Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ม.๒

โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ม.๒

Published by Nan Onpreeya Sungwantong, 2021-09-15 04:33:39

Description: โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ม.๒

Search

Read the Text Version

โรงเรียนบริบรู ณศ์ ิลป์ รงั สิต โคลงภาพ พระราชพงศาวดาร ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 2 ครอู รปรียา สงั วาลยท์ อง กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564 วรรณคดีและวรรณกรรม วิชาภาษาไทย

คำนำ หนังสือเล่มน้ีจัดทำขึ้นเพ่ือเป็นส่วนหนึ่งของวิชำภำษำไทย ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๒ เพ่ือให้ได้ศึกษำหำ ควำมรู้ในเร่ืองโคลงภำพพระรำชพงศำวดำร และได้ศึกษำอย่ำงเข้ำใจเพื่อเป็นประโยชน์กับกำรเรียนต่อไป ซ่ึง ประกอบไปด้วยควำมเป็นมำ ประวัติผู้แต่ง ลักษณะคำประพันธ์ เร่ืองย่อ เนื้อเรื่อง คำศัพท์ บทวิเครำะห์ (คุณค่ำด้ำนเน้ือหำ คุณค่ำด้ำนวรรณศิลป์ คุณค่ำด้ำนสังคมและสะท้อนวิถีไทย) ข้อคิดท่ีสำมำรถนำไปใช้ใน ชวี ติ ประจำวนั ขอกรำบขอบพระคุณบิดำและมำรดำ ผู้ให้กำเนิดและเป็นครูคนแรกท่ีคอยอบรมส่ังสอน ชี้แนะ แนวทำงในกำรดำเนินชวี ิต และเปน็ กำลงั ใจยิ่งใหญแ่ ก่ผจู้ ัดทำมำโดยตลอดมำ ขอขอบพระคุณมำ ณ โอกำสน้ี ผจู้ ดั ทำหวังวำ่ หนังสอื เลม่ นจ้ี ะเป็นประโยชนก์ บั ผอู้ ่ำน หรือนักเรียน นักศึกษำ ที่กำลังหำข้อมูลเร่ือง นีอ้ ยู่หำกมีขอ้ แนะนำหรือข้อผิดพลำดประกำรใด ผู้จัดทำขอนอ้ มรบั ไวแ้ ละขออภัยมำ ณ ท่นี ้ดี ว้ ย นำงสำวอรปรยี ำ สงั วำลย์ทอง ผ้จู ัดทำ วนั ท่ี ๕ กนั ยำยน ๒๕๖๔ วรรณคดีและวรรณกรรม วิชาภาษาไทย

สำรบญั เร่ือง ประวัติของผู้แต่ง หน้ำ คำนำ ควำมเป็นมำ ก สำรบญั จดุ ประสงค์ในกำรแต่ง ข ลกั ษณะคำประพนั ธ์ ๑ - โคลงภำพพระรำชพงศำวดำรพระสุรโิ ยทยั ขำดคอชำ้ ง เนอ้ื เร่อื งยอ่ พระสรุ ิโยทยั ขำดคอชำ้ ง ๓ - โคลงประกอบภำพที่ ๑๐ ๔ - โคลงภำพพระรำชพงศำวดำรพันทำ้ ยนรสงิ ห์ถวำยชีวติ ๕ - เนอื้ เรือ่ งย่อพนั ท้ำยนรสิงห์ถวำยชีวติ ๖ - โคลงประกอบภำพท่ี ๕๖ ๗ - ศลิ ปะท่ปี รำกฏ ๘ - วฒั นธรรมทป่ี รำกฏ ๑๔ - ๑๕ - ๑๖ - ๒๐ - ๒๔ - ๒๙ บรรณำนุกรม วรรณคดีและวรรณกรรม วิชาภาษาไทย

๑ เร่ือง พระสุริโยทัยขำดคอช้ำง พระรำชนิพนธ์ (ผแู้ ต่ง) พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว เป็น พระมหำกษัตริย์รัชกำลท่ี ๕ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นพระรำชโอรส พระองค์ใหญ่ในพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัวและสมเด็จ พระเทพศริ ินทรำบรมรำชนิ ี ฝพี ระหัตถ์ (ภำพ) พลเอก สมเด็จพระเจ้ำบรมวงศ์เธอ เจ้ำฟ้ำกรมพระยำนริศ รำนุวัดติวงศ์ มีพระนำมเดิมว่ำ พระเจ้ำลูกยำเธอ พระองค์เจ้ำจิตร เจริญ เป็นพระรำชโอรสในพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ประสูติแต่พระสมั พนั ธวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้ำพรรณรำย วรรณคดีและวรรณกรรม วิชาภาษาไทย

๒ เร่ือง พันท้ำยนรสิงหถ์ วำยชวี ติ พระนพิ นธ์ (ผูแ้ ต่ง) มหำเสวกโท พระเจ้ำบรมวงศ์เธอ กรมพระนรำธิปประพันธ์ พงศ์ (20 พฤศจิกำยน พ.ศ. 2404 – 1 ตุลำคม พ.ศ. 2474) มีพระ นำมเดิมว่ำ พระเจ้ำลูกยำเธอ พระองค์เจ้ำวรวรรณำกร เป็นพระบิดำ แหง่ กำรละครร้อง เป็นพระรำชโอรสในพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำ เจ้ำอยู่หัวกับเจ้ำจอมมำรดำเขียน เป็นกวีและนักประพันธ์ ทรงดำรง ตำแหน่งรองเสนำบดีกระทรวงพระคลังมหำสมบัติ และองคมนตรีใน พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว และพระบำทสมเด็จพระ มงกุฎเกล้ำเจำ้ อย่หู วั เปน็ ตน้ รำชสกลุ วรวรรณ เขียนภำพโดย เสวกโท พระวรรณวำดวิจิตร (ทอง) จำรุวิจิตร ภำพเขียนพันท้ำยนรสิงหถ์ วำยชวี ิต ภำพที่ ๕๖ วรรณคดีและวรรณกรรม วิชาภาษาไทย

๓ ความเป็ นมา โคลงภำพพระรำชพงศำวดำร ผู้แตง่ • แผ่นดินสมเดจ็ พระมหำจักรพรรดิ พระสุริโยทัยขำดคอช้ำง (พ.ศ. ๒๐๙๑) พระรำชนิพนธ์ในรชั กำลที่ ๕ • แผ่นดินสมเดจ็ พระเจำ้ เสือ พันท้ำยนรสงิ หถ์ วำยชวี ิต (พ.ศ. ๒๒๔๙) พระนิพนธ์ในสมเด็จกรมพระนรำธิป ประพันธ์พงศ์ • ภำพพระสุรโิ ยทัยขำดคอชำ้ ง ฝีพระหตั ถ์สมเด็จพระเจำ้ บรมวงศเ์ ธอ เจำ้ ฟำ้ กรมพระยำนรศิ รำนุวตั ติวงศ์ • ภำพพนั ท้ำยนรสงิ ห์ถวำยชวี ติ เขียนโดย นำยทอง (พระวรรณวำดวจิ ิตร) ทมี่ ำ โคลงพระรำชพงศำวดำร เดิมมีจำนวน ๒๗๖ บท มีภำพประกอบเรื่องพงศำวดำร ๙๒ แผ่น พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัวโปรดให้ ช่ำงเขียนตำมเร่ืองในพระรำชพงศำวดำรทรงคัด เลือกเป็นตอน ๆ รูปขนำดใหญ่มีจำนวนโคลง ประกอบรูปละ ๖ บท รูปขนำดกลำง และขนำดเล็ก มีโคลงประกอบ รูปละ ๔ บท ทรงพระรำชนิพนธ์ บ้ำง โปรดให้พระบรมวงศำนุวงศ์ และข้ำรำชกำรซ่ึง สันทัดบทกลอนแต่ถวำยบ้ำง ได้สร้ำงสำเร็จและได้ โปรดให้นำไปประดับพระเมรุท้องสนำมหลวงให้ ประชำชนชม เมื่อปี พ.ศ.๒๔๓๐ วรรณคดีและวรรณกรรม วิชาภาษาไทย

๔ จุดประสงคใ์ นการแต่ง โคลงภำพพระรำชพงศำวดำร จุดประสงคใ์ นกำรแตง่ ๑. พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ทรงมีพระรำชประสงค์จะสรรเสริญพระเกียรติ คุณของพระมหำกษัตริย์ไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยำและกรุงรัตนโกสินทร์ท่ีมีพระมหำกรุณำธิคุณต่อประเทศอย่ำง ใหญห่ ลวงในดำ้ นต่ำง ๆ ๒. พระบำทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ทรงมพี ระรำชประสงค์จะเชดิ ชเู กยี รติหมู่เสวกำมำตย์ที่มี ควำมกล้ำหำญ สจุ รติ และกตัญญูต่อแผ่นดิน ๓. เพ่ือสง่ เสริมและเชิดชูกำรฝีมือของงำนช่ำง ไทย ดังคำกล่ำวว่ำ “หน่ึงพระประสงค์จะบำรุง ผดุง ฝีมือช่ำงสยำม รจเรขงำมเอี่ยมสะอำด เชิงฉลำดลำย ประดิษฐ์ ล้วนวิจิตรพงึ ชม” ๔. เพ่ือส่งเสริมและเชิดชูศิลปะกำรประพันธ์อย่ำงไทย ดังคำกล่ำวว่ำ “หนึ่งพระบรมรำช ประสงค์ จะใคร่ทรงทำนุก ปลุกปรีชำเชิงฉลำด แห่งนักปรำชญ์กำพย์โคลง เพื่อชระโลงชูเชิด เพ่ือ บรรเจิดเกียรตยิ ศ ให้ปรำกฏยำววัน” วรรณคดีและวรรณกรรม วิชาภาษาไทย

๕ ลักษณะคำประพันธ์ โคลงภำพพระรำชพงศำวดำร โคลงสสี่ ภุ ำพ ขอ้ บงั คับของโคลงสส่ี ภุ ำพ (สังเกตจำกแผนผงั ) ๑. บทหนง่ึ มี ๔ บรรทดั ๒. วรรคหน้ำของทุกบรรทดั มี ๕ พยำงค์ วรรคหลังของบรรทัดท่ี ๑ - ๓ มี ๒ พยำงค์ บรรทัดท่ี ๔ มี ๔ พยำงค์ สำมำรถท่องจำนวนพยำงค์ไดด้ งั น้ี หำ้ -สอง (สร้อย ๒ พยำงค์ มกั ลงท้ำยด้วย นำ แฮ เฮย เพ่อื รับคำ ต่อคำ เช่ือมคำ ) ห้ำ- สอง หำ้ - สอง (สร้อย ๒ พยำงค์ มักลงทำ้ ยด้วย นำ แฮ เฮย เพ่อื รับคำ ตอ่ คำ เชื่อมคำ ) หำ้ - ส่ี (หำกจะให้เกดิ ควำมไพเรำะในกำรอำ่ นนยิ มลงเสยี งจัตวำ) ๓. มตี ำแหน่งสมั ผสั ตำมเสน้ โยง ๔. บงั คบั รปู วรรณยุกต์ เอก ๗ โท ๔ ตำมตำแหนง่ ในแผนผงั ๕. กรณที ไ่ี ม่สำมำรถหำพยำงค์ท่มี ีรูปวรรณยกุ ตต์ ำมต้องกำรได้ให้ใช้ วรรณคดแี ละวรรณกรรม วิชำภำษำไทย

๖ โคลงภำพพระรำชพงศำวดำร โคลงประกอบภำพท่ี ๑๐ ภำพพระสรุ โิ ยทยั ขำดคอช้ำง วรรณคดแี ละวรรณกรรม วิชำภำษำไทย

๗ เน้ือเรื่องย่อ พระสรุ โิ ยทยั ขำดคอชำ้ ง แผ่นดนิ สมเด็จพระมหำจกั รพรรดิ พระสุริโยทยั ขำดคอช้ำง (พ.ศ.๒๐๙๑) พระเจ้ำบุเรงนองกษตั ริยพ์ ม่ำยกทพั มำตกี รงุ ศรอี ยุธยำ พระมหำจักรพรรดิทรงยกทัพออกตั้ง รบั ข้ำศกึ โดยมีสมเด็จพระสรุ โิ ยทัยพระมเหสีซึ่งทรงแตง่ องค์เช่นบุรษุ ได้ตดิ ตำมพระมหำจกั รพรรดิออกรบ ดว้ ย เม่ือกองทัพของพระเจ้ำแปรกับพระมหำจักรพรรดิปะทะกัน ช้ำงทรงของพระมหำจักรพรรดิเสียทีว่ิง หนีเตลิดไป พระเจ้ำแปรจึงขับช้ำงติดตำม สมเด็จพระสุริโยทัยจึงได้ไสช้ำงทรงเข้ำไปขวำงพระเจ้ำแปร เพรำะเกรงว่ำพระมหำจักรพรรดิจะได้รับอันตรำย พระเจ้ำแปรจึงใช้ง้ำวฟันสมเด็จพระสุริโยทัย ส้ินพระชนม์บนคอช้ำง พระโอรสได้นำพระบรมศพเข้ำเมืองถึงแม้นพระสุริโย-ทัยจะเสด็จสวรรคตไป แล้วแต่วรี กรรมท่ีทำ่ นได้ทรงปฏิบตั นิ น้ั ทรงได้รับกำรสรรเสรญิ พระเกียรติคุณยังปรำกฏอยู่ตรำบชั่วนริ นั ดร์ วรรณคดแี ละวรรณกรรม วิชำภำษำไทย

๘ โคลงประกอบภำพท่ี ๑๐ พระสรุ ิโยทัยขำดคอชำ้ ง • บุเรงนองนามราชเจา้ จอมรา มญั เฮย ยกพยหุ แสนยา ย่ ิงแกลว้ มอญมา่ นประมวลมา สามสิบ หม่ืนแฮ ถึงอยุธเยศแลว้ หยุดใกลน้ ครา โคลงบทท่ี ๑ ถอดคำประพนั ธ์ บุเรงนองกษัตริย์พม่ำยกกองทัพอันมีแสนยำนุภำพกล้ำหำญยิ่ง ท้ังทัพมอญและทัพ พม่ำรวมแล้วว่ำสำมแสนคน เมือ่ ถงึ กรงุ ศรอี ยธุ ยำแลว้ หยดุ พกั นอกเมอื ง วรรณคดแี ละวรรณกรรม วิชำภำษำไทย

๙ โคลงประกอบภำพที่ ๑๐ พระสรุ ิโยทยั ขำดคอช้ำง • พระมหาจกั รพรรดิเผา้ ภูวดล สยามเฮย วางคา่ ยรายร้ีพล เพียบหลา้ ดาริจกั ใคร่ยล แรงศึก ยกนิกรทพั กลา้ ออกตงั้ กลางสมร โคลงบทที่ ๒ ถอดคำประพนั ธ์ พระมหำจักรพรรดิกษัตริย์แห่งกรุงสยำมทรงวำงกำลังพลมำกมำยเตรียมรับศึก มี พระรำชดำรจิ ะเสด็จออกไปดกู ำลังข้ำศึกจึงทรงยกองทัพออกไปต้งั กลำงสนำมรบ วรรณคดแี ละวรรณกรรม วิชำภำษำไทย

๑๐ โคลงประกอบภำพท่ี ๑๐ พระสรุ โิ ยทัยขำดคอช้ำง • บงั อรอคั เรศผู้ พิสมยั ทา่ นนา นามพระสุริโยทยั ออกอา้ ง ทรงเคร่ ื องยุทธพิไชย เชน่ อปุ ราชแฮ เถลิงคชาธารควา้ ง ควบเขา้ ขบวนไคล โคลงบทที่ ๓ ถอดคำประพนั ธ์ พระมเหสีผู้ทรงเป็นผู้พอพระรำชหฤทัยของพระองค์ ทรงพระนำมว่ำพระสุริโยทัย ทรงเคร่อื งนักรบเหมือนพระมหำอปุ รำช ทรงชำ้ งพระทน่ี ่งั ควบเขำ้ กระบวนทพั ตำมเสด็จดว้ ย วรรณคดแี ละวรรณกรรม วิชำภำษำไทย

๑๑ โคลงประกอบภำพท่ี ๑๐ พระสรุ ิโยทยั ขำดคอชำ้ ง • พลไกรกองน่าเรา้ โรมรัน กนั เฮย ชา้ งพระเจา้ แปรประจญั คชไท ้ สารทรงซวดเซผนั หลงั แลน่ เตลิดแฮ เตลงขบั คชไลใ่ กล้ หวิดทา้ ยคชาธาร โคลงบทท่ี ๔ ถอดคำประพนั ธ์ ทัพหน้ำยกพลเข้ำสู้รบกัน ช้ำงของพระเจ้ำแปรเข้ำต่อสู้กับช้ำงของพระมหำจักรพรรดิ กองทพั หน้ำของท้งั สองฝ่ำยตอ่ ส้กู ัน แตพ่ ระมหำจักรพรรดเิ สยี ทพี ระเจ้ำแปร วรรณคดแี ละวรรณกรรม วชิ ำภำษำไทย

๑๒ โคลงประกอบภำพที่ ๑๐ พระสุรโิ ยทัยขำดคอช้ำง • นงคราญองคเ์ อกแกว้ กระษตั รีย์ มานมนสั กตั เวที ย่ ิงลา้ เกรงพระราชสามี มลายพระ ชนมเ์ ฮย ขบั คเชนทรเชน่ คา้ สะอึกสูด้ สั กร โคลงบทท่ี ๕ ถอดคำประพนั ธ์ องค์อัครมเหสีมีน้ำพระทัยกอรปด้วยควำมกตัญญูกตเวทีย่ิง ทรงวิตกว่ำพระสวำมีจะ สิน้ ประชนม์จึงทรงขับชำ้ งพระท่ีนัง่ เขำ้ ต่อส้กู บั ศตั รู วรรณคดแี ละวรรณกรรม วิชำภำษำไทย

๑๓ โคลงประกอบภำพท่ี ๑๐ พระสรุ ิโยทยั ขำดคอชำ้ ง • ขุนมอญร่อนงา้ วฟาด ฉาดฉะ ขาดแลง่ ตราบอรุ ะ หรุบด้ิน โอรสรีบกนั พระ ศพสู่ นครแฮ สูญชีพไป่สูญส้ิน พจน์ผูส้ รรเสริญ โคลงบทที่ ๖ ถอดคำประพันธ์ พระเจ้ำแปรได้เอำง้ำวฟันสมเด็จพระสุริโยทัยขำสะพำยแล่งสิ้นพระชนม์บนคอช้ำงสอง พระโอรสคือพระรำเมศวรและพระมหินทรำได้กันพระศพแล้วนำเข้ำสู่พระนคร สมเด็จพระสุริโยทัย ส้ินพระชนม์ไปแล้ว จงึ เหลอื แต่คำสรรเสริญเยนิ ยอ วรรณคดแี ละวรรณกรรม วิชำภำษำไทย

๑๔ โคลงภำพพระรำชพงศำวดำร โคลงประกอบภำพที่ ๕๖ ภำพพันทำ้ ยนรสงิ หถ์ วำยชวี ติ วรรณคดแี ละวรรณกรรม วิชำภำษำไทย

๑๕ เน้ือเรื่องย่อ พันท้ำยนรสงิ หถ์ วำยชวี ติ แผน่ ดินสมเด็จพระเจ้ำเสอื พนั ท้ำยนรสิงหถ์ วำยชีวติ (พ.ศ.๒๒๔๙) ในปี พ.ศ. ๒๒๔๙ สมเด็จพระ เจ้ำเสือเสด็จประทับเรือพระท่ีนั่งเอกชัยไป ประพำสทรงเบ็ด ณ ปำกน้ำเมืองสมุทรสำคร ครนั้ เรือพระท่ีนั่งไปถงึ คลองโคกขำมซ่ึงคดเคี้ยว พันทำ้ ยนรสิงห์เจ้ำพนักงำนถือท้ำยเรือพระที่นั่ง คิดแก้ไขมิทันโขนเรือพระท่ีน่ังกระทบเข้ำกับก่ิง ไม้ใหญก่ ห็ กั ตกลงนำ้ พันทำ้ ยนรสงิ ห์เหน็ ดังนน้ั ก็ ตกใจโดดจำกเรือข้ึนบนฝั่งร้องกรำบทูลให้ตัด ศีรษะของตนตำมกฎหมำย และขอพระกรุณำ โปรดใหทำศำลเพียงตำข้ึน ณ ท่ีน้ัน เอำศีรษะ กับโขนเรอื พระทน่ี ่งั ท่หี ักลงบวงสรวงไว้ด้วยกนั วรรณคดแี ละวรรณกรรม วิชำภำษำไทย

๑๖ โคลงประกอบภำพที่ ๕๖ พันท้ำยนรสงิ หถ์ วำยชีวติ • สรรเพชญท่ีแปดเจา้ อยุธยา เสด็จประพาสทรงปลา ปากน้า ลอ่ งเรือเอกไชยมา ถึงโคก ขามพอ่ คลองคดโขนเรื อคา้ ขดั ไมห้ กั สลาย โคลงบทที่ ๑ ถอดคำประพนั ธ์ พระเจ้ำสรรเพชรท่ีแปด (สมเด็จพระเจ้ำเสือ) แห่งกรุงศรีอยุธยำ เสด็จประทับเรือ พระท่ีนงั่ เอกไชยประพำส ทรงตกปลำทป่ี ำกนำ้ โดยเรือพระทีน่ ่งั มำถึงตำบลโคกขำม ลำคลอง มคี วำมคดเคย้ี วทำให้โขนเรอื พระทีน่ ง่ั ขัดกับกิ่งไมห้ ักลง วรรณคดแี ละวรรณกรรม วิชำภำษำไทย

๑๗ โคลงประกอบภำพที่ ๕๖ พนั ทำ้ ยนรสงิ หถ์ วำยชีวติ • พนั ทา้ ยตกประหมา่ ส้ิน สติคิด โดดจากเรื อทูลอุทิศ โทษรอ้ ง พนั ทา้ ยนรสิงหผ์ ิด บทฆา่ เสียเทอญ หวั กบั โขนเรือตอ้ ง คูเ่ สน้ ทาศาล โคลงบทท่ี ๒ ถอดคำประพันธ์ พันท้ำยนรสิงห์เห็นดังนั้นก็ตกใจประหม่ำโดดขึ้นจำกเรือพระท่ีนั่ง ร้องกรำบทูลขอ พระรำชทำนโทษประหำรชวี ิตของตนตำมกฎมณเฑียรบำลและขอพระกรุณำโปรดให้ทำศำลเพียง ตำขน้ึ ณ ทน่ี ั้น เอำศีรษะกับโขนเรือพระท่ีน่งั ทหี่ ักลงบวงสรวงไวด้ ว้ ยกนั วรรณคดแี ละวรรณกรรม วิชำภำษำไทย

๑๘ โคลงประกอบภำพที่ ๕๖ พนั ทำ้ ยนรสงิ ห์ถวำยชวี ิต • ภูบาลบาเหน็จให้ โทษถนอม ใจนอ พนั ไมย่ อมอยูย่ อม มอดมว้ ย พระโปรดเปล่ ียนโทษปลอม ฟนั รูป แทนพอ่ พนั กราบทูลทดั ดว้ ย ทา่ นท้ิงประเพณี โคลงบทที่ ๓ ถอดคำประพันธ์ สมเด็จพระเจ้ำเสือทรงพระกรุณำอภัยโทษ แต่พันท้ำยนรสิงห์ไม่ยอมรับพระกรุณำเป็น อยำ่ งอนื่ กลบั วำ่ ใหต้ ดั ศรี ษะตนเอง แม้พระองคจ์ ะโปรดใหป้ น้ั ดนิ เปน็ รปู แทนตัวพนั ท้ำยนรสิงห์ข้ึน และใหต้ ดั รปู หัวดินน้ันเสยี แต่พนั ท้ำยนรสิงห์ทดั ทำนว่ำจะผิดรำชประเพณี วรรณคดแี ละวรรณกรรม วิชำภำษำไทย

๑๙ โคลงประกอบภำพที่ ๕๖ พันทำ้ ยนรสิงหถ์ วำยชวี ติ • ภูมีปลอบกลบั ตงั้ ขอบรร ลยั พอ่ จาสง่ั เพชฌฆาตฟนั ฟาดเกลา้ โขนเรือกบั หวั พนั เซน่ ท่ี ศาลแล ศาลสืบกฤติคุณเคา้ คติไวใ้ นสยาม โคลงบทท่ี ๔ ถอดคำประพนั ธ์ สมเด็จพระเจ้ำเสอื ตรัสปลอบเปน็ หลำยครั้ง พนั ทำ้ ยนรสิงหก์ ไ็ ม่ยอม ขอให้ทรงทำตำม กฏมณเทยี รบำล พระองค์ดำรัสส่ังให้เพชฆฆำตประหำรชีวติ พันท้ำยนรสิงห์แล้วให้ทำศำลเพียงตำ โดยให้นำศีรษะพันท้ำยนรสิงหก์ บั หัวโขนเรอื พระทน่ี ่ังท่ีหกั ไว้ด้วยกัน เพ่ือเป็นเกียรติคุณ ไว้เป็นคติ ของแผ่นดนิ สยำมสบื ไป วรรณคดแี ละวรรณกรรม วิชำภำษำไทย

๒๐ ศลิ ปะทีป่ รำกฏ โคลงภำพพระรำชพงศำวดำร ด้ำนจติ รกรรม ภำพท่ีวำดประกอบโคลงแต่ละบทแสดงถึงศิลปะไทยในด้ำนจิตรกรรมลำยเส้นแบบไทยกำรใช้สีแบบพหุรงค์ ซง่ึ เปน็ ที่นยิ มมำกในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ ภำพพระสรุ โิ ยทยั ขำดคอชำ้ ง ภำพพนั ทำ้ ยนรสงิ หถ์ วำยชวี ติ วรรณคดีและวรรณกรรม วิชาภาษาไทย

๒๑ นอกจำกนี้ศิลปะในด้ำนจิตรกรรมยังสำมำรถสอดแทรกควำมรู้เพ่ิมเติมเกี่ยวกับวิธีกำร จิตรกรรมไทยที่พบเหน็ ไดย้ ำกในปัจจบุ นั อย่ำงเชน่ “ลำยรดนำ้ ” ดงั น้ี ลำยรดนำ้ เปน็ งำนประณตี ศลิ ปข์ องไทยชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในงำนจิตรกรรมประเภท สีเอกรงค์ ขน้ั ตอนกำรเขียนลำยรดน้ำ จะเริม่ จำกกำรรำ่ งแบบโดยใชด้ นิ สอพองเขียนบนพนื้ กระดำนรกั งำนลำยรดน้ำจะเร่ิมจำกกำรเตรียมพื้นผิววัสดุให้พร้อมก่อน โดยใช้ยำงรักสีดำๆ ทำบนแผ่น ไมใ่ หท้ ั่วโดยจะมตี วั ชว่ ยในกำรอดุ รอ่ ง และรบู นลำยไมใ้ หเ้ รยี บเนยี นขึ้นน่ันคอื สมกุ กระดำนรกั วรรณคดีและวรรณกรรม วิชาภาษาไทย

๒๒ สมกุ คอื ยำงรกั ท่ีผสมกบั วัสดอุ ่นื เชน่ ผงอิฐ, ถ่ำน, ใบตองแห้ง, ดินสอพอง เพื่อเพ่ิมควำม แข็งให้กับเน้ือยำงรัก ซ่ึงเมื่อลงสมุกแล้วก็ต้องรอจนแห้ง ซ่ึงวิธีที่ทำให้แห้งเร็วน้ัน ก็ต้องนำเข้ำไปใน มุง้ ท่ีฉดี นำ้ จนเปียกชุม่ เพรำะรกั นั้นจะแห้งเร็วขึ้นเมอ่ื มีควำมช้ืน เรยี กวิธีนี้วำ่ กำรบม่ รกั เม่ือรักที่บ่มไว้แห้งแล้ว ก็นำแผ่นไม้ออกมำขัด และลงสมุกที่มีเนื้อละเอียดข้ึนในคร้ังต่อไป ซ่งึ กต็ อ้ งทำซำ้ ไปซำ้ มำเปน็ แบบนีอ้ ยูห่ ลำยรอบ จนกว่ำพืน้ ไมท้ ไี่ ด้จะเรียบเปน็ สดี ำเงำงำม ขัน้ ตอนกำรเขยี นลำยรดนำ้ จะเริ่มจำกกำรรำ่ งแบบโดยใชด้ ินสอพองเขียนลำยบนพ้ืนกระดำน รัก เมื่อเสร็จแล้ว ก็นำน้ำยำหรดำล ซึ่งน้ำยำหรดำลประกอบด้วย หรดำลหิน กำวกระถิน และน้ำ ส้มป่อย นำน้ำยำหรดำลมำค่อยๆ ระบำยลงไป เติมรำยละเอียดให้มำกข้ึน ซ่ึงส่วนนี้ภำยหลังจะ กลำยเป็นสีดำ จำกนน้ั นำสำลี ทำเป็นลูกประคบ และใช้ยำงรักทำ วิธีนี้เรียกว่ำ กำรเช็ดรัก เมื่อเช็ดรัก เรยี บรอ้ ยแลว้ กต็ ้องใชส้ ำลีสะอำดๆ ถอนรกั ออกมำ จนเหลือยำงรกั ติดอยบู่ ำงๆ เท่ำนัน้ จำกนั้นก็นำแผ่นทองคำเปลวร้อยเปอร์เซ็นต์ติดทีละแผ่นๆ ต่อกันไปจนท่ัวบริเวณที่เช็ดรัก เอำไว้ เม่ือใช้น้ำลูบไปบนแผ่นทอง ส่วนท่ีไม่มีน้ำยำหรดำลกันไว้ แผ่นทองก็จะติดแน่นบนพ้ืนรัก ส่วน บริเวณที่มีน้ำยำหรดำลอยู่ทองคำจะละลำยออกมำ พร้อมน้ำยำหรดำลนั่นเอง จำกน้ันลำยก็ขึ้นมำให้ เห็นอย่ำงชัดเจนเสน่ห์ของรำยรดน้ำอยู่ในกระบำวนกำรกำรทำงำน และตัวของรำยรดน้ำเอง ก็ได้ ตอบสนองตอ่ จนิ ตนำกำรได้อย่ำงไม่มขี อ้ จำกัด ลำยรดน้ำ สันนิษฐำนว่ำมีมำตั้งแต่กรุงสุโขทัยเป็นรำชธำนี จำกหลักฐำนในจดหมำยเหตุกรุง สยำมและกรุงจีน ซ่ึงบรรยำยถึงพ่อขุนรำมคำแหงทรงเจริญพระอักษรแต่งต้ังรำชทูตไปเจริญ สมั พนั ธไมตรกี ับจนี โดยกำรเขียนพระรำชสำสนเ์ ป็นลำยรดนำ้ ลำยรดน้ำ เป็นลวดลำยหรือภำพ รวมไปถงึ ภำพประกอบลำยต่ำงๆ ท่ีปิดด้วยทองคำเปลวบน พ้ืนรัก โดยขั้นตอนกำรทำสุดท้ำยคือกำรเอำน้ำรดให้ปรำกฏเป็นรวดลำย จึงกล่ำวได้ว่ำ “ลำยรดน้ำ” คอื ลำยทองทล่ี ำ้ งด้วยน้ำ วรรณคดีและวรรณกรรม วิชาภาษาไทย

๒๓ ศลิ ปะที่ปรำกฏ โคลงภำพพระรำชพงศำวดำร ดำ้ นวรรณกรรม ดำ้ นกำรใช้คำ ศิลปะด้ำนวรรณกรรมในเร่ืองโคลงภำพพระรำชพงศำวดำรน้ีปรำกฏในเรื่องกำรใช้คำเด่นชัดท่ีสุด โดยเฉพำะอยำ่ งย่ิงกำรใช้คำน้อยแตก่ ินควำมมำก และกำรเล่นสมั ผัสพยญั ชนะ อำทเิ ช่น ขนุ มอญรอ่ นง้ำวฟำด ฉำดฉะ ขำดแลง่ ตรำบอุระ หรบุ ดิ้น โอรสรีบกนั พระ ศพสู่ นครแฮ สูญชีพไปส่ ูญส้ิน พจน์ผู้สรรเสรญิ มีกำรเลือกใชค้ ำวำ่ “ฉำดฉะ” แทนเสียงของง้ำวท่ีกระทบกนั มีกำรสรรคำว่ำ “หรบุ ด้ิน” แสดงภำพรำ่ งของพระสรุ ิโยทยั ทรุดลงซบกับคอช้ำง โดยคำว่ำ “หรุบ” หมำยถึง อำกำรของส่ิงของที่ร่วงพรูลงมำคำว่ำ “ด้ิน” หมำยถึง อำกำรสะบัดหรือ ฟำดตวั ไปมำอยำ่ งแรง ภบู ำลบำเหนจ็ ให้ โทษถนอม ใจนอ พันไม่ยอมอย่ยู อม มอดมว้ ย พระโปรดเปลย่ี นโทษปลอม ฟนั รูป แทนพอ่ พนั กรำบทูลทัดดว้ ย ทำ่ นทิง้ ประเพณี มีกำรใช้คำสัมผัสอกั ษร ดงั นี้ (ภู)บำล - บำ(เหน็จ), โทษ – ถนอม, ยอม - อยู่ – ยอม, มอด – ม้วย, โปรด - เปล่ียน – ปลอม, ทูล – ทัด, ท่ำน – ทงิ้ ด้ำนรสวรรณคดี ด้ำนรสวรรณคดีท่ีปรำกฏเหมือนกันในเรื่องน้ีรสหน่ึงคือ วีรรส รสแห่งควำมกล้ำหำญ อันเป็นรส วรรณคดสี นั สกฤต แสดงควำมกลำ้ หำญไม่เกรงกลวั ตอ่ ควำมตำยของวรี บุรษุ ท้งั สองเร่อื ง วรรณคดีและวรรณกรรม วิชาภาษาไทย

๒๔ วัฒนธรรมท่ปี รำกฏ โคลงภำพพระรำชพงศำวดำร ด้ำนวถิ ชี วี ิต กำรเมือง กำรปกครอง กำรรบ ในกำรเรียนกำรสอนเรื่องโคลงภำพพระรำชพงศำวดำรน้ัน นอกจำกเรื่องรำวทำงประวัติศำสตร์ที่ ปรำกฏในบทโคลงแล้ว ยังสำมำรถสอดแทรกเกร็ดควำมรู้เกี่ยวกับกำรรบ อำทิเช่น พำหนะในกำรรบสมยัก่อน หำกเป็นแม่ทัพหรอื บคุ คลสำคัญจะทรงช้ำง และช้ำงทรง หรือท่เี รยี กว่ำ พระคชำธำรน้นั มอี งค์ประกอบดงั นี้ บนหลังช้ำงจะมีคนน่ังัอยู่สำมคน ตัวแม่ทัพจะถือง้ำวอยู่ท่ีคอช้ำง คนที่น่ังกลำงอยู่บนกูบ จะถือหำง นกยูงซ้ำยขวำโบกเป็นสัญญำณ และคอยส่งอำวุธให้แม่ทัพ ที่ท้ำยช้ำงจะมีควำญนั่งประจำท่ี ตำมเท้ำช้ำงท้ังสี่มี พลประจำเรียกวำ่ จตรุ งคบำท คนทงั้ หมดจะถืออำวธุ เชน่ ปนื ปลำยขอ หอกซัด ของ้ำว ขอเกรำะเขน แพน ถ้ำ เปน็ ชำ้ งยทุ ธหตั ถีจะมหี อกผูกผ้ำสีแดงสองเล่ม ปืนใหญ่หันปำกออกข้ำงขวำหนึ่งกระบอก ข้ำงซ้ำยหน่ึงกระบอก มนี ำยทหำรและพลทหำรสวมเกรำะโพกผำ้ วรรณคดีและวรรณกรรม วิชาภาษาไทย

๒๕ วฒั นธรรมทีป่ รำกฏ โคลงภำพพระรำชพงศำวดำร ด้ำนวถิ ชี วี ิต กำรเมอื ง กำรปกครอง กำรรบ ชำ้ งที่เข้ำกระบวนทพั จะสวมเกรำะใส่เกือกหรือรองเทำ้ เหลก็ สำหรบั กันขวำกหนำม โดยท้ังที่ส่ีเท้ำสวม หน้ำรำ่ ห์ุ มีปลอกเหล็กสวมงำทัง้ คู่ และมีเกรำะโว่พนั งวงชำ้ ง สำหรับพังหอคำ่ ย โดยไม่เจ็บปวด นอกจำกนยี้ ังสำมำรถสอดแทรกเกร็ดควำมร้เู กี่ยวกับกำรทำยทุ ธหตั ถีในประเทศไทย ดงั นี้ ยุทธหตั ถี หรือ กำรชนช้ำง กำรทำสงครำมบนหลงั ช้ำงตำมประเพณโี บรำณของกษัตริย์ในภูมิภำคอุษำคเนย์ เป็นกำรทำสงครำมซ่ึง ถือว่ำมเี กียรติยศ เพรำะชำ้ งถอื เป็นสตั ว์ใหญ่ และเป็นกำรปะทะกันซึ่ง ๆ หน้ำ ผู้แพอ้ ำจถงึ แก่ชีวติ ได้ ประวัตแิ ละลักษณะจำเพำะ กำรกระทำยุทธหัตถีเป็นประเพณีสงครำมที่รับมำจำกอินเดีย โดยช้ำงที่ใช้ เรียกว่ำ \"ช้ำงศึก\" โดยมำก จะนิยมเลือกใช้ช้ำงพลำยที่กำลังตกมัน ดุร้ำย ก่อนออกทำสงครำมจะกรอกเหล้ำเพ่ือให้ช้ำงเมำ เกิดควำมฮึก เหิมเต็มท่ี โดยจะแต่งช้ำงให้พร้อมในกำรรบ เช่น ใส่เกรำะท่ีงวงหรืองำเพ่ือร้ือทำลำยค่ำยคูของฝ่ำยตรงข้ำม เรียกวำ่ \"ช้ำงกระทืบโรง\" หรือล่ำมโซ่หรือหนำมแหลมที่เท้ำทั้งสี่ ใช้ผ้ำสีแดงผืนใหญ่ปิดตำช้ำงให้เห็นแต่เฉพำะ ดำ้ นหนำ้ เพอื่ ไมใ่ หช้ ำ้ งตกใจและเสียสมำธิ เรียกวำ่ \"ผำ้ หน้ำรำหู\" ตำแหน่งของผู้ท่ีน่ังบนหลังช้ำงจะมีด้วยกัน ๓ คน คือ ตำแหน่งบนคอช้ำง จะเป็นผู้ทำกำรต่อสู้ โดย อำวธุ ท่ีใช้สู้ส่วนมำกจะเป็นง้ำว ตำแหน่งกลำงช้ำง จะเป็นตำแหน่งที่จะให้สัญญำณและส่งอำวุธท่ีอยู่บนสับคับ ให้แก่คอช้ำง โดยอำวุธได้แก่ ง้ำว, หอก, โตมร, หอกซัด และเครื่องป้องกันต่ำง ๆ เช่น โล่ เป็นต้น และ ตำแหน่งควำญช้ำงซึ่งจะเป็นผู้บังคับช้ำงจะนั่งอยู่หลังสุด และหำกเป็นช้ำงทรงของพระมหำกษัตริย์ จะมีทหำร ฝมี ือดี ๔ คนประจำตำแหน่งเท้ำช้ำงท้ัง ๔ ข้ำงด้วย เรียกว่ำ \"จำตุรงคบำท\" ซึ่งไม่ว่ำช้ำงทรงจะไปทำงไหน จำตุ รงคบำทตอ้ งตำมไปค้มุ กันดว้ ย หำกตำมไม่ทนั จะมโี ทษถึงชวี ติ โดยมำกแล้ว ผลแพ้ ชนะของกำรทำยุทธหัตถีจะขึ้นอยู่กับขนำดของช้ำง ช้ำงท่ีตัวใหญ่กว่ำจะสำมำรถ ขม่ ขวญั ช้ำงทต่ี วั เล็กกว่ำ เม่ือช้ำงทต่ี วั เลก็ กว่ำหนีหรือหันทำ้ ยให้ หรือชำ้ งตวั ใดที่สำมำรถงัดช้ำงอีกตัวให้ลอยขึ้น ได้ จะเปิดจดุ ออ่ นใหโ้ จมตีได้ตรง ๆ กำรฟนั ดว้ ยของำ้ วเพียงคร้ังเดียวก็อำจทำใหถ้ งึ ชีวติ ได้ โดยรำ่ งอำจขำดหรือ เกอื บขำดเปน็ สองทอ่ นได้ เรียกวำ่ \"ขำดสะพำยแลง่ \" วรรณคดีและวรรณกรรม วิชาภาษาไทย

๒๖ วัฒนธรรมทป่ี รำกฏ โคลงภำพพระรำชพงศำวดำร ชำ้ งศกึ ชำ้ งทจ่ี ะถกู จัดใหเ้ ป็นช้ำงศกึ น้ัน ตอ้ งเปน็ ช้ำงพลำย (ช้ำงเพศผู้) มีลักษณะตรงตำมตำรำคชลักษณ์ คือ รูปร่ำงใหญ่โตกำยำ หัวกะโหลกหนำและใหญ่ แก้มเต็มสมบูรณ์ หน้ำเชิดหลังต่ำ งำยำวใหญ่มีควำมโค้งและ แหลมคมได้ที่ โดยที่ช้ำงเชือกที่ฝกึ ซอ้ มมำเป็นอย่ำงดีและสำมำรถสู้เอำชนะช้ำงเชือกอ่ืนได้ จะถูกเรียกว่ำ \"ช้ำง ชนะงำ\" นักวิชำกำรท่ีทำกำรศึกษำเร่ืองช้ำงในประเทศไทยเชื่อว่ำ ภำยหลังกำรเสียกรุงศรีอยุธยำครั้งที่ ๒ ใน เดือนเมษำยน พ.ศ. ๒๓๑๐ ช้ำงต้นที่เป็นทั้ง ช้ำงศึกและช้ำงเผือก ในพระรำชวังน่ำจะอพยพหนีมำอยู่ยังเขำ อ่ำงฤๅไน ซ่ึงในสมัยโบรำณช้ำงที่ได้รับคดั เลอื กใหเ้ ปน็ ชำ้ งต้น จะอยู่ที่ ดงพญำเย็น หรือ ดงพญำไฟ ในปัจจบุ นั ในปจั จุบนั น้ที ีเ่ ขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำเขำอ่ำงฤๅไน จังหวัดฉะเชิงเทรำ นักวิชำกำรเชื่อว่ำ ช้ำงป่ำท่ีอำศัย อยู่ ณ ที่น้ีน่ำจะสืบเชื้อสำยมำจำกช้ำงศึกหรือช้ำงเผือกในสมัยโบรำณ เพรำะเนื่องจำกเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๙ เจ้ำหนำ้ ท่ีของอทุ ยำน สำมำรถบันทกึ ภำพช้ำงป่ำตัวผู้ ตัวหนึ่งท่ีมีลักษณะตรงตำมลักษณะของช้ำงศึก และให้ช่ือ ช้ำงตัวน้ีว่ำ \"รถถัง\" และยังพบช้ำงป่ำอีกตัวหน่ึงที่มีลักษณะตรงตำมลักษณะช้ำงศึกอีกเช่นกัน อีกทั้งยังเป็น สถำนทพ่ี บช้ำงเผือกในรัชกำลปัจจุบันอีกดว้ ย วรรณคดีและวรรณกรรม วิชาภาษาไทย

๒๗ วัฒนธรรมท่ปี รำกฏ โคลงภำพพระรำชพงศำวดำร ยทุ ธหตั ถใี นประวตั ิศำสตร์ ประวตั ศิ ำสตรไ์ ทย กำรกระทำยทุ ธหตั ถใี นประวตั ิศำสตร์ไทย ปรำกฏทั้งหมด ๕ ครง้ั คือ • กำรชนช้ำงระหวำ่ งพ่อขนุ ศรอี ินทรำทติ ย์ • กำรชนช้ำงระหว่ำงพอ่ ขุนรำมคำแหงมหำรำชกับขนุ สำมชน เจำ้ เมืองฉอด พ่อขุนรำมคำแหงชนะ • กำรชนชำ้ งที่สะพำนปำ่ ถ่ำน ระหวำ่ งเจ้ำอ้ำยพระยำกบั เจำ้ ย่ีพระยำ เพื่อชิงรำชสมบัติ ปรำกฏว่ำสน้ิ พระชนม์ ทัง้ คู่ • ยทุ ธหัตถรี ะหวำ่ งสมเด็จพระสุริโยทยั กับพระเจ้ำแปร ในปี พ.ศ. ๒๐๑๙ ทที่ ่งุ มะขำมหย่อง อยุธยำ สมเด็จ พระสุริโยทยั ส้ินพระชนมบ์ นคอชำ้ ง • ยทุ ธหตั ถรี ะหวำ่ งสมเดจ็ พระนเรศวรมหำรำชกับพระมหำอุปรำชำมังสำมเกียด ในปี พ.ศ. ๒๑๓๕ ท่ีอำเภอ ดอนเจดีย์ จังหวดั สพุ รรณบุรี สมเดจ็ พระนเรศวรมหำรำชได้ชัยชนะ ประวัติศำสตรส์ ำกล ในต่ำงประเทศ มีกษตั ริยน์ กั รบหลำยพระองค์ท่ีใช้ช้ำงในสงครำมและกระทำยุทธหตั ถี เช่น พระเจำ้ เปำรยะ แห่งอินเดีย ทีใ่ ชก้ องทัพชำ้ งส้กู ับกองทัพของอเล็กซำนเดอร์มหำรำช ในพม่ำ พระเจ้ำบุเรงนอง และพระเจ้ำนันทบุเรงต่ำงก็เคยกระทำยุทธหัตถีและได้รับชัยชนะมำแล้วอย่ำงงดงำมทั้ง ๒ พระองค์ ในสิงหล พระเจำ้ ทฏุ ฐคำมณิอภยั ก็กระทำยทุ ธหัตถีชนะ พระเจ้ำเอเฬละของทมิฬ เป็นตน้ วรรณคดีและวรรณกรรม วิชาภาษาไทย

๒๘ วฒั นธรรมที่ปรำกฏ โคลงภำพพระรำชพงศำวดำร ดำ้ นคุณธรรมอยำ่ งไทย โคลงภำพพระรำชพงศำวดำร แสดงควำมรู้สึกนึกคิด และคุณธรรม อย่ำงไทยมำกมำย เช่น คนไทยมีควำม รักชำติ กตัญญูต่อแผ่นดิน จงรักภักดี ต่อสถำบันกษัตริย์ ช่ืนชมบุคคลท่ี เสียสละเพื่อส่วนรวม และชำติ บ้ำนเมือง เปน็ ต้น ดั ง เ ช่ น โ ค ล ง ภ ำ พ พ ร ะ ร ำ ช พงศำวดำรเร่ือง สุริโยทยั ขำดคอช้ำง แสดงคุณธรรมอย่ำงไทยในกำรเสียสละ เพ่ือชำติบ้ำนเมือง จงรักภกั ดีต่ อ พระมหำกษตั ริย์ จนยอมสละได้แม้ชีวิตตน และโคลงภำพพระรำชพงศำวดำรเรอื่ ง พัน ท้ำยนรสิงห์ แสดงคุณธรรมอย่ำงไทยใน เรอื่ งควำมรับผิด ชอบต่อหน้ำท่ี จงรักภักดี ต่อชำติ กษัตริย์ และระบบระเบียบกำร ปกครองอย่ำงไทย รักษำขนบธรรมเนียม ไทยยิ่งชีพ สละได้แม้ชีวิตตนเพื่อแสดง ควำมรับผดิ ชอบต่อหน้ำท่ี วรรณคดีและวรรณกรรม วิชาภาษาไทย

บรรณำนกุ รม กำญจนำ นำคสกลุ . (๒๕๕๑). ระบบเสียงภำษำไทย. กรงุ เทพฯ: สำนกั พมิ พ์แห่งจุฬำลงกรณม์ หำวทิ ยำลัย. กำชยั ทองหลอ่ . (๒๕๕๒). หลักภำษำไทย. กรงุ เทพฯ: อมรกำรพิมพ์. กรมศิลปำกร. (๒๕๑๓). โคลงภำพพระรำชพงศำวดำร. พมิ พค์ ร้งั ที่ ๔. สบื คน้ เม่ือวันที่ ๕ กันยำยน ๒๕๖๔. จำก https://www.finearts.go.th/songkhlalibraryk/view/18454-โคลงภำพพระรำชพงศำวดำร. อปุ กิตศลิ ปะสำร (นิ่ม กำญจนำชวี ะ) พระยำ . (๒๕๒๔). คำประพันธเ์ รื่อง. กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นำพำนิช. วรรณคดีและวรรณกรรม วิชาภาษาไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook