Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Ef เมย63

Ef เมย63

Published by Pranom Rattanavaraha, 2021-03-12 09:33:36

Description: Ef เมย63

Search

Read the Text Version

รายงานภาวะเศรษฐกจิ การคลังจงั หวัดภูเกต็ Phuket Economic & Fiscal Report 0- ฉบบั ที่ 4/2563 รายงานภาวะเศรษฐกจิ การคลังจงั หวัดภเู ก็ตประจาเดือน เมษายน 2563 “เคร่ืองช้ีเศรษฐกิจจังหวัดในเดือนเมษายน 2563 บ่งช้ีเศรษฐกิจโดยรวมหดตัวรุนแรงจากเดือนก่อนหน้า เป็นผลจากเคร่อื งช้ีเศรษฐกิจ ด้านอุปทานหดตัว โดยพิจารณาจากเครื่องช้ีผลผลิตภาคบริการซ่ึงเป็นโครงสร้างเศรษฐกิจหลักของ จังหวัดหดตัวสูง โดยเป็นผลจากการแพร่ระบาดของ COVID-19 ท่ีรุนแรงขึ้นและมาตรการควบคุมการระบาดของโรค COVID-19 ท่ี เข้มงวด ส่งผลให้ธุรกิจบริการหลายหมวดตอ้ งหยุดดาเนินกจิ การชวั่ คราว ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมหดตัว ผลจากผู้ประกอบการหลาย รายหยุดการผลิตชวั่ คราว ขณะท่ีด้านผลผลติ ภาคเกษตรกรรมขยายตัว จากปริมาณกุ้งและสตั ว์น้ารวมเพ่ิมขึ้น ผลจากอียูปลดใบเหลือง (ไอยูยู) ส่งผลให้ภาคการประมงเป็นไปในทิศทางท่ีดีข้ึน ด้านอุปสงค์หดตัว จากดัชนีการบริโภคภาคเอกชนหดตัว ลดลงตามการใช้จ่าย เกือบทุกหมวด จากปัจจัยสนับสนุนกาลังซ้ืออ่อนแอลง ทั้งในด้านรายได้ การจ้างงาน และความเชื่อมั่นของผู้บริโภค ดัชนีด้านการลงทุน ภาคเอกชนหดตัวสูงต่อเน่ืองตามการลงทุนในหมวดยอดจดทะเบียนรถยนต์ที่ใช้ในการพาณิชย์และพ้ืนที่อนุญาตก่อสร้าง อย่างไรก็ดี ดัชนีการใช้จ่ายภาครฐั ขยายตวั ร้อยละ 50.0 ผลจากการเบิกจา่ ยรายจา่ ยประจา จานวน 252.7 ลา้ นบาท ขยายตวั ร้อยละ 96.9 เปน็ ผลจากผล การเบิกจ่ายค่าตอบแทนของบุคลากรของกระทรวงสาธารณสุข เสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อหดตัวอยู่ที่ร้อยละ -3.3 จากหมวดอื่นๆ ไมใ่ ชอ่ าหารและเคร่ืองดม่ื ลดลง การจา้ งงานหดตัวร้อยละ -6.0” เศรษฐกิจด้านอุปทาน (การผลิต) มีสัญญาณหดตัวสูงจากเดือนก่อนหน้า สะท้อนจากเครื่องช้ีผลผลิตภาคบริการหดตัว โดยดัชนีภาคบริการหดตัวสูงขึ้นร้อยละ -80.8 โดยเป็นผลจากการแพร่ระบาดของ COVID-19 ที่รุนแรงข้ึนและมาตรการควบคุม การระบาดของโรค COVID-19 ที่เข้มงวด ส่งผลให้ธุรกิจบริการหลายหมวดต้องหยุดดาเนินกิจการช่ัวคราว อาทิ ธุรกิจโรงแรมและ ภัตตาคารบางส่วน ธุรกิจขนส่งผู้โดยสาร ธุรกิจบันเทิง และธุรกิจการค้า อย่างไรก็ดีมีบางธุรกิจที่ได้รับผลเชิงบวกจากการระบาด ของโรค COVID-19 และมาตรการความคุมการแพร่ระบาด อาทิ ธุรกิจ e-commerce ธุรกิจส่งอาหารและพัสดุด่วนรวมทั้งธุรกิจการเงิน ท่ีปรับดีขึน้ ตามความต้องการสภาพคล่องและประกันชีวิต ด้านการผลติ ภาคอุตสาหกรรมหดตัวรอ้ ยละ -27.3 เน่ืองจากอุปสงคท์ ่ีอ่อนแอ ลงมาก และความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ ทาให้ผู้ประกอบการหลายรายหยุดการผลิตชั่วคราวในช่วงเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม ในขณะที่การผลิตภาคเกษตรกรรมขยายตัวร้อยละ 93.4 จากปริมาณกุ้งและสัตว์น้ารวมเพ่ิมข้ึน โดยเป็นกุ้งกุลาดาเป็นส่วนใหญ่ สาหรบั ยางพาราในเดือนน้ไี ม่มผี ลผลิต เพราะเป็นชว่ งปดกรีด เครอื่ งชี้เศรษฐกจิ ด้านอปุ ทาน ปี ปี 2563 (Supply Side)(สัดส่วนต่อ GPP) 2562 Q1 ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. YTD ดชั นีผลผลติ ภาคเกษตรกรรม (yoy%) -9.9 7.4 0.0 5.4 93.4 20.6 (โครงสร้างสดั สว่ น 3.0%) ดชั นีผลผลติ ภาคอตุ สาหกรรม (yoy%) -1.2 -2.1 -10.4 -12.5 -27.3 -8.3 (โครงสร้างสดั สว่ น 3.0%) ดชั นผี ลผลติ ภาคบริการ (yoy%) -5.4 -14.3 -4.5 -39.8 -80.8 -28.09 (โครงสรา้ งสดั สว่ น 94.0%) เศรษฐกิจด้านอุปสงค์(การใช้จ่าย) มีสัญญาณหดตัว สะท้อนจากดัชนีการบริโภคภาคเอกชนหดตัวร้อยละ -80.6 โดยเป็นการหดตัวสูงในเกือบทุกหมวด ทั้งสินค้าอุปโภคบริโภค เครื่องด่ืมแอลกอฮอล์และยาสูบ และน้ามันเชื้อเพลิง สอดคล้องกับปัจจัย สนับสนุนกาลังซ้ือที่อ่อนแอลงมาก รายได้ของครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรค COVID-19 หดตัวสูงขึ้น ความเชื่อม่ัน ของผู้บริโภคอยู่ในระดับต่าสุด จากความกังวลต่อโรค COVID-19 ประกอบกับประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน และมาตรการควบคุมโรคระบาด

-2- ที่เข้มงวด มีการเล่ือนวันหยุดช่วงเทศกาลสงกรานต์ การปิดเมืองและพื้นที่ระหว่างตาบล ทั้งน้ีปริมาณการใช้ไฟฟ้ายังขยายตัวได้หลัง ประชาชนอยู่บ้านและทางานจากบ้านกันมากขึ้น อย่างไรก็ดีในเดือนนี้ภาครัฐมีการทยอยจ่ายเงิน โอนเงินเยียวยาในโครงการเราไม่ทิ้งกัน เปน็ เดือนแรกให้กับผ้ไู ดร้ ับผลกระทบจากสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรค COVID-19 ดัชนดี ้านการลงทุนภาคเอกชนหดตัว ร้อยละ -5.4 หดตัวสูงต่อเน่ืองตามการลงทุนในหมวดยอดจดทะเบียนรถยนต์ที่ใช้ในการพาณิชย์และพ้ืนที่อนุญาตก่อสร้าง โดยอุปสงค์และอุปทาน อ่อนแอลงสง่ ผลให้ผลประกอบการและความเชื่อม่นั ของภาคธุรกิจลดลงมาก อย่างไรก็ดีรัฐบาลมมี าตรการช่วยเหลือผู้ประกอบการท่ไี ดร้ ับ ผลกระทบจากสถานการณ์เช้อื ไวรสั COVID-19 โดยการปล่อยสินเช่ือให้ผู้ประกอบการเพ่ือเพ่มิ สภาพคล่องให้กับธุรกิจ ในขณะท่ีดัชนีการ ใช้จ่ายภาครัฐขยายตัวร้อยละ 50.0 ผลจากการเบิกจ่ายรายจ่ายประจา จานวน 252.7 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 96.9 เป็นผลจากผลการ เบิกจ่ายค่าตอบแทนของบุคลากรของกระทรวงสาธารณสุขสูงถึงร้อยละ 95.0 อาทิ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขและ กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ในขณะท่ีการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน จานวน 11.4 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -83.7 ผลจากจังหวัดภูเก็ตมีข้อจากัด เรอื่ งห้ามข้ามเขตระหว่างตาบล เครอื่ งชี้เศรษฐกจิ ด้านอปุ สงค์ ปี ปี 2563 (Demand Side) 2562 Q1 ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. YTD ดชั นกี ารบริโภคภาคเอกชน (yoy%) 2.3 -1.7 5.0 -18.1 -80.6 -21.8 ดชั นกี ารลงทนุ ภาคเอกชน (yoy%) -6.0 5.2 15.2 -4.2 -5.4 0.8 ดชั นกี ารใชจ้ ่ายภาครฐั (yoy%) -2.2 -21.3 -37.3 -23.5 50.0 -5.7 หมายเหตุ E หมายถงึ ขอ้ มลู ประมาณการ ด้านรายได้เกษตรกรในจังหวัด รายได้เกษตรกรในเดือนน้ีขยายตัวร้อยละ 148.3 จากฐานปี พ.ศ. 2562 ต่าเนื่องจาก ในปีท่ีผ่านมาไทยมีข้อจากัดเรื่อง กลุ่มสหภาพยุโรป (EU) ยื่นคาขาดให้ประเทศไทยปฏิรูปนโยบายเร่ืองการประมงที่ผิดกฎหมาย ท่ีไม่มีการ รายงาน และท่ีไม่มีกฎข้อบังคับ หรือที่เรียกย่อๆ ว่า IUU ให้ไทย แต่เมื่อต้นปี พ.ศ. 2563 ไทยได้แก้ปัญหาจนทาให้สหภาพยุโรปเห็นว่า ไทยมีกลไกแก้ไขปัญหาการทาประมงผิดกฎหมายท่ีเข้มแข็งท่ีสุดในภูมิภาค และสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับประเทศต่าง ๆ ที่มีปัญหา เดียวกันได้ส่งผลให้ภาคการประมงเป็นไปในทิศทางที่ดี ประกอบกับมีการขึ้นปลาทูน่ามูลค่ากว่า 20 ล้านบาท ทาให้มูลค่าสัตว์น้ารวมเฉล่ีย สูงขึน้ ตาม ด้านการเงนิ ปรมิ าณสนิ เชอื่ รวม ณ ส้ินเดือนเมษายน 2563 เท่ากับ 221,089.6 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 3.1 และเงนิ ฝากรวม เท่ากับ 176,190.7 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 2.1 เครอ่ื งชี้ด้านรายได้เกษตรกร ปี ปี 2563 YTD และด้านการเงิน 2562 Q1 ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. ดชั นรี ายไดเ้ กษตรกร (yoy%) -18.1 3.6 7.8 -3.6 148.3 19.0 ปรมิ าณเงินฝาก (yoy%) 2.4 5.5 3.1 5.5 2.1E 2.7 E ปรมิ าณสนิ เชอ่ื (yoy%) 0.6 1.7 1.5 1.9 3.1E 3.7 E หมายเหตุ E หมายถงึ ข้อมูลประมาณการ เสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อหดตัวร้อยละ -3.3 เป็นผลจากหมวดอื่นๆไม่ใช่อาหารและเคร่ืองดื่มลดลง ได้แก่ หมวดพาหนะ การขนส่งและการสื่อสาร หมวดเคหสถาน หมวดการบันเทิงการอ่าน การศึกษาและการศาสนา หมวดเคหสถาน หมวดเครอ่ื งนงุ่ และรองเทา้ ลดลง การจ้างงานในเดือนเมษายน 2563 อยใู่ นอัตราหดตวั รอ้ ยละ -6.0

-3- ด้านการคลัง ผลการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมในเดือนเมษายน 2563 มีจานวน 264.1 ล้านบาท ขยายตัว ร้อยละ 33.5 เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ผลจากการเบิกจ่ายรายจ่ายประจา จานวน 252.7 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 96.9 และการเบิกจา่ ยรายจ่ายลงทนุ จานวน 11.4 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -83.7 สาหรับผลการจัดเก็บรายได้ในเดือนเมษายน 2563 มีจานวนท้ังสิ้น 327.2 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -74.3 เม่ือเทียบกับ เดือนเดียวกันของปีก่อน โดยผลการจัดเก็บรายได้ลดลงในทุกหน่วยงาน อย่างไรก็ดีดุลเงินงบประมาณในเดือนเมษายน 2563 เกนิ ดุลจานวน 63.2 ลา้ นบาท ผลการเบิกจา่ ยงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เครอื่ งชีภ้ าคการคลัง ปงี บประมาณ Q1 Q2 ปงี บประมาณ (FY) เม.ย. YTD (FY) 2,981.8 3,253.4 พ.ศ. 2563 327.2 6,562.4 รายไดจ้ ัดเก็บ (ล้านบาท) -74.3 -13.2 (%yoy) พ.ศ. 2562 4.8 -5.6 ก.พ. ม.ี ค. ความแตกตา่ งเทยี บกับประมาณการ 14,194.2 1,116.1 895.8 -13.8 (ลา้ นบาท) 527.3 -868.3 รอ้ ยละความแตกต่างเทียบกบั ประมาณ -9.9 -0.7 -24.0 การ (%) รายได้นาส่งคลงั (ล้านบาท) 1,671.3 80.0 -1,215.4 -1,844.4 (%yoy) รายจ่ายรวม (ลา้ นบาท) 13.4 21.5 -21.1 7.7 -57.6 -84.9 -0.2 (%yoy) 14,196.6 2,987.5 3,254.0 1,116.0 896.0 327.3 6,568.8 -9.9 4.9 -5.6 -0.7 -24.0 -74.2 -13.2 466.3 527.3 108.1 264.8 264.1 1,257.6 2,887.7 -20.2 -26.7 -46.8 -23.9 33.5 -16.2 2.4 สะสมตั้งแต่ตน้ ปีงบประมาณจนถงึ สนิ้ เดอื นเมษายน 2563 รายการ งบประมาณ ผลการเบิกจา่ ยจริง หน่วย : ลา้ นบาท ทไ่ี ด้รับจดั สรร รอ้ ยละ 1.รายจ่ายจรงิ ปงี บประมาณปัจจบุ ัน 3,923.8 1,257.6 การเบิกจ่าย 32.1 1.1 รายจา่ ยประจา 2,566.8 1,063.6 41.4 14.3 1.2 รายจา่ ยลงทุน 1,357.0 194.0 2.รายจา่ ยงบประมาณเหลื่อมปี 1,824.4 753.5 2.1 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 835.1 450.2 2.2 กอ่ นปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 989.3 303.3 3. รวมการเบกิ จ่าย (1+2) 5,748.2 2,011.1 ทม่ี า : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงนิ การคลังภาครัฐแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS)

-4- กราฟผลการเบกิ จ่ายงบประมาณภาพรวม ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สะสมตั้งแตต่ น้ ปีงบประมาณถึงสนิ้ เดอื นเมษายน 2563 ทมี่ า : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงนิ การคลงั ภาครัฐแบบอิเล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS) กราฟผลการเบิกจ่ายงบประมาณลงทุน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ต้งั แต่ต้นปีงบประมาณจนถึงสน้ิ เดอื นเมษายน 2563 ท่มี า : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลงั ภาครฐั แบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (GFMIS)

-5- ผลการเบิกจ่ายงบลงทุนของหน่วยงานท่ไี ดร้ บั งบประมาณจดั สรรตัง้ แต่ 10 ถึง 100 ลา้ นบาท สะสมต้ังแต่ตน้ ปงี บประมาณจนถงึ สนิ้ เดือนเมษายน 2563 หนว่ ย : ล้านบาท ลาดบั ที่ หน่วยงาน งบประมาณ ก่อหนี้ รอ้ ยละ ผลการเบิก ร้อยละ ทไี่ ด้รบั จดั สรร การก่อหนี้ จ่ายจริง การเบกิ จ่าย 1. โครงการชลประทานภูเกต็ 44.2 17.0 38.4 0.5 1.1 2. สานกั งานโยธาธกิ ารและผงั เมอื งจงั หวัดภูเก็ต 12.6 1.3 10.3 0.0 0.0 3. สานักงานส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถ่นิ จังหวดั ภูเก็ต 63.7 0.0 0.0 0.1 0.1 4. โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 36 27.5 20.4 74.2 0.9 3.3 5. วทิ ยาลยั เทคนคิ ถลางจังหวดั ภเู กต็ 27.2 22.0 80.9 4.1 14.9 6. วทิ ยาลัยเทคนิคภูเก็ต 43.6 6.5 14.9 0.0 0.0 7. สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดภเู ก็ต 19.0 3.5 18.4 0.0 0.0 8. มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั ภูเกต็ 90.7 9.4 10.4 0.2 0.3 ทม่ี า : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงนิ การคลงั ภาครัฐแบบอิเล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS) หนว่ ยงานที่มรี ายจ่ายลงทุน วงเงินตง้ั แต่ 10 ถงึ 100 ล้านบาท จานวน 8 หนว่ ยงาน รวมรายจา่ ยลงทนุ 328.5 ลา้ นบาท คดิ เปน็ ร้อยละ 24.2 ของรายจา่ ยลงทุนท่ไี ด้รบั จดั สรรทั้งหมด ผลการเบกิ จา่ ยงบลงทนุ ของหน่วยงานทไี่ ด้รับงบประมาณจดั สรรต้ังแต่ 100 ลา้ นบาทขน้ึ ไป สะสมตงั้ แต่ตน้ ปงี บประมาณจนถงึ สิ้นเดือนเมษายน 2563 หนว่ ย : ล้านบาท ลาดับที่ หน่วยงาน งบประมาณ ก่อหน้ี รอ้ ยละ ผลการเบิก รอ้ ยละ ทีไ่ ดร้ ับจดั สรร การก่อหน้ี จา่ ยจรงิ การเบิกจา่ ย 1. แขวงทางหลวงภูเก็ต 279.8 13.3 4.8 24.9 8.9 2. แขวงทางหลวงชนบทภูเก็ต 153.6 93.6 60.9 15.6 10.1 3. โรงพยาบาลวชริ ะภเู ก็ต 138.1 19.5 14.1 0.0 0.0 4. กลุ่มจงั หวัดภาคใตฝ้ ัง่ อนั ดามัน 259.3 0.0 0.0 0.0 0.0 5. สานกั งานจังหวดั ภเู กต็ 277.1 4.3 1.6 139.6 50.4 ทม่ี า : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงนิ การคลังภาครฐั แบบอเิ ล็กทรอนิกส์ (GFMIS) หน่วยงานที่มรี ายจ่ายลงทนุ วงเงนิ ตงั้ แต่ 100 ลา้ นบาทข้ึนไป จานวน 5 หนว่ ยงาน รวมรายจา่ ยลงทุน 1,107.9 ลา้ นบาท คดิ เปน็ ร้อยละ 81.6 ของรายจา่ ยลงทุนที่ได้รบั จดั สรรท้งั หมด

-6- เคร่ืองชี้ภาวะเศรษฐกจิ การคลงั จงั หวดั (Economic and Fiscal) รายเดอื น ตารางท่ี 1 เครอื่ งชเี้ ศรษฐกจิ จงั หวดั เครอ่ื งชี้เศรษฐกจิ หน่วย ปี 2562 ปี 2563 ก.พ. มี.ค. Q1 เม.ย. YTD เศรษฐกจิ ด้านอปุ ทาน ดัชนีผลผลติ ภาคเกษตรกรรม %yoy -9.9 7.4 0.0 5.4 93.4 20.6 (โครงสรา้ งสดั สว่ น 3.0 %) ปริมาณผลผลิต : ยาง ตนั 776.2 142.2 41.9 16.2 0.0 142.2 0.0 -41.5 %yoy -40.2 -41.53 -61.4 -31.3 248.4 917.1 139.7 24.7 ปรมิ าณผลผลิต : กงุ้ ตนั 2,271.7 668.7 239.9 222.1 4,996.5 19,652.8 46.6 40.3 %yoy -1.3 5.8 -0.3 8.2 ปรมิ าณสัตวน์ ้ารวม ตนั 32,002.6 14,656.3 4,635.9 4,934.9 %yoy -0.1 38.3 56.7 6.0 ดัชนีผลผลติ ภาคอตุ สาหกรรม %yoy -1.2 -2.1 -10.4 -12.5 -27.3 -8.3 (โครงสรา้ งสดั สว่ น 3.0 %) ปริมาณการใชไ้ ฟฟา้ ภาคอตุ สาหกรรม ล้าน kwh 1,147.5 306.7 93.9 100.7 67.0 373.7 -32.9 -5.0 %yoy 0.6 4.5 1.9 -3.7 10,249.6 10,249.0 -4.8 -4.8 ทุนจดทะเบียนของโรงงานอตุ สาหกรรม ล้านบาท 10,217.2 10,227.7 10,227.7 10,249.0 271.0 271.0 -42.2 -42.2 %yoy -4.8 -4.7 -4.7 -4.8 จ้านวนโรงงานอตุ สาหกรรม แห่ง 268.0 271.0 269.0 271.0 %yoy -42.9 -42.2 -42.5 -42.2 ดัชนีผลผลติ ภาคบรกิ าร (โครงสรา้ ง %yoy -5.4 -14.3 -4.5 -39.8 -80.8 -28.1 สดั สว่ น 94.0%) จา้ นวนนักท่องเท่ียวผา่ นดา่ นต.ม.ทางน้า คน 339,286.0 60,356.0 16,209.0 675.0 0.0 60,356.0 -100.0 -65.2 %yoy -12.1 -58.5 -71.3 -98.4 191.0 -98.0 24,867.0 จา้ นวนเที่ยวบินขึน-ลงท่ีจังหวดั เท่ียว 115,576.0 24,676.0 8,028.0 5,944.0 9,990.0 -39.5 -99.4 %yoy -2.3 -21.6 -18.8 -44.7 3,847,929.0 5.9 -44.3 จา้ นวนนักท่องเท่ียวเขา้ - ออกสนามบิน คน 18,089,700.0 3,837,939.0 1,219,233.0 716,069.0 -68.6 77.7 -19.6 %yoy -0.6 -28.2 -30.8 -59.2 ภาษบี ้ารุงท้องถิ่นจากโรงแรม ลา้ นบาท 189.4 71.8 30.2 16.7 %yoy -8.3 -7.8 6.7 -31.4 เศรษฐกจิ ด้านอปุ สงค์ ดัชนีการบรโิ ภคภาคเอกชน %yoy 2.3 -1.7 5.0 -18.1 -80.6 -21.8 10,873.0 3,021.0 1,029.0 925.0 285.0 3,306.0 จา้ นวนรถยนตน์ ั่งส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ คนั -59.9 377.0 -8.4 %yoy -1.8 4.1 22.2 1.1 -77.7 6,299.0 105.5 -21.2 จา้ นวนรถจักรยานยนตจ์ ดทะเบียนใหม่ คนั 22,479.0 5,922.0 2,024.0 1,952.0 -81.6 1,710.2 -5.4 -22.6 %yoy -14.2 -6.0 -4.2 -24.6 55,461.0 -44.2 0.8 ภาษมี ลู คา่ เพิม่ ท่ีจัดเกบ็ ได้ ลา้ นบาท 5,642.6 1,604.7 602.4 427.1 99.0 450,188.0 -61.9 %yoy 2.7 -2.1 4.1 -19.2 66,326.9 -0.6 3.1 1,089.0 ดัชนีการลงทนุ ภาคเอกชน %yoy -6.0 5.2 15.2 -4.2 -28.7 66,711.1 พืนที่กอ่ สรา้ งทังหมด ตรม. 1,910,358.0 394,727.0 170,695.0 125,996.0 3.7 %yoy -7.5 11.7 92.9 -21.7 รถยนตท์ ี่จดทะเบียนใช้ในการพาณิชย์ คนั 4,009.0 990.0 286.0 294.0 %yoy -8.8 -21.9 -18.5 -22.4 สนิ เชื่อเพอ่ื การลงทุน ลา้ นบาท 65,596.0 66,711.1 66,212.0 66,711.1 %yoy 0.6 1.7 1.5 1.9

-7- เครอื่ งชเี้ ศรษฐกิจ หน่วย ปี 2562 ปี 2563 ม.ี ค. ดัชนีใชจ้ ่ายภาครฐั %yoy -2.2 ธ.ค. ก.พ. -23.5 เม.ย. YTD 1,775.9 -21.3 -37.3 166.1 รายจ่ายประจ้าภาครัฐ ล้านบาท -0.7 415.0 104.5 -22.3 50.0 -5.7 993.8 -5.1 -5.0 98.7 252.7 667.7 %yoy -6.0 112.3 3.6 -26.5 96.9 18.1 -60.2 -96.1 11.4 123.6 รายจ่ายลงทนุ ภาครัฐ ล้านบาท -18.1 -3.6 -83.7 -64.8 -11.9 3.6 7.8 -17.3 %yoy 8.0 -11.2 -5.8 -24.5 -13.1 -5.4 12.2 83.3 ด้านรายได้ (Income) 45.3 78.8 167,839.1 177,239.8 ดชั นีรายไดเ้ กษตรกร %yoy 2.4 177,239.8 175,859.5 5.5 148.3 19.0 218,653.2 5.5 3.1 0.0 -9.7 ราคาทเี่ กษตรกรขายได้เฉลี่ย : ยางพารา %yoy 0.6 222,370.3 -17.0 -8.3 222,370.3 220,706.8 1.9 89.7 57.0 ราคาทเี่ กษตรกรขายได้เฉล่ีย : ก้งุ %yoy 102.4 1.7 1.5 0.1 101.2 ราคาเฉล่ียสัตวน์ ้ารวม %yoy 0.7 101.9 102.2 -1.1 0.0 0.1 0.6 0.9 ด้านการเงิน 102.3 1.5 2.3 -2.5 0.5 -0.2 1.3 102.2 ปริมาณเงนิ ฝากรวม ล้านบาท 101.5 102.6 103.3 0.2 176,190.8E 177,239.8E -1.0 0.8 1.6 100.0 2.7 %yoy 324,665.0 100.9 101.2 -2.0 2.1 1.5 -0.4 0.1 330,543.0 221,089.6E 222,370.3E ปริมาณสินเช่ือรวม ล้านบาท 330,543.0 330,543.0 1.8 3.7 1.8 1.8 3.1 %yoy ดา้ นเสถียรภาพเศรษฐกิจ (stability) ดัชนรี าคาผู้บริโภคทวั่ ไป 99.2 101.2 -3.3 -0.7 (อัตราเงินเฟ้อทั่วไป) %yoy 1.8 1.6 -2.1 -0.7 - อาหารและเครื่องด่มื %yoy 103.2 102.8 1.1 0.8 - ไม่ใช่อาหารและเคร่ืองด่ืม %yoy 98.3 100.3 -4.3 -1.4 ดัชนรี าคาผู้บริโภคพืนฐาน 297,125.0E 330,543.0E -6.0 1.8 (อัตราเงนิ เฟ้อพืนฐาน) %yoy ดัชนรี าคาผู้ผลิต (อัตราการเปลี่ยนแปลง) %yoy การจ้างงาน (Eployment) คน %yoy หมายเหตุ : 1. สนิ เช่ือเพื่อการลงทุนคานวณจาก(สนิ เชือ่ รวม*100/30)) 2. Q1 คอื ขอ้ มูลสะสมไตรมาสท่ี 1 (ม.ค.–มี.ค.) 3. Q2 คือ ขอ้ มูลสะสมไตรมาสท่ี 2 (เม.ย.–มิ.ย.) 4. Q3 คือ ขอ้ มลู สะสมไตรมาสที่ 3 (ก.ค.–ก.ย.) 5. Q4 คือ ขอ้ มูลสะสมไตรมาสที่ 4 (ต.ค.–ธ.ค.) 6. E คอื ขอ้ มลู ประมาณการ 7. การจา้ งงาน : ประมาณการจากอัตราการขยายตวั ของจานวนผมู้ ีงานทาในระบบประกันสังคม

-8- ตารางท่ี 2 เครื่องช้ภี าคการคลัง เครื่องชภี้ าคการคลัง ปงี บประมาณ Q1 Q2 ปงี บประมาณ (FY) หนว่ ย พ.ศ. 2562 (FY) พ.ศ. 2563 ก.พ. มี.ค. เม.ย. YTD (FY) ภาคการคลงั รายไดจ้ ัดเก็บ ล้านบาท 14,194.2 2,981.9 3,253.4 1,116.1 895.8 327.2 6,562.4 %yoy -9.9 4.8 -5.6 -0.7 -24.0 -74.3 -13.2 สรรพากรพน้ื ท่ี ลา้ นบาท 13,502.9 2,789.3 3,033.9 1,047.5 855.5 305.9 6,129.2 %yoy 4.0 7.1 -7.1 -3.7 -25.1 -75.3 -13.8 สรรพสามติ พนื้ ท่ี ลา้ นบาท 99.4 24.3 28.6 11.8 7.9 0.3 53.2 %yoy 22.3 -8.6 -5.1 2.9 -18.3 -96.0 -17.6 ด่านศุลกากร ลา้ นบาท 99.5 33.6 33.7 11.8 7.2 0.3 67.6 %yoy 38.8 49.8 88.3 100.6 13.8 -91.3 52.6 ธนารักษพ์ นื้ ที่ ล้านบาท 86.4 11.7 15.5 6.6 2.1 1.3 28.4 %yoy 84.6 113.6 -76.5 79.3 -26.2 -5.0 -60.8 หนว่ ยราชการอ่นื ๆ ลา้ นบาท 406.1 123.0 141.7 38.4 23.1 19.3 284.0 %yoy -84.2 -34.5 117.9 147.0 29.9 1.1 4.5 รายไดน้ าส่งคลัง ลา้ นบาท 14,196.6 2,987.5 3,254.0 1,116.0 896.0 327.3 6,568.8 %yoy -9.9 4.9 -5.6 -0.7 -24.0 -74.2 -13.2 รายจ่ายเงินงบประมาณรวม ลา้ นบาท 2,887.7 466.3 527.3 108.1 264.8 264.1 1,257.6 %yoy 2.4 -20.2 -26.7 -46.8 -23.9 33.5 -16.2 ดลุ เงินงบประมาณ ลา้ นบาท 11,308.9 2,521.2 2,726.8 1,007.8 631.1 63.2 5,311.2 หมายเหตุ : FY คือ ปงี บประมาณ (ต.ค. – ก.ย.) YTD (FY) คอื ยอดสะสมตง้ั แตต่ ้นปีงบประมาณ ถึงเดอื นลา่ สดุ ท่ีนาเสนอ Q1 (FY) คอื ยอดสะสมต้ังแตเ่ ดือนตลุ าคม ถึงเดือนธนั วาคม (ต.ค. – ธ.ค. 2562) Q2 (FY) คอื ยอดสะสมตง้ั แตเ่ ดือนมกราคม ถึงเดือนมนี าคม (ม.ค. – มี.ค. 2563) Q3 (FY) คอื ยอดสะสมต้ังแตเ่ ดอื นเมษายน ถึงเดือนมิถนุ ายน (เม.ย.– มิ.ย. 2563) Q4 (FY) คือ ยอดสะสมต้ังแตเ่ ดอื นกรกฎาคม ถงึ เดือนกนั ยายน (ก.ค. – ก.ย. 2563)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook