และใช้คามรู้มาใช้แก้ปัญหา และข้อสรปุ 5. นกั เรียนทากจิ กรรม Design Activity จากหนังสอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน เทคโนโลยี(การออกแบบและ เทคโนโลยี) ม.4 หน้า 6 เสร็จแล้วนาส่งครตู รวจสอบความถูกตอ้ ง ข้นั สรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูเปิด PowerPoint เร่ือง ความสัมพันธ์ของวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์กับเทคโนโลยี ให้นักเรียนดู แล้วให้นกั เรยี นร่วมกันอภิปรายและสรุป ตามประเดน็ ดงั นี้ ความสัมพนั ธข์ องวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตรก์ บั เทคโนโลยี ความสัมพันธ์เทคโนโลยกี ับศาสตร์อ่นื ๆ 2. ครูให้นักเรียนสอบถามเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั เนอื้ หาใน PowerPoint ท่ียังไมเ่ ขา้ ใจ แล้วให้ความรูเ้ พม่ิ เติมในสว่ น น้ัน 3. ครูให้นักเรียนทาใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความสัมพันธ์ของวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์กับเทคโนโลยี เม่ือทา เสรจ็ แลว้ ครูและนักเรียนร่วมกนั เฉลยคาตอบ ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 2. ครูตรวจและประเมินผลใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง ความสมั พนั ธข์ องวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์กับเทคโนโลยี 3. ครตู รวจและประเมินผล PowerPoint เร่ือง ความสมั พนั ธข์ องเทคโนโลยีกับศาสตรอ์ ่ืนๆ 4. ครปู ระเมินผล โดยสังเกตการตอบคาถาม การร่วมกันทาผลงาน และการนาเสนอผลงาน
7. การวดั และประเมนิ ผล รายการวดั วิธีวัด เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมิน 7.1 การประเมนิ ก่อนเรยี น ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบกอ่ นเรียน ประเมนิ ตามสภาพจรงิ - แบบทดสอบก่อนเรียน กอ่ นเรียน หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 เรอื่ ง ระบบทางเทคโนโลยี 7.2 การประเมินระหวา่ งการ จัดกจิ กรรม 1) ความสัมพนั ธ์ของ - ตรวจใบงานที่ 1.1 - ใบงานที่ 1.1 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ วิทยาศาสตร์และ คณติ ศาสตร์กบั เทคโนโลยี 2) การนาเสนอผลงาน - ประเมนิ การนาเสนอ - ผลงานท่ีนาเสนอ ระดบั คุณภาพ 2 ผลงาน ผา่ นเกณฑ์ 3) พฤติกรรมการทางาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 รายบุคคล การทางานรายบุคคล การทางานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ 4) พฤติกรรมการทางานกลมุ่ - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คณุ ภาพ 2 การทางานกลมุ่ การทางานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์ 5) คุณลักษณะ - สงั เกตความมวี ินยั - แบบประเมิน ระดบั คุณภาพ 2 อันพงึ ประสงค์ รับผิดชอบ ใฝ่เรยี นรู้ คุณลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ และมงุ่ มั่นในการ อันพึงประสงค์ ทางาน 8. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.4 2) ใบงานท่ี 1.1 เรือ่ ง ความสัมพนั ธ์ของวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์กบั เทคโนโลยี 3) PowerPoint เรือ่ ง ความสัมพนั ธ์ของวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตรก์ บั เทคโนโลยี
ใบงานที่ 1.1 เรือ่ ง ความสัมพันธข์ องวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์กบั เทคโนโลยี คาชีแ้ จง : เติมข้อความหรือความหมายของคาลงในชอ่ งว่างให้ถูกตอ้ ง 1. เทคโนโลยี คอื 2. วิทยาศาสตรม์ ีความสัมพนั ธ์กับเทคโนโลยี คือ 3. ผ้สู รา้ งเทคโนโลยี คือ วิศวกร เป็นผู้ที่ 4. เน่อื งจากปญั หาการจราจรติดขัดยาวเวลาเทศกาลวนั หยดุ ซึ่งสามารถแกป้ ญั หาดว้ ยการสรา้ งรถไฟความเร็วสงู ที่ว่งิ สู่ตา่ งจงั หวดั จงบอกถึงความสัมพนั ธเ์ ทคโนโลยกี ับศาสตรอ์ ่นื ๆ พร้อมท้งั อธบิ าย เทคโนโลยีกบั วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยกี ับคณติ ศาสตร์ เทคโนโลยีกับมนุษยศ์ าสตร์ การสร้างรถไฟความเร็วสูง ความสมั พนั ธ์เทคโนโลยี กบั ศาสตร์อื่นๆ เทคโนโลยกี ับสงั คมศาสตร์
ใบงานที่ 1.1 เฉลย เร่ือง ความสมั พันธ์ของวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์กับเทคโนโลยี คาชีแ้ จง : เติมข้อความหรอื ความหมายของคาลงในช่องว่างใหถ้ ูกต้อง 1. เทคโนโลยี คือ องคป์ ระกอบของหลายสว่ น ท่ีถูกออกแบบใหท้ างานร่วมกัน............................................................. 2. วิทยาศาสตร์มีความสมั พนั ธ์กับเทคโนโลยี คือ เทคโนโลยเี ป็นการนาความรพู้ ื้นฐานทางวิทยาศาสตรม์ าประยกุ ต์ใช้ ใหเ้ กิดสิ่งใหมๆ่ เพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการของมนุษย์ ดังน้ัน วิทยาศาสตรจ์ ึงเปรยี บเสมือนความรู้ สว่ นเทคโนโลยี เป็นการนาความรมู้ าใช้ใหเ้ กดิ เปน็ ผลผลิตทเ่ี ปน็ รปู ธรรมท่ีสามารถจับต้องได้.............................................................. 3. ผ้สู รา้ งเทคโนโลยี คือ วิศวกร เป็นผู้ท่ี ใชค้ ณติ ศาสตร์เป็นเคร่อื งมอื ในการแทนปรากฎการณ์ทางธรรมชาติและ หลักการทางวิทยาศาสตร์........................................................................................................................................... 4. เน่อื งจากปญั หาการจราจรติดขัดยาวเวลาเทศกาลวันหยุด ซึ่งสามารถแก้ปญั หาด้วยการสร้างรถไฟความเรว็ สูงทว่ี ิง่ สู่ตา่ งจงั หวัด จงบอกถงึ ความสัมพนั ธ์เทคโนโลยกี ับศาสตร์อนื่ ๆ พร้อมทง้ั อธิบาย เทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีกบั คณติ ศาสตร์ เป็นการนาความร้พู ้นื ฐานทางวทิ ยาศาสตร์ เปน็ การใชค้ ณิตศาสตร์มาใช้อธบิ ายความรู้ มาประยกุ ตใ์ ช้ให้เกิดสง่ิ ใหมๆ่ มนุษย์เรยี นรู้ ที่ได้ออกมาเปน็ รูปแบบของกฎและทฤษฎี ปัญหาด้วยหลักการวทิ ยาศาสตร์ และ และเขยี นแบบจาลองทางคณติ ศาสตร์ ปรากฏการณธ์ รรมชาติ..................... การสร้างรถไฟความเร็วสูง ความสมั พนั ธ์เทคโนโลยี กบั ศาสตร์อื่นๆ เทคโนโลยกี ับมนุษยศ์ าสตร์ เทคโนโลยกี บั สงั คมศาสตร์ วเิ คราะหค์ วามตอ้ งการ สือ่ สารและเสนอ เป็นการตระหนกั ถึงหนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบ แนวทางแก้ปัญหาในการสรา้ งรถไฟ อาศยั ต่อสังคมโดยการใช้เทคโนโลยใี หเ้ หมาะสม ทกั ษะการพูด การอ่าน และการเขียน ศกึ ษาผลกระทบการใช้เทคโนโลยีตอ่ สังคม สิ่งแวดลอ้ ม ค่านยิ ม และวัฒนธรรม 9. ความเห็นของผู้บรหิ ารสถานศึกษาหรือผู้ท่ีได้รับมอบหมาย
ขอ้ เสนอแนะ ลงช่ือ (นายเสน่ห์ สายต่างใจ) ผูอ้ านวยการโรงเรียนเกาะคาวทิ ยาคม 10. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน ผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ปญั หา / อุปสรรค ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ แนวทางแกป้ ญั หาO ปกติO วิจัยในช้ันเรยี น ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ลงชอื่ .............................................................. (นางสาวบศุ รนิ เหมทานนท)์ ครูผสู้ อน ข้อคดิ เหน็ ............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ................................................................... (นางสาววราภรณ์ กุณาบุตร) ตาแหน่ง หวั หนา้ งานวิชาการ
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีและระบบทางเทคโนโลยี เวลา 3 ชั่วโมง 1. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ว 4.1 ม.4/1 วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยีความสัมพันธ์กับศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์ รวมท้ังประเมนิ ผลกระทบที่เกิดขึ้นตอ่ มนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดล้อม เพื่อ เปน็ แนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยี 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายความหมายของระบบทางเทคโนโลยีและประยุกตใ์ นชวี ิตประจาวนั ได้ (K) 2. อธิบายการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยที ี่สามารถเชอ่ื มโยงในชีวติ ประจาวนั ได้ (K) 3. อธบิ ายเกี่ยวกับมนุษยศ์ าสตรแ์ ละศลิ ปศาสตรก์ ับเทคโนโลยไี ด้ (P) 4. วิเคราะห์สาเหตุ หรอื ปจั จยั ท่ีสง่ ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยไี ด้ (P) 5. เหน็ คุณประโยชน์ของการเรยี นวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี และตระหนกั ในคุณคา่ ของความรู้ทาง เทคโนโลยที ่ีใช้ในชวี ิตประจาวนั (A) 3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการ เรียนรู้ ทอ้ งถิ่น - ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุ่มของส่วนต่างๆ ต้ังแต่สองส่วนข้ึนไปประกอบเข้าด้วยกันและ พจิ ารณา ทางานร่วมกัน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยในการทางานของระบบเทคโนโลยีจะประกอบ ตาม ไปด้วย ตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ที่สัมพันธ์กัน หลักสูตร นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยีอาจมขี ้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพ่ือใช้ปรับปรงุ การทางาน ของ ได้ตามวัตถุประสงค์ โดยระบบทางเทคโนโลยีอาจมีระบบยอ่ ยหลายระบบ (sub-systems) ท่ี สถานศึกษา ทางานสมั พันธ์กันอยู่ และหากระบบย่อยใดทางานผดิ พลาดจะส่งผลต่อการทางานของระบบ อื่นดว้ ย - เทคโนโลยีมกี ารเปล่ียนแปลงตลอดเวลาต้ังแต่อดตี จนถึงปัจจบุ ัน ซงึ่ มีสาเหตหุ รอื ปจั จัยมาจาก หลายด้าน เช่น ปัญหา ความต้องการ ความก้าวหน้าของศาสตร์ต่างๆ เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม สง่ิ แวดล้อม 4. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุ่มของส่วนต่างๆ ตั้งแต่สองส่วนข้ึนไปประกอบเข้าด้วยกันและทางานร่วมกัน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยในการทางานของระบบเทคโนโลยีจะประกอบไปด้วย ตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ท่ีสัมพันธ์กัน นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยีอาจมีข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพอื่ ใช้ปรบั ปรุงการทางานไดต้ ามวตั ถุประสงค์ โดยระบบทางเทคโนโลยีอาจมรี ะบบย่อยหลายระบบ (sub-systems)
ท่ีทางานสัมพันธ์กันอยู่ และหากระบบย่อยใดทางานผิดพลาดจะส่งผลต่อการทางานของระบบอื่นด้วย และ เทคโนโลยีมีการเปล่ยี นแปลงตลอดเวลาตงั้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซงึ่ มีสาเหตุหรือปจั จัยมาจากหลายด้าน เชน่ ปญั หา ความตอ้ งการ ความก้าวหนา้ ของศาสตร์ต่างๆ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ส่งิ แวดล้อม โดยมนุษยส์ ามารถดัดแปลง ธรรมชาติใหส้ อดคล้องกับความตอ้ งการ เกิดเปน็ พฒั นาการ 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียนและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มวี ินัย รบั ผิดชอบ 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มงุ่ มัน่ ในการทางาน 1) ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ 2) ทกั ษะการคิดอย่างสรา้ งสรรค์ 3) ทกั ษะการคดิ อยา่ งเปน็ ระบบ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. กิจกรรมการเรยี นรู้ แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชว่ั โมงที่ 1 ขัน้ นา กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูเปดิ คลิปการใช้โดรน (เครอ่ื งบินติดกล้อง) ใหน้ ักเรียนดู แลว้ สอบถามนักเรียนว่า “สง่ิ ประดิษฐช์ ้ินนี้คือ อะไร และมีประโยชน์กับนักเรียนหรือไม่ อย่างไร” แล้วครูอธิบายเพ่ิมเติมให้นักเรียนเข้าใจว่า ส่ิงประดิษฐ์ คือ การรวมกันของเทคโนโลยี ย่ิงรวมได้มากสิ่งน้ันย่ิงซับซ้อน ทางานได้หลายอย่างและ แม่นยา จากนัน้ เปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นร่วมกนั สนทนาซกั ถามเกี่ยวกับคลิปการใชโ้ ดรน 2. ครูสุ่มนักเรียน 3 – 4 คน ยกตัวอย่างส่ิงประดิษฐ์ท่ีมีระบบการทางานทางเทคโนโลยีทหี่ ลากหลาย พร้อมทั้ง บอกว่าสิง่ ประดิษฐ์นนั้ เปน็ เทคโนโลยที ่ีช่วยตอบสนองความต้องการในการชวี ิตประจาวันอยา่ งไร ขัน้ สอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 – 4 คน แล้วให้สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาและสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับ ความหมายของระบบทางเทคโนโลยีทซ่ี ับซอ้ น 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายข้อมูลท่ีสืบค้นได้ภายในกลุ่ม แล้วร่วมกันสรุปลงในกระดาษ A4 แล้ว นามาส่งครเู พ่ือให้ครตู รวจสอบความถกู ต้อง 3. ครตู ัง้ คาถาม แลว้ สุม่ ตัวแทนแตล่ ะกลุม่ ตอบคาถาม ดังนี้ ระบบทางเทคโนโลยี คอื อะไร
(แนวตอบ : ระบบ หมายถงึ การอยู่ร่วมกนั ขององค์ประกอบต่างๆ ทางานสัมพันธ์กัน เพ่ือบรรลุ ภารกิจหรอื เปา้ หมาย ) องคป์ ระกอบของระบบเปน็ อย่างไร (แนวตอบ : ระบบจะประกอบด้วยระบบย่อย ซึ่งทางานด้วยตัวเอง มีอิสระ โดยการทางาน ท้ังหมดถกู ออกแบบเพือ่ ใหร้ ะบบใหญ่บรรลเุ ป้าหมาย) 4. นักเรยี นรว่ มกันอภิปรายสรุปเกย่ี วกับความหมายของระบบทางเทคโนโลยที ีซ่ ับซอ้ น ชว่ั โมงท่ี 2 ขัน้ สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้น ระบบการทางานของโดรน (เคร่อื งบินติดกล้อง) และอภิปราย ร่วมกัน โดยท่ีครูถามคาถามกระตุ้นความคิด จากคลิป ว่า เมื่อระบบใหญ่คือโดรน ประกอบด้วยระบบ ย่อยๆใดบ้าง (แนวตอบ :ระบบใหญ่คือโดรน ประกอบด้วยระบบย่อย เช่น ระบบการบิน ระบบมอเตอร์ ระบบ กล้อง ระบบไฟฟ้า เป็นต้น ซึ่งในระบบย่อยยังมีระบบย่อยลงไปอีก ) 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับระบบการทางานของโดรน แล้วร่วมกั น อภิปรายเก่ยี วกบั ข้อมลู ทส่ี บื ค้นได้ภายในกลุ่ม 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มแบ่งเป็นกลุ่มย่อย 2 กลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มย่อยแบ่งหน้าท่ีรับผิดชอบในการ อภิปรายหัวข้อท้ัง 2 ประเด็น คือ ระบบทางเทคโนโลยีท่ีซับซอ้ นและระบบทางเทคโนโลยี ที่ครูติดไว้บรเิ วณ หน้าและหลังหอ้ งเรียน รว่ มกบั สมาชิกกลุ่มอนื่ ครูกาหนดเวลาในการรว่ มอภิปราย 5 นาที 4. ตัวแทนกลุ่มย่อยของแต่ละกลุ่มกลับเข้ากลุ่มเดิม แล้วผลัดกันสรุปความรู้ท่ีได้รับจากการร่วมอภิปรายกับ สมาชิกของกลุ่มอน่ื ใหส้ มาชิกภายในกลมุ่ ฟัง 5. นักเรียนรวมกลุ่มเดิม แล้วร่วมกันศึกษาและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการทางานของระบบเทคโนโลยี โดย ยกตัวอยา่ งสงิ่ ของ ส่ิงประดิษฐ์ หรือเทคโนโลยี จากน้ันให้แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายและสรปุ ความรู้เป็น แผนผงั ความคดิ ลงในกระดาษ A4 ตามประเดน็ ดงั น้ี ส่ิงของ ส่ิงประดิษฐ์ หรอื เทคโนโลยีทส่ี นใจ องคป์ ระกอบของระบบการทางานของสิ่งนั้น ระบบทางเทคโนโลยขี องสง่ิ น้ันเป็นอยา่ งไร แลว้ ร่วมกันออกแบบวธิ ีการนาเสนอผลงานท่ีนา่ สนใจ 6. ครูสุ่มนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานตามท่ีได้ออกแบบเอาไว้ทลี ะกลมุ่ จนครบทุกกลุ่ม เม่ือแต่ ละกลมุ่ เสนอผลงานจบแลว้ ใหน้ าผลงานไปตดิ ไว้ตามบรเิ วณรอบๆ หอ้ งเรียน 7. ครูให้เวลานักเรียน 3 นาที ในการเดินชมผลงานของกลุ่มอื่นๆ เพื่อเปรียบเทียบกับผลงานของกลุ่มตนเอง จากน้ันใหน้ กั เรยี นร่วมกันวิเคราะห์การทางานของระบบเทคโนโลยี 8. นักเรียนแต่ละคนทากิจกรรม Design Activity จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน การออกแบบและ เทคโนโลยี ม.4 หน้า 13 จากน้ันครูสุ่มถามคาตอบของนักเรียนเป็นรายบุคคลทีละภาพ จนครบทุกภาพ โดยระหว่างที่นักเรียนตอบ ให้เพื่อนนักเรียนคนอื่นๆ และครูร่วมกันพิจารณาคาตอบ เพื่อตรวจสอบ ความถูกต้อง และร่วมกันอภิปรายเพ่ือหาข้อสรุปร่วมกัน
ช่ัวโมงท่ี 3 ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูเปิดคลิป การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีในการประดิษฐ์ กล้องถ่ายรูป ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันท่ี สามารถประยุกต์เป็นเครื่องบินติดกล้อง แล้วตั้งคาถามให้นักเรียนช่วยกันหาคาตอบว่า เทคโนโลยี การผลิตกล้องถ่ายรูปในแบบฟิล์มกับแบบดิจิตอลต่างกันอย่างไร (แนวตอบ : การผลติ สิง่ ของเพือ่ ตอบสนองความต้องการ เมอื่ หมดยคุ มืด มนุษยเ์ ข้าใจธรรมชาตโิ ดย ใชค้ วามตอ้ งการของตนเองเป็นท่ีตั้งเพือ่ เปล่ยี นวิทยาการให้เป็นเทคโนโลยี และสามารถดัดแปลงธรรมชาติ ให้เกิดมีพัฒนาการสนองความต้องการของมนุษย์ เม่ือเกิดการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยจี ึงมกี ารพัฒนา กล้องฟิลม์ ให้เป็นกล้องแบบดิจิตอลเพื่ออานวยความสะดวก พร้อมทง้ั พัฒนาฟังชนั่ ให้มีความหลากหลาย ไปเร่อื ยๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนษุ ย์ ) 2. ครูให้นักเรียนรวมกลุ่มเดิม แล้วให้ร่วมกันศึกษาและสืบค้นข้อมูลเรื่อง การเปลี่ยนแป ลงทาง เทคโนโลยี ตามประเด็นท่ีกาหนดให้ ดังนี้ ปัญหาหรือความต้องการของการใช้เทคโนโลยี ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยี สาเหตุการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าตามประเด็นที่กาหนด แล้วอภิปรายร่วมกันเพ่ือหาข้อสรุป แล้วจัดทา เป็น PowerPoint เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี โดยครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกเร่ือง ปัญหา หรอื ความตอ้ งการของการใช้เทคโนโลยีทน่ี าเสนอได้อย่างอิสระ 4. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอความรู้เร่ือง การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี ขณะท่ีนักเรียนแต่ละกลุ่ม นาเสนอให้ครคู อยแนะนาและเสริมขอ้ มลู ทีถ่ กู ต้องให้นักเรียน 5. ครูและนักเรียนดูตัวอย่าง ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยีและสาเหตุการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี จาก หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.4 หน้า 15-18 แล้วร่วมกัน วิเคราะห์ 6. จากนัน้ ใหแ้ ต่ละกลมุ่ รว่ มกันอภิปรายและสรปุ ความรู้เป็นผังมโนทศั นล์ งในกระดาษ A4 ตามประเดน็ ดังนี้ สาเหตขุ องการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี ประโยชนแ์ ละผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี 7. นักเรียนแต่ละคนทากิจกรรม Unit Question จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (การ ออกแบบและเทคโนโลยี) ม.4 หน้า 19 จากนั้นครูสุ่มถามคาตอบของนักเรียนเป็นรายบุคคลทีละข้อ จน ครบทุกข้อโดยระหว่างที่นักเรียนตอบ ให้เพื่อนนักเรียนคนอื่น ๆ และครูร่วมกันพิจารณาคาตอบ เพื่อ ตรวจสอบความถูกต้อง และร่วมกันอภิปรายเพื่อหาข้อสรุปร่วมกัน
ขน้ั สรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูเปิด PowerPoint เร่ือง การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี ให้นักเรียนดู แล้วให้นกั เรียนร่วมกันอภิปราย และสรปุ ตามประเดน็ ดังนี้ มนุษยศ์ าสตร์และศิลปะศาสตรก์ บั เทคโนโลยี ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยีในยุคตา่ งๆ ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยี ประโยชน์ โทษ ต่อมนุษย์และสังคม เศรษฐกิจ และส่งิ แวดลอ้ ม สาเหตุการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี ปัญหาหรือความต้องการ ความก้าวหน้าของวทิ ยาการ บริบท ของเศรษฐกจิ วฒั นธรรม และสิ่งแวดล้อม 2. ครูให้นักเรียนสอบถามเพ่มิ เตมิ เกยี่ วกบั เน้อื หาใน PowerPoint ทย่ี งั ไม่เข้าใจ แลว้ ให้ความรู้เพิม่ เติมในส่วน นั้น 3. ครูให้นักเรียนทาใบงานที่ 1.2 เร่ือง ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยี เมื่อทาเสร็จแล้ว ครูและนักเรียน รว่ มกันเฉลยคาตอบ 4. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน 2. ครตู รวจและประเมนิ ผลใบงานท่ี 1.2 เร่ือง ผลกระทบจากการใชเ้ ทคโนโลยี 3. ครูตรวจและประเมินผล PowerPoint เรือ่ ง การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี 4. ครตู รวจและประเมินผลผงั มโนทัศน์ เร่อื ง สาเหตขุ องการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี 5. ครปู ระเมินผล โดยสังเกตการตอบคาถาม การร่วมกันทาผลงาน และการนาเสนอผลงาน 7. การวดั และประเมินผล รายการวดั วธิ วี ดั เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารประเมิน 7.1 การประเมนิ ระหวา่ งการ จดั กิจกรรม 1) ผลกระทบจากการใช้ - ตรวจใบงานที่ 1.2 - ใบงานที่ 1.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ เทคโนโลยี 2) การนาเสนอผลงาน - ประเมนิ การนาเสนอ - ผลงานทีน่ าเสนอ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผลงาน ผา่ นเกณฑ์ 3) พฤติกรรมการทางาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ 2 รายบคุ คล การทางานรายบุคคล การทางานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์ 4) พฤติกรรมการทางานกลุ่ม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคณุ ภาพ 2 การทางานกล่มุ การทางานกลุม่ ผา่ นเกณฑ์ 5) คณุ ลกั ษณะ - สงั เกตความมวี ินัย - แบบประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 2 อนั พงึ ประสงค์ รบั ผิดชอบ ใฝ่เรยี นรู้ คณุ ลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ และมุง่ ม่นั ในการ อันพงึ ประสงค์ ทางาน
7.2 การประเมนิ หลังเรียน ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบหลังเรยี น ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - แบบทดสอบหลังเรียน หลังเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรื่อง ระบบทางเทคโนโลยี 8. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สอื่ การเรียนรู้ 1) หนังสอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.4 2) ใบงานที่ 1.2 เรื่อง ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยี 3) PowerPoint เร่ือง การเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยี 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) ห้องเรยี น 2) ห้องสมุด 3) แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ
ใบงานท่ี 1.2 เร่ือง ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยี คาชแ้ี จง : เติมข้อความหรอื ความหมายของคาลงในช่องว่างให้ถกู ต้อง คาช้ีแจง : เตมิ ข้อความหรอื ความหมายของคาลงในชอ่ งว่างให้ถูกตอ้ ง 1. ระบบทางเทคโนโลยี (Technological system) หมายถงึ ระบบที่มนษุ ยส์ ร้างขึน้ มาเพื่อแก้ปญั หาหรือความ ต้องการ ประกอบดว้ ย……………..………………………..……………..……………..……………..……………..…………………….. 1. ตวั ป้อน (Input) คอื 2. กระบวนการ (Process) คอื 3. ผลผลิต (Output) คอื ความต้องการของมนษุ ย์ ข้นั ตอนการแกป้ ญั หา เป็นการ ผลิตภัณฑ์ หรอื วธิ กี าร เกีย่ วกับความจาเป็นหรือ ดาเนนิ การทีท่ าให้เกดิ การเปลยี่ นเป็น ทางานส่ิงของเคร่ืองใช้ ปัญหา ผลผลิตหรือผลลพั ธต์ ามวัตถปุ ระสงค์ 4. ขอ้ มลู ยอ้ นกลับ (Feedback) คอื ขอ้ มูลทใ่ี ช้ปอ้ นกลบั เข้าไปในระบบเพือ่ ปรับปรุงการทางานของระบบไดต้ ามวัตถุประสงค์ไดด้ ยี ่งิ ข้นึ ……………………. 2. จงบอกข้อแตกต่างของระบบเปิดกับระบบปดิ ระบบเปดิ (Open – Loop System) ระบบปดิ (Close – Loop System) ……………………………………………………………….….. ……………………………………………………………….….. ……………………………………………………………….….. ……………………………………………………………….….. ……………………………………………………………….….. ……………………………………………………………….….. ……………………………………………………………….….. ……………………………………………………………….….. ……………………………………………………………….….. ……………………………………………………………….…..
3. เนือ่ งจากปัจจบุ ัน การขายของออนไลนเ์ ปน็ ท่นี ยิ ม จนทาให้เกดิ แอพพลเิ คช่ัน (Application) สง่ เสริมการขาย มากมาย เช่น Shopee Lazada เป็นตน้ จงอธิบายท้งั ประโยชน์และผลกระทบจากการใชเ้ ทคโนโลยี ประโยชน์และผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยี ด้านมนุษยแ์ ละสงั คม ประโยชน์ ………………………………………………………………………………………… ดา้ นเศรษฐกจิ ผลกระทบ ………………………………………………………………………………………… ด้านส่งิ แวดล้อม ประโยชน์ ………………………………………………………………………………………… ผลกระทบ ……… ประโยชน์ ………………………………………………………………………………………… ผลกระทบ ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ……… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ……… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ……… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ……… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………
ใบงานที่ 1.2 เฉลย เร่อื ง ผลกระทบจากการใชเ้ ทคโนโลยี คาชแ้ี จง : เตมิ ข้อความหรือความหมายของคาลงในช่องวา่ งให้ถูกตอ้ ง 1. ระบบทางเทคโนโลยี (Technological system) หมายถึง ระบบทม่ี นุษยส์ ร้างข้นึ มาเพือ่ แก้ปญั หาหรือความ ต้องการ ประกอบด้วย……………..………………………..……………..……………..……………..……………..…………………….. 1. ตวั ปอ้ น (Input) คือ 2. กระบวนการ (Process) คอื 3. ผลผลิต (Output) คอื ความตอ้ งการของมนุษย์ ขั้นตอนการแก้ปญั หา เป็นการ ผลติ ภัณฑ์ หรอื วิธกี าร เกยี่ วกบั ความจาเป็นหรือ ดาเนินการทที่ าใหเ้ กิดการเปลยี่ นเปน็ ทางานสิง่ ของเครือ่ งใช้ ปัญหา ผลผลติ หรือผลลพั ธ์ตามวตั ถุประสงค์ 4. ขอ้ มลู ยอ้ นกลับ (Feedback) คอื ข้อมูลทใี่ ชป้ ้อนกลบั เขา้ ไปในระบบเพ่อื ปรับปรุงการทางานของระบบได้ตามวัตถปุ ระสงคไ์ ด้ดยี ่งิ ข้ึน 2. จงบอกขอ้ แตกต่างของระบบเปิดกบั ระบบปิด ระบบเปิด (Open – Loop System) ระบบปดิ (Close – Loop System) ตวั ปอ้ น กระบวนการ ผลลพั ธ์ ตวั ปอ้ น กระบวนการ ผลลพั ธ์ ขอ้ มูลยอ้ นกลับ ระบบไม่มีผลสะทอ้ นกลับ ระบบมีขอ้ มลู ย้อนกลับ ระบบไมม่ คี วามซบั ซ้อน ระบบมคี วามซับซ้อน เหมาะกับงานทไ่ี ม่ตอ้ งการความแมน่ ยา เหมาะกบั งานท่ีตอ้ งการความแม่นยา ประหยัด ค่าใช้จ่ายสูง
3. เนือ่ งจากปัจจบุ ัน การขายของออนไลนเ์ ปน็ ท่นี ยิ ม จนทาให้เกดิ แอพพลิเคชัน่ (Application) สง่ เสริมการขาย มากมาย เช่น Shopee Lazada เป็นต้น จงอธิบายทัง้ ประโยชน์และผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยี ประโยชนแ์ ละผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยี ประโยชน์ - ทาใหช้ ีวติ ของมนษุ ย์มีคณุ ภาพดขี ้นึ ไม่ว่าจะเปน็ …….… เทคโนโลยีท่ีช่วยอานวยความสะดวก……..…………....…… ด้านมนุษยแ์ ละสงั คม - ทาใหส้ ังคมของเราเช่อื มโยงกนั มากข้นึ ……..……..……... ดา้ นเศรษฐกิจ ด้านส่งิ แวดลอ้ ม ผลกระทบ - ทาให้ระบบการเงนิ เกิดความสูญเสยี การถูกโจรกรรม ออนไลน์ในระบบธนาคารผ่าน………..……..…………….. - ทาใหเ้ กดิ ปัญหาการปฏิสมั พนั ธ์กนั ระหว่างมนษุ ย์… ประโยชน์ - ทาให้เกิดการเพ่มิ อาชีพทั้งอาชีพหลกั และอาชพี เสรมิ - ทาการตลาดของการค้าขายเปดิ กว้างมากขึ้นสง่ ผลทาให้ ผู้บรโิ ภคมีทางเลอื ก สะดวกสบาย……..……..……..…….. - ทาใหเ้ กดิ มิจฉาชีพเพิม่ ขนึ้ หาช่องทางเปน็ กลโกง ผลกระทบ - ผู้ค้าขายและผู้ซ้อื เกดิ การโกงกนั ไดง้ า่ ยข้นึ ……..…….. ประโยชน์ - ทาให้เกิดผลงานทห่ี ลากหลาย เมื่อไมม่ ีบริษัท รา้ นคา้ อาจช่วยลดมลภาวะในส่ิงแวดล้อมได้……..……..…….. - ประหยดั ทรพั ยากรธรรมชาติ เช่น ประดาษ เป็นต้น - เกดิ ขยะเพม่ิ มากขนึ้ เช่น จากพลาสติกทยี่ อ่ ยสลาย ผลกระทบ ไมไ่ ด้……..……..……..……..……..……..…………..……..……..
9. ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษาหรอื ผู้ท่ีได้รบั มอบหมาย ข้อเสนอแนะ ลงชือ่ (นายเสนห่ ์ สายต่างใจ) ผ้อู านวยการโรงเรียนเกาะคาวทิ ยาคม 10. บันทกึ ผลหลังการสอน ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ปัญหา / อุปสรรค ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ แนวทางแก้ปญั หาO ปกติO วจิ ัยในชน้ั เรียน ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ลงชื่อ .............................................................. (นางสาวบุศริน เหมทานนท์) ครผู ู้สอน ข้อคดิ เหน็ ............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ................................................................... (นางสาววราภรณ์ กุณาบุตร) ตาแหนง่ หวั หน้างานวชิ าการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 กระบวนการเชงิ วิศวกรรม เวลา 5 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วัด ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชวี ิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ใช้ความรู้ และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพ่ือแก้ปัญหา หรือ พัฒนางานอย่างมี ความคิดสร้างสรรค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมโดยคานึง ผลกระทบต่อชีวติ สังคม และส่ิงแวดลอ้ ม ว 4.1 ม.4/2 ระบุปัญหาหรือความต้องการท่ีมีผลกระทบต่อสังคม รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และ แนวคิดท่ีเก่ียวข้องกับปัญหาที่มีความซับซ้อนเพื่อสังเคราะห์วิธีการ เทคนิคในการ แก้ปัญหา โดยคานงึ ถงึ ความถูกตอ้ งด้านทรัพยส์ นิ ทางปัญญา ว 4.1 ม.4/3 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลท่ีจาเป็น ภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นาเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อ่ืนเข้าใจด้วย เทคนิคหรอื วิธีการที่หลากหลาย โดยใช้ซอฟต์แวร์ชว่ ยในการออกแบบ วางแผนข้ันตอน การทางานและดาเนินการแกป้ ญั หา ว 4.1 ม.4/4 ทดสอบ ประเมนิ ผล วเิ คราะห์ และให้เหตผุ ลของปัญหาหรอื ข้อบกพร่องทเ่ี กิดขนึ้ ภายใต้ กรอบเงอ่ื นไข หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผลการแก้ไขปัญหา พร้อมท้ัง เสนอแนวทางการพฒั นาตอ่ ยอด ว 4.1 ม.4/5 ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า และอิเลกทรอนิกส์ และเทคโนโลยที ี่ซับซ้อนในการแก้ปญั หาหรือพัฒนางาน ได้อย่างถกู ต้อง เหมาะสม และ ปลอดภยั 2. สาระการเรยี นรู้ 2.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1) ปญั หาหรือความต้องการที่มีผลกระทบตอ่ สังคม เชน่ ปัญหาด้านการเกษตร อาหาร พลังงาน การขนส่ง สุขภาพและการแพทย์ การบริการ ซง่ึ แต่ละดา้ นอาจมีได้หลากหลายปัญหา 2) การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาโดยอาจใช้เทคนิคหรือวิธีการวิเคราะห์ท่ีหลากหลาย ช่วยให้เข้าใจ เงอื่ นไขและกรอบของปญั หาไดช้ ัดเจน จากนนั้ ดาเนนิ การสบื ค้น รวบรวมข้อมูล ความรู้จากศาสตร์ต่างๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง เพอ่ื นาไปสู่การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา 3) การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น โดยคานึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา เง่ือนไข และทรัพยากร เชน่ งบประมาณ เวลา ขอ้ มูล และสารสนเทศ วัสดุ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ ช่วยให้ได้แนว ทางการแกป้ ัญหาท่เี หมาะสม 4) การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาทาได้หลากหลายวิธี เช่น การร่างภาพ การเขียนแผนภาพ การเขียน ผังงาน 5) ซอฟแวรช์ ว่ ยในการออกแบบและนาเสนอมีหลากหลายชนดิ จงึ ตอ้ งเลือกใช้ให้เหมาะกับงาน 6) การกาหนดขัน้ ตอนและระยะเวลาในการทางานก่อนดาเนินการแก้ปัญหาจะช่วยให้การทางานสาเรจ็ ได้ ตามเป้าหมาย และลดขอ้ ผดิ พลาดของการทางานทีอ่ าจเกดิ ขึ้น
7) การทดสอบและประเมนิ ผลเปน็ การตรวจสอบชิ้นงานหรอื วธิ ีการว่าสามารถแก้ปญั หาได้ตามวัตถุประสงค์ ภายใตก้ รอบของปัญหา เพื่อหาข้อบกพร่อง และดาเนินการปรบั ปรุง โดยอาจทดสอบซ้าเพื่อให้สามารถ แก้ไขปัญหาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 8) การนาเสนอผลงานเป็นการถ่ายทอดแนวคิดเพ่ือให้ผู้อื่นเข้าใจเก่ียวกับกระบวนการทางานและชิ้นงาน หรือวิธีการท่ีได้ ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธี เช่น การทาแผ่นนาเสนอผลงาน การจัดนิทรรศการ การ นาเสนอผ่านสือ่ ออนไลน์ หรือการนาเสนอตอ่ ภาคธรุ กิจเพอ่ื การพฒั นาต่อยอดสู่งานอาชีพ 9) วัสดุแต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน เชน่ ไม้สังเคราะห์ โลหะ จึงต้องมีการวเิ คราะห์สมบัติเพื่อเลอื กใช้ ให้เหมาะสมกับลกั ษณะของงาน 10) การสร้างช้ินงานอาจใช้ความรู้ เรื่อง กลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เช่น LDR sensor เฟือง รอก คาน วงจรสาเร็จรูป 11) อุปกรณ์และเครื่องมือในการสร้างช้ินงาน หรือพัฒนาวิธีการมีหลายประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวมท้งั รจู้ ักเกบ็ รกั ษา 2.2 สาระการเรียนร้ทู อ้ งถน่ิ (พจิ ารณาตามหลักสูตรสถานศกึ ษา) 3. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมช่วยแก้ปัญหาหรอื ความต้องการท่ีมีผลกระทบต่อสังคม เช่น ปัญหาด้าน การเกษตร อาหาร พลงั งาน การขนสง่ สขุ ภาพและการแพทย์ การบรกิ าร ซงึ่ แต่ละดา้ นอาจมไี ด้หลากหลายปญั หา เริ่มจากการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาโดยอาจใช้เทคนิคหรือวิธีการวิเคราะห์ท่ีหลากหลาย ช่วยให้เข้าใจเงื่อนไข และกรอบของปัญหาได้ชัดเจน จากน้ันดาเนินการสืบค้น รวบรวมข้อมูล ความรู้จากศาสตร์ต่างๆ ที่เก่ียวข้อง เพ่ือ นาไปสู่การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา ซึ่งนาไปสู่การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลท่ีจาเป็น โดยคานึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา เง่ือนไขและทรัพยากร เช่น งบประมาณ เวลา ข้อมูล และสารสนเทศ วัสดุ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ ช่วยให้ได้แนวทางการแก้ปัญหาท่ีเหมาะสม และการออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาทาได้ หลากหลายวิธี เช่น การร่างภาพ การเขียนแผนภาพ การเขียนผังงาน โดยการใช้ซอฟแวร์ช่วยในการออกแบบและ นาเสนอมีหลากหลายชนิดจึงต้องเลือกใช้ให้เหมาะกับงาน และในการกาหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการทางาน ก่อนดาเนินการแก้ปัญหาจะช่วยให้การทางานสาเร็จได้ตามเป้าหมาย และลดข้อผิดพลาดของการทางานที่อาจ เกิดขึ้น ในส่วนการทดสอบและประเมินผลเป็นการตรวจสอบชิ้นงานหรือวิธีการว่าสามารถแก้ปัญหาได้ตาม วัตถุประสงค์ภายใต้กรอบของปญั หา เพือ่ หาข้อบกพร่อง และดาเนินการปรบั ปรงุ โดยอาจทดสอบซ้าเพ่ือให้สามารถ แก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการนาเสนอผลงานเป็นการถ่ายทอดแนวคิดเพ่ือให้ผู้อ่ืนเข้าใจเกี่ยวกับ กระบวนการทางานและชิ้นงานหรอื วิธีการที่ได้ ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธี เช่น การทาแผ่นนาเสนอผลงาน การจัด นิทรรศการ การนาเสนอผ่านส่ือออนไลน์ หรือการนาเสนอต่อภาคธรุ กิจเพื่อการพัฒนาต่อยอดสู่งานอาชีพ ซ่ึงการ ออกแบบสามารถเลือกใช้วัสดุแต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน เช่น ไม้สังเคราะห์ โลหะ จึงต้องมีการวิเคราะห์ สมบัติเพื่อเลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน ส่วนการสร้างช้ินงานอาจใช้ความรู้ เรื่อง กลไก ไฟฟ้า อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เชน่ LDR sensor เฟือง รอก คาน วงจรสาเร็จรูป และอุปกรณ์และเครอื่ งมือในการสร้างชน้ิ งาน หรือ พฒั นาวธิ ีการมีหลายประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั รวมท้งั รู้จักเกบ็ รักษา 4. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี นและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 1. มีวินยั รบั ผิดชอบ 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุง่ ม่ันในการทางาน 1) ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ 2) ทักษะการคิดอย่างสรา้ งสรรค์ 3) ทักษะการคดิ อย่างเป็นระบบ 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) 1. ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ทาความเข้าใจกระบวนการเชิงวศิ วกรรม 2. ใบงานที่ 2.2 เรือ่ ง การแกไ้ ขปัญหาโดยใชก้ ระบวนการเชิงวิศวกรรม 3. PowerPoint เรือ่ ง ความสมั พนั ธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อ่นื ๆ 4. PowerPoint เร่ือง การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี 5. แผนผังความคิด เรื่อง กระบวนการเชิงวิศวกรรม 6. การวัดและการประเมนิ ผล วิธีวดั เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ - ตรวจ PowerPoint แบบประเมินชิน้ งาน/ ระดบั คณุ ภาพ 2 รายการวดั - ตรวจแผนผังความคิด ภาระงาน ผ่านเกณฑ์ 6.1 การประเมินชิ้นงาน/ แบบทดสอบก่อนเรียน ประเมนิ ตามสภาพจริง เร่ือง กระบวนการเชิง ภาระงาน (รวบยอด) วิศวกรรม - ใบงานท่ี 2.1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบ - ใบงานท่ี 2.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 6.2 การประเมินกอ่ นเรยี น กอ่ นเรียน - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 - ตรวจใบงานท่ี 2.1 เร่อื ง กระบวนการเชงิ วศิ วกรรม - ตรวจใบงานที่ 2.2 6.3 การประเมินระหว่างการ จดั กจิ กรรม 1) ทาความเขา้ ใจ กระบวนการเชิง วิศวกรรม 2) การแกไ้ ขปัญหาโดย ใชก้ ระบวนการเชงิ วศิ วกรรม
รายการวัด วธิ ีวดั เครื่องมอื เกณฑก์ ารประเมิน 3) การนาเสนอผลงาน - ประเมินการนาเสนอ - ผลงานทนี่ าเสนอ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ผลงาน 4) พฤติกรรมการทางาน - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 การทางานรายบุค ผ่านเกณฑ์ รายบุคคล การทางานรายบคุ คล ระดับคณุ ภาพ 2 - แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ 5) พฤตกิ รรมการทางาน - สังเกตพฤติกรรมการ การทางานกลุ่ม กลุม่ ทางานกลมุ่ 6) คุณลกั ษณะ - สงั เกตความมีวินัย - แบบประเมิน ระดบั คณุ ภาพ 2 อนั พึงประสงค์ รับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ คุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์ และมงุ่ มั่นในการ อนั พึงประสงค์ 6.4 การประเมินหลังเรียน ทางาน รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - แบบทดสอบหลังเรยี น แบบทดสอบหลงั เรยี น ตรวจแบบทดสอบ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 หลงั เรียน เรื่อง กระบวนการเชิง วศิ วกรรม 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ เวลา 2 ชวั่ โมง เวลา 3 ช่ัวโมง แผนฯ ท่ี 1 : ทาความเขา้ ใจกระบวนการเชิงวศิ วกรรม วิธีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) แผนฯ ท่ี 2 : การแก้ไขปญั หาโดยใช้กระบวนการเชงิ วิศวกรรม วิธสี อนแบบใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (Problem based Learning) 8. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้ 1) หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.4 หน่วยการเรียนที่ 2 กระบวนการเชิง วศิ วกรรม 2) ใบงานที่ 2.1 เร่ือง ทาความเข้าใจกระบวนการเชงิ วิศวกรรม 3) ใบงานท่ี 2.2 เรือ่ ง การแกไ้ ขปญั หาโดยใชก้ ระบวนการเชิงวิศวกรรม 4) PowerPoint เรื่อง กระบวนการเชงิ วศิ วกรรม
แบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 คาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. จงพจิ ารณาขอ้ ความต่อไปนี้ 6. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ ขนั้ ตอนในการระดมความคิด ก. การพัฒนาสร้างสรรค์นวัตกรรมใหมๆ่ 1. ตัง้ ผู้ดาเนนิ การ ข. แกไ้ ขปญั หาอยา่ งมรี ะบบภายใตข้ อ้ จากดั 2. กาหนดหวั ข้อ ค. การบริหารจัดการในการแกไ้ ขช้ินงาน 3. ระดมความคิด ง. มกี ารตง้ั สมมติฐาน 4. วเิ คราะห์การระดมความคดิ ขอ้ ใดถกู ต้องเกี่ยวกับกระบวนการเชงิ วิศวกรรม 5. สรุปผลการระดมความคดิ 1. ก เท่านัน้ 2. ก และ ข 7. การสรา้ งส่ิงประดิษฐ์ นวัตกรรมท่มี ีความทันสมัย 3. ค และ ง 4. ก ข และ ค เชน่ รถยนื 2 ลอ้ หรอื สกู๊ตเตอรไ์ ฟฟฟ้า ต้องมีการคิด 5. ข ค และ ง ตามทฤษฎีหมวก 6 ใบ ขอ้ ใดมากทส่ี ุด จากตัวเลือกต่อไปน้ี ใช้ตอบคาถาม ขอ้ 2-4 1. หมวกสีขาว 2. หมวกสีแดง 1. ระบปุ ัญหา 3. หมวกสีดา 4. หมวกสีฟ้า 2. รวบรวมขอ้ มลู 3. ออกแบบวิธีการแกป้ ญั หา 5. หมวกสีเขียว 4. วางแผนและดาเนนิ การ 8. การออกแบบโดยวธิ กี ารใดที่ทาใหเ้ ข้าใจงา่ ย เห็น 5. ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรุง ภาพตรงกนั เพอ่ื แสดงลาดับขน้ั ตอน 1. การสรา้ งภาพรา่ ง 2. การสร้างผงั งาน 3. การสร้างภาพฉาย 2. การวิเคราะห์เง่ือนไขหรือจากัดของสถานการณ์ 4. การสรา้ งสื่อวิดีโอ ปัญหา เป็นขน้ั ตอนใดในกระบวนการออกแบบเชิง 5. การสร้างบทบาทสมมติ วิศวกรรม................................................................ 9. ในการพฒั นาช้ินงานเสาสง่ สัญญาณ โลหะท่ีใชใ้ น 3. การเขียนแผนปฏบิ ัติการ เป็นขน้ั ตอนใดใน การผลิตช้ินงาน ควรคานึงถงึ สง่ิ ใด กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม 1. สมบตั ทิ างเคมี ………………………………….………………………………….. 2. สมบตั ิทางกายภาพ 4. ข้นั ตอนใด แสดงถงึ ความคดิ เหน็ หรอื ผลสะท้อน 3. สมบตั เิ ชงิ กล กลับ (feedback) จากผู้ใช้ว่าชอบหรอื ไม่ชอบ 4. สมบัติเชงิ มิติ ………………………………….………………………………….. 5. สมบัติทางไฟฟา้ 5. ปัญหาน้าท่วมขังถนนเมื่อฝนตกหนกั ควรมีวธิ ีการ 10. ในการประดิษฐ์ สัญญาณเสียงเตือนจากกล่อง เก็บรวบรวมขอ้ มลู อยา่ งไรจงึ จะดที ี่สดุ จดหมาย อุปกรณท์ ่ีสาคัญท่ีขาดไมไ่ ด้ คอื ส่งิ ใด 1. สงั เกตการณ์ 2. ระดมความคดิ 1. LED 2. ตวั ต้านทาน 3. แบบสอบถาม 4. รายงานวิจยั 3. บซั เซอร์ 4. แบตเตอร่ี 5. สมั ภาษณ์ 5. ตัวเก็บประจุ เฉลย 1. 2 2. 1 3. 4 4. 3แบบท5.ด5สอบห6ล. 4งั เรยี น7. 5 8. 2 9. 1 10. 3 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 คาช้ีแจง : ให้นกั เรยี นเลือกคาตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว
1. จงพิจารณาขอ้ ความตอ่ ไปน้ี 6. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ ข้ันตอนในการระดมความคดิ ก. การพฒั นาสร้างสรรค์นวตั กรรมใหมๆ่ 1. ตัง้ ผู้ดาเนนิ การ ข. แกไ้ ขปัญหาอยา่ งมีระบบภายใต้ขอ้ จากดั 2. กาหนดหวั ขอ้ ค. การบริหารจดั การในการแกไ้ ขชิ้นงาน 3. ระดมความคิด ง. มีการตงั้ สมมตฐิ าน 4. วิเคราะหก์ ารระดมความคดิ ข้อใดถกู ตอ้ งเกยี่ วกบั กระบวนการเชงิ วศิ วกรรม 5. สรุปผลการระดมความคดิ 1. ก เทา่ น้ัน 2. ก และ ข 7. การสร้างสงิ่ ประดิษฐ์ นวตั กรรมทม่ี ีความทนั สมยั 3. ค และ ง 4. ก ข และ ค เช่น รถยืน 2 ลอ้ หรือสกู๊ตเตอรไ์ ฟฟฟ้า ต้องมกี ารคดิ 5. ข ค และ ง ตามทฤษฎีหมวก 6 ใบ ขอ้ ใดมากทสี่ ุด จากตวั เลอื กตอ่ ไปนี้ ใชต้ อบคาถาม ข้อ 2-4 1. หมวกสีขาว 2. หมวกสีแดง 1. ระบปุ ญั หา 3. หมวกสีดา 4. หมวกสฟี ้า 2. รวบรวมขอ้ มูล 3. ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ญั หา 5. หมวกสีเขียว 4. วางแผนและดาเนินการ 8. การออกแบบโดยวิธีการใดท่ีทาให้เข้าใจงา่ ย เห็น 5. ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรุง ภาพตรงกัน เพ่อื แสดงลาดบั ขัน้ ตอน 1. การสรา้ งภาพรา่ ง 2. การสร้างผังงาน 3. การสรา้ งภาพฉาย 2. การวเิ คราะห์เงอื่ นไขหรอื จากดั ของสถานการณ์ 4. การสรา้ งสอื่ วดิ โี อ ปัญหา เปน็ ข้ันตอนใดในกระบวนการออกแบบเชิง 5. การสรา้ งบทบาทสมมติ วิศวกรรม................................................................ 9. ในการพัฒนาช้ินงานเสาส่งสัญญาณ โลหะท่ใี ชใ้ น 3. การเขยี นแผนปฏบิ ัตกิ าร เป็นข้นั ตอนใดใน การผลติ ชน้ิ งาน ควรคานึงถึงสงิ่ ใด กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม 1. สมบตั ิทางเคมี ………………………………….………………………………….. 2. สมบัติทางกายภาพ 4. ขั้นตอนใด แสดงถงึ ความคดิ เหน็ หรอื ผลสะท้อน 3. สมบตั เิ ชงิ กล กลับ (feedback) จากผู้ใช้วา่ ชอบหรอื ไมช่ อบ 4. สมบตั ิเชงิ มติ ิ ………………………………….………………………………….. 5. สมบตั ิทางไฟฟา้ 5. ปญั หานา้ ท่วมขงั ถนนเมื่อฝนตกหนักควรมีวธิ ีการ 10. ในการประดษิ ฐ์ สญั ญาณเสียงเตอื นจากกลอ่ ง เก็บรวบรวมข้อมลู อยา่ งไรจงึ จะดที ส่ี ดุ จดหมาย อุปกรณท์ ี่สาคัญทขี่ าดไม่ได้ คอื ส่งิ ใด 1. สงั เกตการณ์ 2. ระดมความคดิ 1. LED 2. ตวั ต้านทาน 3. แบบสอบถาม 4. รายงานวิจัย 3. บซั เซอร์ 4. แบตเตอร่ี 5. สมั ภาษณ์ 5. ตวั เก็บประจุ เฉลย 1. 2 2. 1 3. 4 แ4บ. 3บประเ5ม. นิ 5การน6า.เส4 นอผล7.งา5น 8. 2 9. 1 10. 3 คาช้แี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ลงในช่องท่ี ตรงกับระดับคะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32
1 ความถูกต้องของเนือ้ หา 2 ความคิดสรา้ งสรรค์ 3 วิธกี ารนาเสนอผลงาน 4 การนาไปใชป้ ระโยชน์ 5 การตรงตอ่ เวลา รวม ลงชอื่ ................................................... ผ้ปู ระเมิน ............/................./................... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ สมบูรณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินเป็นสว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ บางสว่ น เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ากวา่ 8 ปรบั ปรุง
แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล คาช้แี จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องท่ี ตรงกบั ระดบั คะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเหน็ 2 การยอมรับฟงั ความคดิ เห็นของผ้อู ่นื 3 การทางานตามหน้าที่ทไ่ี ด้รับมอบหมาย 4 ความมนี ้าใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชื่อ ................................................... ผ้ปู ระเมิน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ ............/.................../................ ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยคร้งั ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ากวา่ 8 ปรับปรงุ
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม คาชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดับคะแนน ลาดบั ท่ี ชอ่ื –สกลุ การแสดง การยอมรับ การทางาน ความมนี ้าใจ การมี รวม ของนักเรียน ความคิดเหน็ ฟงั คนอ่ืน ตามท่ไี ดร้ บั ส่วนร่วมใน 15 มอบหมาย คะแนน การปรบั ปรุง ผลงานกลมุ่ 321321321321321 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมนิ ............./.................../............... ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมา่ เสมอ ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครง้ั ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ากวา่ 8 ปรบั ปรงุ แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คาช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งทีต่ รงกับ ระดับคะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน อนั พงึ ประสงค์ด้าน 321 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยนื ตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาติได้ 1.2 เข้ารว่ มกิจกรรมท่สี รา้ งความสามคั คปี รองดอง และเป็นประโยชน์ ต่อโรงเรียน 1.3 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทางศาสนาทต่ี นนับถือ ปฏิบัตติ ามหลกั ศาสนา 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมทเ่ี กีย่ วกับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามทโ่ี รงเรยี นจัดข้ึน 2. ซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต 2.1 ใหข้ ้อมลู ทถี่ กู ตอ้ งและเป็นจรงิ 2.2 ปฏิบัตใิ นส่งิ ท่ถี กู ต้อง 3. มวี ินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคบั ของครอบครัว มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบตั กิ จิ กรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจาวัน 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 รจู้ กั ใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ และนาไปปฏิบตั ิได้ 4.2 รู้จกั จดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชอื่ ฟงั คาสั่งสอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โต้แยง้ 4.4 ตั้งใจเรียน 5. อยอู่ ย่างพอเพียง 5.1 ใชท้ รัพย์สนิ และส่งิ ของของโรงเรยี นอย่างประหยัด 5.2 ใช้อปุ กรณ์การเรียนอยา่ งประหยัดและรคู้ ณุ คา่ 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมกี ารเกบ็ ออมเงิน 6. มุ่งม่นั ในการทางาน 6.1 มีความตง้ั ใจและพยายามในการทางานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไมท่ อ้ แทต้ ่ออุปสรรคเพือ่ ใหง้ านสาเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจติ สานึกในการอนุรกั ษ์วฒั นธรรมและภูมิปญั ญาไทย 7.2 เห็นคุณคา่ และปฏิบตั ติ นตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักชว่ ยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครูทางาน 8.2 รจู้ กั การดูแลรกั ษาทรัพย์สมบัตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มของห้องเรียนและโรงเรยี น เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลงชอื่ .................................................. ผู้ประเมนิ พฤตกิ รรมทีป่ ฏบิ ัติชัดเจนและสม่าเสมอให้ 3 คะแนน ............/.................../................ พฤตกิ รรมท่ีปฏิบตั ชิ ัดเจนและบอ่ ยครั้งให้ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั บิ างครั้งให้ 1 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 51–60 ดมี าก 41–50 ดี 30–40 พอใช้ ต่ากว่า 30 ปรับปรุง
Search