สว่ นท่ี 3 ผลการด�ำ เนินงาน ของคณะกรรมการหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติและคณะกรรมควบคมุ คุณภาพและมาตรฐานบรกิ าร สาธารณสขุ
1. ผลการดำ�เนินงานคณะกรรมการหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ ในปี 2560 เป็นปีที่ 2 ของการปฏิบัติภารกิจของ 2. การจดั ทำ� /ปรบั ปรงุ คำ� สง่ั ขอ้ บงั คบั ระเบยี บ และคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (วาระการ ประกาศต่างๆดำ� รงต�ำแหนง่ 4 ป)ี ซงึ่ มนี โยบายท่ีเน้นการมสี ว่ นร่วมของ 2.1 การแก้ไขร่าง พระราชบัญญัติหลักประกันหน่วยบริการและทุกภาคส่วน เพ่ือขับเคลื่อนระบบ สขุ ภาพแหง่ ชาติ (ฉบบั ที่ …) พ.ศ. ….หลักประกันสุขภาพสู่วิสัยทัศน์ที่ว่า “ทุกคนท่ีอาศัยอยู่บน คณะกรรมการได้ให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินงานแผน่ ดนิ ไทย ไดร้ บั ความคมุ้ ครองหลกั ประกนั สขุ ภาพอยา่ ง แกไ้ ข “รา่ ง” พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติถ้วนหนา้ ด้วยความมนั่ ใจ” พ.ศ.2545 โดยมกี ารตดิ ตามความกา้ วหนา้ การดำ� เนนิ งาน คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยมี ในทป่ี ระชมุ เปน็ ประจำ� อยา่ งตอ่ เนอื่ ง และไดเ้ ขา้ รว่ มในเวทีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธาน ได้ ถกแถลงประเด็นเชิงนโยบาย (Policy Dialogue) มีการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ผ่านกลไกและงบบริหารจัดการ สงั เคราะหข์ ้อเสนอแนะ “เรอื่ งการพิจารณาแก้ไขเพ่ิมเตมิสปสช. สรปุ พอสงั เขปดังนี้ พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ฉบับที่...) พ.ศ....” และมอบหมายใหค้ ณะอนกุ รรมการนโยบายและ1. ด้านการบริหารงบประมาณ ยุทธศาสตร์ รวบรวมข้อเสนอจากคณะอนุกรรมการชุด เพื่อเพ่ิมประสิทธิการบริหารจัดการงบประมาณ ตา่ งๆ กลนั่ กรองเสนอคณะกรรมการฯ พจิ ารณาเปน็ ระยะในปงี บประมาณ 2560 คณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพ นอกจากนี้ได้มีการจัดท�ำประชาพิจารณ์ ร่าง พระราชแห่งชาติ ได้เร่งรัดกระบวนการบริหารจัดการแบบมี บัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ฉบับที่ …) พ.ศ.สว่ นรว่ มอยา่ งใกลช้ ดิ ระหวา่ งสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพ ….ผา่ นเวที 4 ภูมภิ าค ผ่านระบบออนไลน์ ผา่ นเวทีปรกึ ษาแห่งชาติ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข รวมทั้ง สาธารณะ เพื่อประกอบการจัดท�ำข้อเสนอการแก้ไขหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ต้ังแต่กระบวนการจัดท�ำขอ กฎหมายของคณะกรรมการฯ เสนอต่อกลไกท่ีรบั ผดิ ชอบงบประมาณ การบริหารจัดการกองทุน และการติดตาม การแกไ้ ขกฎหมายของรัฐบาลพิจารณาประเมินผลผ่านคณะกรรมการระดับประเทศ (7x7) และ 2.2 ข้อบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพคณะกรรมการระดับเขต (5X5) แหง่ ชาติวา่ ด้วยการใช้สทิ ธิรบั บริการสาธารณสุข กรณที ่ี และในแผนงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีเหตุสมควร กรณีอุบัติเหตุ หรือกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉินปีงบประมาณ 2561 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันท่ี 28 พ.ศ. 2560กมุ ภาพนั ธ์ 2561 ให้จดั สรรงบคา่ บริการสาธารณสขุ เพิม่ คณะกรรมการเห็นชอบข้อบังคับคณะกรรมการหลักเติมส�ำหรับการบริการระดับปฐมภูมิที่มีแพทย์ประจ�ำ ประกันสุขภาพแห่งชาติว่าด้วยการใช้สิทธิรับบริการครอบครัว เพิ่มเติม 1 รายการ วงเงิน 240 ล้านบาท ให้ สาธารณสขุ กรณที ม่ี เี หตสุ มควร กรณอี บุ ตั เิ หตุ หรอื กรณีกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ตามคณะกรรมการ เจ็บป่วยฉุกเฉิน พ.ศ. 2560 เพ่ือให้ผู้มีสิทธิเข้าถึงการเสนอ102 | รายงานการสรางระบบหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560
ผลการดำ�เนินงานคณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติบริการสาธารณสุขในกรณีดังกล่าวได้อย่างท่ัวถึงและ หรือพน้ื ที่ เพ่อื เพิ่มประสิทธภิ าพในการดำ� เนนิ งานมากยงิ่มปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขน้ึ ตามทคี่ ณะรฐั มนตรีไดเ้ หน็ ชอบ ข้ึนสอดคล้องกับโครงสร้างและบริบทของพ้ืนที่หลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงอ่ื นไข การกำ� หนดคา่ ใช้จ่ายใน 2.5 การปรับปรุงข้อบังคับและประกาศท่ีเกี่ยวกับการด�ำเนินการผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต และให้หน่วยงานท่ี บคุ ลากร สปสช.เก่ยี วขอ้ งปรับปรุงแกไ้ ข กฎ ระเบยี บ คณะกรรมการเหน็ ชอบปรบั ปรงุ ขอ้ บงั คบั และประกาศ 2.3 ระเบียบฯว่าด้วยการเก็บรักษาและการใช้จ่าย 3 ฉบับ เพื่อเป็นขวัญและก�ำลังใจให้กับเจ้าหน้าท่ีและเงนิ ของส�ำนกั งาน พ.ศ. 2560 และระเบียบฯว่าดว้ ยการ ลกู จา้ งของ สปสช. ไดแ้ ก่งบประมาณบริหารของสำ� นกั งาน พ.ศ. 2560 1) ขอ้ บงั คบั คณะกรรมการวา่ ดว้ ยการบรหิ ารงาน คณะกรรมการให้ความเห็นชอบการออกระเบียบ บคุ คล พ.ศ. 2560 ซงึ่ เปน็ การปรบั ปรงุ ขอ้ บงั คบั วา่ ดว้ ยการ2 ฉบับ ว่าด้วยการเก็บรักษาและการใช้จ่ายเงินของ บริหารงานบุคคลของส�ำนักงาน ให้เป็นไปอย่างมีระบบส�ำนักงาน พ.ศ. 2560 และระเบียบฯว่าด้วยการ มีประสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธผิ ลมากยง่ิ ขึ้นงบประมาณบริหารของสำ� นักงาน พ.ศ. 2560 เพอื่ ใหก้ าร 2) ประกาศคณะกรรมการเรื่อง ค่าชดเชยและบรหิ ารและการจดั การสำ� นกั งานมปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขนึ้ ค่าทดแทน ส�ำหรบั เจา้ หน้าทแ่ี ละลกู จา้ ง พ.ศ. 2560 ตามตามข้อเสนอแนะของส�ำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน เรื่อง ที่กฎหมายวา่ ดว้ ยการคมุ้ ครองแรงงาน ฉบับท่ี 6 มีผลใช้ระเบียบวา่ ด้วยการงบประมาณว่าดว้ ยการเกบ็ รักษา และ บังคับตั้งแต่วันท่ี 1 กันยายน 2560 เป็นต้นไป มีผลให้การใช้จ่ายเงินของสำ� นักงาน พ.ศ. 2546 ของสำ� นักงานที่ ลูกจ้างท่ีเกษียณอายุ มีสิทธิได้รับเงินชดเชย และตามออกตามมาตรา 19(3) และมาตรา 30 ครอบคลมุ เร่อื ง มาตรา 24 วรรคสองของ พรบ. หลักประกันสุขภาพการงบประมาณ และการเก็บรกั ษาและการใชจ้ า่ ยเงนิ ให้ แห่งชาติ ก�ำหนดให้เจ้าหน้าท่ีและลูกจ้างของส�ำนักงานแยกเปน็ การเฉพาะ หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ตอ้ งไดร้ บั ประโยชนต์ อบแทน 2.4 ประกาศ เร่ือง การก�ำหนดหลักเกณฑ์เพื่อ ไม่น้อยกว่าท่ีก�ำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองสนับสนุนให้กรุงเทพมหานครด�ำเนินงานและบริหาร แรงงาน กฎหมายว่าด้วยประกันสังคม และกฎหมายว่าจดั การระบบหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ด้วยเงนิ ทดแทน2560 3) ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพ คณะกรรมการได้มีมติเห็นชอบประกาศ เร่ือง การ แหง่ ชาติ เรอ่ื ง คา่ ตอบแทนพิเศษแกผ่ ู้ปฏิบตั ิงานที่เขา้ ไปก�ำหนดหลักเกณฑ์เพ่ือสนับสนุนให้กรุงเทพมหานคร ปฏบิ ตั งิ านในพนื้ ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 โดยด�ำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ คณะกรรมการไดเ้ หน็ ถงึ ความสำ� คญั ของกลมุ่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2560 รวมถึงได้เห็นชอบ ในพ้ืนท่ีเสี่ยงภัยอันตราย จึงได้ก�ำหนดค่าตอบแทนพิเศษร่างประกาศ เร่อื งการก�ำหนดหลกั เกณฑเ์ พอื่ สนับสนุนให้ ใหแ้ กผ่ ปู้ ฏบิ ตั งิ านของสำ� นกั งานทปี่ ฏบิ ตั งิ านในพน้ื ทจี่ งั หวดัองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินด�ำเนนิ งานและบรหิ ารจดั การ ชายแดนภาคใต้ ในอตั รา 240 บาทต่อวันกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2.6 การแต่งต้ัง/ปรับปรุงค�ำส่ังคณะอนุกรรมการ(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560 ที่แก้ไขเพิ่มเติมหลักเกณฑ์เพื่อ ภายใต้คณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด�ำเนินงานและ คณะกรรมการปรบั ปรงุ คำ� สงั่ แตง่ ตงั้ คณะอนกุ รรมการบรหิ ารจดั การกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพในระดบั ทอ้ งถน่ิ ตามมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพรายงานการสรา งระบบหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560 | 103
แห่งชาติ พ.ศ. 2545 เพื่อให้ปฏิบัติหน้าท่ีตามพระราช 3) คณะกรรมการมีมติไม่รับอุทธรณ์ของโรง-บัญญัติ หรือตามท่ีคณะกรรมการมอบหมาย ใน พยาบาลเปาโล พหลโยธนิ เน่ืองจากย่นื อุทธรณเ์ กินเวลาปีงบประมาณ 2560 เพื่อให้การด�ำเนินงานของคณะ ที่กฎหมายก�ำหนดกรรมการเป็นไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ดังน้ี 4) คณะกรรมการได้มีมติเห็นชอบให้ยกอุทธรณ์ 1) แต่งต้ังนายประเวศ อรรถศุภผล เป็นอนุ- กรณีมีการอุทธรณ์ค�ำส่ังคณะกรรมการควบคุมคุณภาพฯกรรมการนโยบายและยทุ ธศาสตร์ เนือ่ งจากเป็นบคุ คลท่ี ทเ่ี หน็ วา่ คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาลฯ ใหบ้ รกิ ารเปน็ ไปมีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านกฎหมาย จากส�ำนักงาน ตามมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุข เน่ืองจากผู้ร้องคณะกรรมการกฤษฎีกา เพื่อให้การด�ำเนินงานของ อุทธรณ์เพื่อขอรับเงินท่ีจ่ายให้โรงพยาบาลสถาบันโรคไตคณะอนกุ รรมการนโยบายและยทุ ธศาสตรม์ ปี ระสทิ ธภิ าพ ภูมิราชนครินทร์ นับเป็นการใช้หน่วยบริการที่ไม่ได้ข้ึนมากยง่ิ ขน้ึ ทะเบียนด้วยตนเอง และผู้ร้องเรียนได้สอบถามและรับ 2) แตง่ ตง้ั คณะอนกุ รรมการตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ ทราบจาก Call Center 1330 วา่ ไมส่ ามารถใช้สิทธจิ ากและความเสียหายของส�ำนักงาน ในกรณีการจัดซ้ือ ระบบหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาตไิ ด้คอมพวิ เตอรเ์ ครอื ขา่ ยบริษัทโมนา เทคโนโลยี จำ� กดั เพือ่ใหก้ ารตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ และความเสยี หายของสำ� นกั งาน 4. การพฒั นาประเภทและขอบเขตบรกิ ารสาธารณสขุหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ มคี วามถกู ตอ้ ง โปรง่ ใสและ และระบบบริการมปี ระสทิ ธิภาพ ในปี 2560 คณะกรรมการฯ ได้สนบั สนุนการพฒั นา 3) แต่งต้ังคณะอนุกรรมการด้านกฎหมาย เพื่อ ประเภทและขอบเขตบรกิ ารสาธารณสขุ และระบบบรกิ ารช่วยปฏิบัติหน้าท่ีด้านกฎหมาย ให้การด�ำเนินงานตาม ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติอย่างต่อเนื่องกฎหมายวา่ ดว้ ยหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ และกฎหมาย เพื่อคุ้มครองให้ประชาชนได้รับสิทธิและเข้าถึงบริการอ่นื ๆ เปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพมากยงิ่ ขนึ้ สาธารณสุขได้ตามความจ�ำเป็นมีประสิทธิภาพ และเป็น ธรรม ดังนี้3. การคุ้มครองสิทธิผู้รับบริการและผู้ให้บริการ 4.1 การเตรียมพร้อมของ สปสช.เพ่ือรองรับการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ด�ำเนินงาน UCEP ในปี 2560 คณะกรรมการได้พิจารณาวินิจฉัยกรณี คณะกรรมการเห็นชอบข้อเสนอคณะรัฐมนตรีมอบอุทธรณ์มาตรฐานการให้บริการสาธารณสุข ตามมาตรา หมาย สปสช.ทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ หนว่ ยงานกลางจดั การธรุ กรรม57 แหง่ พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. การเบิกจ่ายและข้อมูลต่างๆ กรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน การ2545 จ�ำนวน 4 กรณี ได้แก่ ส�ำรองจ่ายค่าบริการสาธารณสุขกรณีอุบัติเหตุ/เจ็บป่วย 1) คณะกรรมการมีมติไม่รับอุทธรณ์ของโรง- ฉุกเฉิน แทนกองทุนหรือหน่วยงานอ่ืนให้แก่โรงพยาบาลพยาบาลปิยะมินทร์ผู้อุทธรณ์ เน่ืองจากย่ืนอุทธรณ์เกิน เอกชนนอกเครอื ขา่ ยสทิ ธกิ ารรกั ษาของผมู้ สี ทิ ธิ โดยใชเ้ งนิเวลาท่กี ฎหมายกำ� หนด จากกองทนุ หลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ในส่วนคา่ ใช้จ่าย 2) คณะกรรมการได้เห็นชอบให้มีการออกค�ำสั่ง กรณีเจบ็ ปว่ ยฉุกเฉินฯ ส�ำหรับผู้มีสิทธิหลกั ประกนั สขุ ภาพใหโ้ รงพยาบาลพญาไท นวมินทร์ คนื เงินท่เี รียกเกบ็ เป็น แห่งชาติ และเงินเหลอื จา่ ยท่ีไมม่ ีภาระผูกพัน (ถ้าม)ี ในจำ� นวนทัง้ ส้นิ 336,826 บาท พร้อมดอกเบย้ี ร้อยละสบิ หา้ การส�ำรองจ่ายแทนกองทุนหรือหน่วยงานอ่ืน และให้ตอ่ ปี นบั แต่วันทเ่ี รยี กเก็บจนถงึ วนั ที่จา่ ยคนื กองทุนหรือหน่วยงานอ่ืนคืนเงินให้ สปสช. ภายใน 30 วนั104 | รายงานการสรา งระบบหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2560
ผลการด�ำ เนินงานคณะกรรมการหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติเพอ่ื ใหม้ เี งนิ หมนุ เวยี นเพยี งพอและมคี วามคลอ่ งตวั ทางการ ในกลุ่มยาก�ำพร้าหรือยาบางรายการท่ีมีอัตราผู้ป่วยน้อยเงนิ รวมทง้ั สามารถจา่ ยชดเชยค่าบริการ ใหห้ นว่ ยบรกิ าร แตม่ คี วามจำ� เปน็ ตอ้ งสำ� รองทค่ี ลงั องคก์ ารเภสชั กรรมหรอืได้ตามเวลาที่เหมาะสม นอกจากนี้ได้ติดตามความ โรงพยาบาลที่ส�ำรอง และได้มอบหมายให้ สปสช.ติดตามกา้ วหนา้ และปญั หาอปุ สรรคการดำ� เนนิ งานการพฒั นาการ ผลการด�ำเนินงานรวมถึงปัญหาและอุปสรรคเสนอจา่ ยชดเชยแบบ Fee Schedule และเหน็ ชอบใหม้ ีรูปแบบ คณะกรรมการอยา่ งต่อเน่อื งการจ่ายชดเชยกรณี UCEP (สีแดง) เป็นไปตามท่ี 4.3 การก�ำกับคุณภาพและมาตรฐานระบบบริการพ.ร.บ.สถานพยาบาลฯ ประกาศก�ำหนดได้ติดตามความ โรคไตกา้ วหนา้ การดำ� เนนิ งานของ สปสช.เพอ่ื รองรบั การดำ� เนนิ มอบหมายให้ สปสช.ประสานกับหน่วยงานต่างๆงานตามนโยบาย “เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤติ มีสิทธิทุกที่” เพ่ือด�ำเนินการประสานกับราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่ง(Universal Coverage for Emergency Patients : UCEP) ประเทศไทยและสมาคมโรคไตแหง่ ประเทศไทย พจิ ารณาท้ังในส่วนของการพัฒนาระบบบริการอุบัติเหตุ เจ็บป่วย ทบทวนกระบวนการการปรับเงื่อนไข shift modeฉกุ เฉินวิกฤติ ในส่วนการส�ำรองจา่ ยและการชำ� ระคนื เกณฑก์ ารท�ำ HD และ CAPD การพจิ ารณาการบริหาร 4.2 แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการจัดหายา วัคซนี เวชภัณฑ์ คลังและการจัดการระบบขนส่งน้�ำยาล้างไตโดยไม่ให้อุปกรณ์ทางการแพทย์ และอวัยวะเทียมในระบบหลัก กระทบตอ่ ผปู้ ว่ ยและรว่ มกบั องคก์ ารเภสชั กรรมดำ� เนนิ การประกันสุขภาพแห่งชาติ ตอ่ รองราคาน้ำ� ยาลา้ งไต ประสานการด�ำเนินการรว่ มกับ ในช่วงปี 2560 คณะกรรมการเร่งรัดติดตามการ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการด�ำเนินการจัดหายา วัคซีน เวชภัณฑ์ อุปกรณ์ทางการ สาธารณสุข ในการก�ำกับคุณภาพและมาตรฐานการแพทย์ อวัยวะเทียม รวมถึงการแก้ไขปัญหาไม่ให้เกิด บรกิ าร และรว่ มกบั ราชวทิ ยาลยั อายรุ แพทยแ์ หง่ ประเทศไทยการคา้ งชำ� ระคา่ ยา และคา่ บรกิ ารกรณงี บประมาณปี 2560 ศึกษาผลลัพธ์ทางคลินิก (Clinical Outcome) ความไม่เพียงพอ คุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ (Cost Utility Analysis) และ ปลายปงี บประมาณ 2560 คณะกรรมการไดแ้ ตง่ ตัง้ การน�ำไปใช้ด้านนโยบายและการจัดการบริหารภายในคณะอนุกรรมการจัดท�ำแผนการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์และ ประเทศ (Budget Impact & Policy Advocacy) รวมถงึอปุ กรณท์ างการแพทยท์ จ่ี ำ� เปน็ ตามโครงการพเิ ศษ (คำ� สง่ั ได้มอบหมายให้คณะอนุกรรมการก�ำหนดประเภทและท่ี 11/2560) เพอ่ื ใหก้ ารจดั ท�ำแผนการจดั ซ้อื ยา เวชภัณฑ์ ขอบเขตฯ ติดตามประเมินผลการบูรณาการต้นทางและอุปกรณ์ทางการแพทย์ท่ีจ�ำเป็นตามโครงการพิเศษ กลางทาง ปลายทางในการบริหารจัดการบริการทดแทนสำ� หรบั ผู้มสี ทิ ธิในระบบหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ เป็น ไตส�ำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังในระบบหลักประกันสุขภาพไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุด และ แหง่ ชาติประกาศขึ้นทะเบยี น “เครอื ขา่ ยหน่วยบรกิ ารโรงพยาบาล 4.4 การชว่ ยเหลือผปู้ ระสบอุทกภัยภาคใต้ราชวถิ ”ี เปน็ เครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ ารสำ� หรบั จดั หายา เวชภณั ฑ์ ในชว่ งตน้ ปี 2560 ไดเ้ กดิ อทุ กภยั ในพนื้ ทภี่ าคใต้ ทำ� ให้อวยั วะเทียม และอปุ กรณท์ างการแพทย์ และเหน็ ชอบให้ เกิดน้�ำท่วมฉับพลัน ส่งผลให้ประชาชนได้รับผลกระทบ/สง่ มอบยาและเวชภณั ฑค์ งคลงั ณ สน้ิ ปงี บประมาณ 2560 ปัญหาในการเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่จ�ำเป็น รวมถึงดังกลา่ วให้แก่ เครอื ขา่ ยหน่วยบรกิ ารโรงพยาบาลราชวิถี ผลกระทบกบั โรงพยาบาลในหลายพนื้ ท่ี คณะกรรมการได้เพอื่ ไปดำ� เนนิ การจา่ ยใหแ้ กห่ นว่ ยบรกิ ารตอ่ ในปงี บประมาณ มีมติในการประชมุ ครั้งท่ี 1/2560 วันที่ 6 มกราคม 25602561 และใหม้ กี ารดำ� เนนิ การจำ� หนา่ ย/ทำ� ลายยาหมดอายุ เห็นชอบให้ สปสช.ด�ำเนินการช่วยเหลือผู้มีสิทธิหลักรายงานการสรางระบบหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ ประจำ�ปีงบประมาณ 2560 | 105
ประกันสุขภาพแห่งชาติท่ีประสบปัญหาในพื้นท่ีอุทกภัย มขี ้อเสนอการรบั ฟังความคิดเห็นทัว่ ไปประจำ� ปี 2559 ให้โดยเห็นชอบให้ผู้มีสิทธิในพ้ืนที่อุทกภัยใช้บริการท่ีหน่วย ยกเวน้ คา่ บรกิ ารหมายเลขโทรศพั ทส์ ายดว่ น สปสช. 1330บริการอ่นื หรอื สถานบรกิ ารอื่นได้ จนกวา่ จะมกี ารยกเลกิประกาศการจัดการสาธารณภัยขนาดใหญ่ เพ่ือบรรเทา 5. การบริหารจัดการระบบงานและองค์กรความเดือดร้อนของประชาชน และหน่วยบริการท่ีให้ 5.1 การสรรหาเลขาธิการ สปสช.บริการสามารถท�ำเรื่องเบิกค่าใช้จ่ายมาท่ี สปสช.ได้ตาม คณะกรรมการแตง่ ตง้ั คณะกรรมการสรรหาเลขาธกิ ารเกณฑท์ ีก่ �ำหนด สปสช. สืบเน่ืองจากสัญญาจ้างเลขาธิการ สปสช. 4.5 การรับบริการสาธารณสุขของคนพิการตาม (นายวนิ ัย สวัสดวิ ร) ในการท�ำหนา้ ท่เี ลขาธกิ ารสำ� นักงานกฎหมายวา่ ดว้ ยหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตแิ ละกฎหมาย หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ มีระยะเวลาปฏิบตั ิงาน 4 ปีวา่ ด้วยการประกันสังคม เร่ิมตั้งแต่วนั ท่ี 16 พฤษภาคม 2555 และส้นิ สุดในวันท่ี 15 คณะกรรมการสนับสนุนการด�ำเนินงานตามค�ำสั่ง พฤษภาคม 2559 ดงั นนั้ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความตอ่ เนอ่ื งในการทำ�หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 58/2559 เม่ือ หน้าที่บริหารองค์กร และระบบหลักประกันสุขภาพแห่งวนั ท่ี 15 กนั ยายน 2559 เรือ่ งการรบั บริการสาธารณสุข ชาติตามแนวนโยบายของคณะกรรมการหลักประกันของคนพิการตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพ สขุ ภาพแหง่ ชาติแห่งชาติและกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม ท่ีมีสาระ คณะกรรมการสรรหาเลขาธิการฯ ไดส้ รรหาผสู้ มคั รส�ำคัญในการให้คนพิการ ในฐานะผู้ประกันตนตาม เพอ่ื รบั การคดั เลอื กและแตง่ ตง้ั เปน็ เลขาธกิ าร สปสช. และกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม มีสิทธิได้รับบริการ เสนอคณะกรรมการในการประชุมคร้ังท่ี 7/2559 เมื่อสาธารณสขุ ทม่ี มี าตรฐานและมปี ระสทิ ธภิ าพตามทกี่ ำ� หนด วันท่ี 4 กรกฎาคม 2559 คณะกรรมการ (ประชมุ ลบั ) มีไวใ้ นกฎหมายวา่ ดว้ ยหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตดิ ว้ ย และ มตไิ ม่รับรองนายแพทยป์ ระทปี ธนกิจเจริญ ดว้ ยคะแนนให้กองทุนประกันสังคมจ่ายค่าใช้จ่ายฯ ตามหลักเกณฑ์ เสียงสว่ นใหญ่ จ�ำนวน 14 เสยี งวิธีการ และเงอ่ื นไข ท่กี ระทรวงการคลงั ก�ำหนด (สปสช. หลังจากน้ันได้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการสรรหาด�ำเนินการจัดการระบบทะเบียน การคุ้มครองสิทธิการ เลขาธกิ าร สปสช.ชุดใหม่ โดยมี รศ.ตอ่ ตระกลู ยมนาครบั บริการสาธารณสขุ ของคนพกิ าร คา่ ใช้จ่ายเพอ่ื บรกิ าร เป็นประธาน สรรหาผู้สมัครเพ่ือรับการคัดเลือกและสาธารณสุขจากกองทนุ ประกันสังคม และขอ้ มลู การเบกิ แต่งต้ังเป็นเลขาธิการ สปสช.เสนอคณะกรรมการหลักค่ารักษาพยาบาล) ประกันสุขภาพแห่งชาติพิจารณา ซ่ึงคณะกรรมการได้ 4.6 การขอยกเว้นค่าบริการโทรสายด่วน สปสช. พิจารณาคัดเลือกเลขาธิการจากผู้ท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสม1330 และผ่านการสรรหา และมีมติเม่ือการประชุมวันท่ี คณะกรรมการมีมติมอบหมายให้ สปสช.ท�ำหนังสือ 6 มีนาคม 2560 เห็นชอบการแต่งตั้งนายศักดิ์ชัยถึงส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ กาญจนวัฒนา เป็นเลขาธิการส�ำนักงานหลักประกันโทรทัศนแ์ ละกิจการโทรคมนาคมแหง่ ชาติ (กสทช.) เพือ่ สุขภาพแห่งชาติ และได้มีการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งขอยกเวน้ คา่ บรกิ ารหมายเลข 1330 เพอื่ เปน็ การเพม่ิ ความ ตง้ั แตว่ ันที่ 3 เมษายน 2560 ถงึ วันที่ 2 เมษายน 2564สะดวกให้กับประชาชน ในการโทรปรึกษาการใช้สิทธิ หลังจากน้ันได้มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเจรจาหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และขอความช่วยเหลือเม่ือ ค่าตอบแทนและเงื่อนไขการจ้างเลขาธิการ สปสช. โดยประสบปญั หาในการเขา้ ถงึ การรกั ษาพยาบาล รวมถงึ การ มี รศ.ทศั นา บญุ ทอง เปน็ ประธาน โดยทำ� หนา้ ทพี่ จิ ารณา106 | รายงานการสรางระบบหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ประจำ�ปีงบประมาณ 2560
ผลการดำ�เนนิ งานคณะกรรมการหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติค่าตอบแทนและเงื่อนไขการจ้าง และจัดท�ำแผนการ (ประชาชน ผใู้ หบ้ รกิ ารและทกุ ภาคสว่ น) ไดร้ บั การสอ่ื สารด�ำเนินงานและประเมินผลงาน ซึ่งได้น�ำเสนอต่อ ประชาสัมพันธ์เร่ืองระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติคณะกรรมการพิจารณาเมื่อการประชุม ครั้งท่ี 7/2560 ท่ีถูกต้องและม่ันใจและได้รับประโยชน์จากการรับฟังวันท่ี 7 มถิ นุ ายน 2560 โดยเหน็ ชอบแผนการดำ� เนินงาน ความเห็นเพื่อระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ” มีและการประเมนิ ผลการปฏิบัติงานของเลขาธกิ าร สปสช. 3 ยุทธศาสตรห์ ลักซึง่ มตี ัวช้ีวัดทั้งหมด 31 ตวั และแต่งต้งั คณะอนุกรรมการ 5) คณะอนุกรรมการก�ำหนดหลักเกณฑ์การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านเลขาธิการ สปสช. ด�ำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุน “สร้างความ 5.2 ยุทธศาสตร์ของคณะอนุกรรมการภายใต้ มนั่ ใจในประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารกองทนุ ” มี 3 ยทุ ธศาสตร์คณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ หลัก คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้แต่ง 6) คณะอนุกรรมการจัดท�ำข้อเสนอการสรรหาต้ังคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการหลักประกัน และค่าตอบแทน “มีการสรรหาและธ�ำรงรักษาบุคลากรสุขภาพแห่งชาติ และก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ส่วนหน่ึงให้มี ที่ดี มีความสุข เก่ง ทันต่อความเปลี่ยนแปลง สามารถการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ของคณะอนุกรรมการระยะ ขบั เคลอ่ื นนโยบายของคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพ4 ปี ใหส้ อดคล้องกบั พระราชบญั ญัตหิ ลกั ประกันสขุ ภาพ แห่งชาติ อย่างได้ผล มีนวัตกรรมและเป็นไปตามหลักแหง่ ชาติ ซงึ่ คณะอนกุ รรมการฯชดุ ตา่ งๆ ไดด้ ำ� เนนิ การจดั ธรรมาภบิ าล” มี 2 ยทุ ธศาสตร์ 5 ยุทธวธิ ีท�ำยุทธศาสตร์เสนอคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพ 5.3 การสร้างชุมชนแห่งความมุ่งมั่นและความแหง่ ชาติ โดยแตล่ ะคณะอนกุ รรมการมที ศิ ทาง (วสิ ยั ทศั น)์ รับผดิ ชอบร่วมกนั ของคณะกรรมการฯ (Community ofในการดำ� เนนิ งาน ดังนี้ commitment and accountability) ตามยทุ ธศาสตร์ฯ 1) คณะอนกุ รรมการกำ� หนดประเภทและขอบเขต ฉบบั ที่ 4ในการให้บริการสาธารณสุขท่ีจ�ำเป็นต่อสุขภาพและ คณะกรรมการเหน็ ชอบแผนงาน Board เพมิ่ ขดี ความการดำ� รงชีวติ “บุคคลผ้มู ีสิทธิ เขา้ ถงึ ชุดสิทธปิ ระโยชน์ที่ สามารถของกลไกอภิบาลในระบบหลักประกันสุขภาพเหมาะสมอย่างท่ัวถึง และมีคุณภาพ” มี 4 ยุทธศาสตร์ แหง่ ชาติ โดยเฉพาะ Board member เพอ่ื สรา้ งชมุ ชนแหง่หลัก 9 ยทุ ธวิธี ความมงุ่ ม่นั และความรบั ผิดชอบรว่ มกัน (Community of 2) คณะอนุกรรมการก�ำหนดมาตรฐานการให้ commitment and accountability) โดยทั้งคณะกรรมบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วย การหลักฯ และคณะกรรมการควบคุมคุณภาพฯ ได้ร่วมบริการ “กำ� หนดมาตรฐานบริการสาธารณสขุ ของหนว่ ย ประชมุ Retreat เพ่อื ร่วมแลกเปลย่ี นเรียนรปู้ ระเด็นการบริการและเครือขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร” มี 3 ยุทธศาสตร์หลัก สรา้ งความมงุ่ มน่ั และความรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั (วนั ที่ 21-226 ยุทธวธิ ี กรกฎาคม 2560) ในหัวข้อศาสตร์พระราชากับบทบาท 3) คณะอนุกรรมการส่งเสริมการมีส่วนร่วมใน ของคณะกรรมการฯ Board relation topic & Groupการสรา้ งหลกั ประกันสุขภาพของทุกภาคสว่ น “ประชาชน dynamic การจัดเวทีถกแถลง Policy Dialogue ในทุกคน มีส่วนร่วมและเป็นเจ้าของระบบหลักประกัน ประเด็นการพิจารณาแก้ไขเพ่ิมเติมพระราชบัญญัติหลักสุขภาพ มี 4 ยุทธศาสตร์หลกั 16 ยทุ ธวธิ ี ประกนั สุขภาพแห่งชาติ (ฉบับที่...) พ.ศ... บทบาทหน้าที่ 4) คณะอนุกรรมการส่ือสารสังคมและรับฟัง ของคณะกรรมการเพื่อการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี พลังความคิดเห็นจากผู้ให้บริการและผู้รับบริการ “ทุกคน แห่ง Trust and Accountability , Wrap up & What’sรายงานการสรางระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ประจำ�ปีงบประมาณ 2560 | 107
next พันธสัญญาและความรับผิดชอบร่วมกันในการ การให้ความเห็นชอบในนามของคณะกรรมการขาดขบั เคลอ่ื นอนาคต ระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ และ ประสทิ ธภิ าพลงได้ เกดิ ความเสยี่ งกบั ระบบการเรยี นร้โู ครงการช่ังหัวมนั ฯ 5.4 การจ้างที่ปรึกษาทางการเงินและบัญชี ของ 6. การมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการระบบหลักสปสช. ประกันสขุ ภาพ คณะกรรมการฯเห็นชอบให้จัดท�ำข้อตกลงการ 6.1 การรับฟังความคิดเห็นจากผู้ให้บริการและด�ำเนินงาน (TOR) ขอบเขตการจา้ งท่ปี รกึ ษาทางการเงนิ ผู้รบั บรกิ ารและบัญชีของ สปสช. เพ่ือเข้ามาช่วยให้ค�ำปรึกษาการ ตลอดระยะเวลา 15 ปที ผ่ี า่ นมา การดำ� เนนิ การรบั ฟงัวางระบบการเงินการบัญชีและการดูแลความเส่ียง ความคดิ เหน็ จากผใู้ หบ้ รกิ ารและผรู้ บั บรกิ าร เปน็ ภารกจิ ที่ทางการเงินขององค์กรของ สปสช. เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ี ส�ำคัญด้านหนึ่งของคณะกรรมการตามที่กฎหมายได้ถูกต้องและครบถว้ น เป็นทนี่ า่ เชื่อ สืบเน่อื งจาก สปสช. ก�ำหนดไว้ให้ด�ำเนินการเป็นประจ�ำทุกปี ตามมาตรา 18ยงั ขาดขอ้ มลู คา่ บรกิ ารคา้ งจา่ ยทเ่ี ปน็ ปจั จบุ นั และไมม่ กี าร (10) และ (13) รวมท้ังมาตรา 46 วรรค 2 ระบุว่าบนั ทกึ เจา้ หนแ้ี ละลกู หน้ีใหค้ รบถว้ น สง่ ผลใหค้ ณะกรรมการ หลักเกณฑ์การจ่ายค่าบริการสาธารณสุขต้องผ่านการไม่มีข้อมูลและความเชื่อถือของข้อมูลเก่ียวกับรายงาน รบั ฟังความคดิ เห็นตามมาตรา 18 (13) กอ่ นทางการเงินในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกัน ในปี 2560 คณะกรรมการไดอ้ นมุ ตั แิ ผนปฏบิ ตั กิ ารจดัสุขภาพแห่งชาติของส�ำนักงาน อาจท�ำให้การส่ังการและ ประชุมรับฟังความคิดเห็นฯ ประจ�ำปี 2560 โดยมีการ ปรับปรุงกระบวนการรับฟังความคิดเห็น ในประเด็น ดงั ตารางที่ 16ตารางท่ี 16 ประเดน็ พัฒนาปรับปรงุ กระบวนการรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ฯ ประจำ� ปงี บประมาณ 2560 ประเด็นพฒั นา ปี 25601. Stakeholder กลมุ่ เฉพาะ มีการรบั ฟังใน 1) ตามประเดน็ ของพื้นท่ี เช่น เด็กปฐมวัย ผูส้ งู อายุ นกั ศกึ ษา 2) กลมุ่ เปราะบางทีต่ อ้ งเข้าถงึ บรกิ าร เชน่ ผูต้ ้องขัง คนไรบ้ ้าน กลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ มีประเด็นเฉพาะจากการทบทวนยุทธศาสตร์และปัญหาร่วมกัน คือ2. ใหค้ วามสำ� คัญกับประเดน็ เฉพาะเพ่มิ ขนึ้ 1) การปฏิรูปกองทุนทอ้ งถ่ิน 2) การด�ำเนนิ งาน Long Term Care3. รปู แบบและวธิ ีการรบั ฟงั 3) การเข้าถงึ บรกิ ารของกล่มุ เปราะบาง มกี ารเพ่ิมช่องทางและวธิ กี ารรบั ฟัง ดงั นี้4. Board Relation 1) เพ่ิมรปู แบบสมชั ชาพจิ ารณ์ และสมชั ชาเฉพาะประเด็น 2) ใชว้ ธิ กี ารรวบรวมขอ้ มูลหลายแบบ/ช่องทาง เชน่ สนทนากลมุ่ dialogue website และแบบสอบถามในการประชมุ ต่างๆ 3) เสริมข้อมูลทางวิชาการประเด็นทต่ี อ้ งการขับเคลือ่ น และสร้างการมสี ว่ น ร่วม การ dialogue เพื่อรบั ฟังความคิดเห็นและสรา้ งปฏิสมั พันธร์ ะหวา่ ง อนุกรรมการเขตและกรรมการหลักประกันสขุ ภาพฯ/กรรมการควบคุม คุณภาพฯ108 | รายงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำ�ปีงบประมาณ 2560
ผลการด�ำ เนินงานคณะกรรมการหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติโดยคณะกรรมการไดใ้ หค้ วามสำ� คญั และมสี ว่ นรว่ มในการ ระดับเขตและระดบั ประเทศ ซึง่ มขี ้อเสนอทง้ั สนิ้ 384 ขอ้รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ทว่ั ไปจากผใู้ หบ้ รกิ ารและผรู้ บั บรกิ ารทงั้ ดงั ตารางท่ี 17ตารางที่ 17 ข้อเสนอจากผู้ให้บริการและผู้รับบริการท้ังระดับเขตและระดับประเทศในการประชุมรับฟังความคิดเห็นฯประจำ� ปีงบประมาณ 2560 ข้อเสนอด้าน จ�ำนวน (ข้อ)1. ประเภทและขอบเขตบรกิ ารสาธารณสขุ ฯ 712. มาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุข 433. การบรหิ ารจัดการสำ� นกั งาน 854. การบรหิ ารจดั การกองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ 525. การบริหารจัดการกองทุนหลกั ประกนั สุขภาพในระดับทอ้ งถ่ินและพืน้ ที่ 366. การมสี ว่ นรว่ มของภาคประชาชน 147. การรับรูแ้ ละคุม้ ครองสทิ ธิ 178. ประเดน็ เฉพาะ 8.1 การปฏิรปู กองทนุ ท้องถิ่น 28 8.2 กองทุน Long Term Care 15 8.3 การเขา้ ถึงบริการของกลมุ่ เปราะบาง 23รวมทงั้ หมด 384 ทงั้ นคี้ ณะกรรมการไดม้ อบหมายใหค้ ณะอนกุ รรมการ 6.2 การด�ำเนินงานสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติท่ี ของพนกั งานหรอื ลกู จ้างของ อปท.เกี่ยวข้องและส�ำนักงานฯ น�ำข้อเสนอที่ได้จากการรับฟัง คณะกรรมการไดต้ ดิ ตามความกา้ วหนา้ การดำ� เนนิ งานความคิดเห็นไปประกอบการพิจารณาด�ำเนินการตาม กรณงี บคา่ รกั ษาพยาบาลสทิ ธสิ วสั ดกิ ารรกั ษาพยาบาลของความเหมาะสม โดยมีการน�ำข้อเสนอเข้าสู่การพิจารณา พนักงานหรือลูกจ้างของ อปท.ไม่เพียงพออย่างต่อเน่ืองกลนั่ กรอง และดำ� เนนิ การผา่ นวธิ แี ละกลไกตา่ งๆ เชน่ การ เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาและเพิ่มประสิทธิภาพในการปรับปรงุ การบรหิ ารจัดการด้านต่างๆ การพัฒนาประเภท บริหารกองทุน รวมถึงการปรับปรุง MOU และระเบียบและขอบเขตบริการสาธารณสุข การศึกษาวิจัยเพ่ิมเติม ปฏบิ ตั ิ โดย สปสช. กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถิน่ และเพอื่ ประกอบการพจิ ารณาในการประกาศเปน็ นโยบายหรอื หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องร่วมพิจารณา เพ่ือให้เกิดความพัฒนาระบบต่อไป เป็นต้น รวมทั้งมีการรายงานความ คล่องตัวและถูกต้องในการบริหารงบประมาณ ใน 3คบื หนา้ การด�ำเนนิ การเป็นประจ�ำทุกปี ประเด็น คอื การทดรองจ่ายของ สปสช., องคป์ ระกอบ คณะกรรมการ และวตั ถปุ ระสงคข์ องเงนิ คา่ บรหิ ารจดั การ 1.5%รายงานการสรางระบบหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2560 | 109
7. การดำ� เนินงานด้านอื่นๆ ดูงานรูปแบบการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพของ 7.1 การตรวจสอบการด�ำเนินงานจากหน่วยงาน ประเทศญปี่ นุ่ ซงึ่ การศกึ ษาดงู านในครงั้ นเี้ ปน็ ความรว่ มมอืภายนอก ระหว่างกระทรวงสาธารณสุข ส�ำนักงานหลักประกัน ในปี 2560 คณะกรรมการและสำ� นกั งานฯ ไดม้ โี อกาส สขุ ภาพแหง่ ชาติ และองคก์ ารความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศส่งเสริมกระบวนการก�ำกับดูแลท่ีดี และความโปร่งใสใน แห่งญป่ี ่นุ (JICA) ที่จัดการศึกษาดงู านแกผ่ ู้บรหิ ารระดับการปฏบิ ัตงิ าน ทัง้ จากภายในและภายนอก เนื่องจากได้มี สูงของกระทรวงสาธารณสุข ผู้แทนคณะกรรมการหลักการตรวจสอบการด�ำเนินงานของคณะกรรมการฯและ ประกันสุขภาพแห่งชาติ และผู้บริหารส�ำนักงานหลักสปสช.จากหนว่ ยงานตา่ งๆจากภายนอก ซงึ่ คณะกรรมการ ประกันสุขภาพแห่งชาติ ในประเด็นรูปแบบการบริหารได้ให้ความร่วมมืออย่างเต็มท่ีในการช้ีแจงข้อมูลราย- จัดการระบบประกันสุขภาพของประเทศญ่ีปุ่น ระหว่างละเอยี ดและขอ้ เทจ็ จรงิ ตา่ งๆ เชน่ การดำ� เนนิ งานและการ วนั ที่ 21 - 25 กมุ ภาพนั ธ์ 2560 ณ กรุงโตเกียว ประเทศแกไ้ ขตอ่ ขอ้ สงั เกตของ สตง.จากการตรวจสอบงบการเงนิ ญี่ปุน่ เพ่ือเรยี นร้ใู นดา้ นตา่ งๆ เช่น ปจั จยั ทท่ี �ำใหป้ ระสบกองทุนหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ความส�ำเร็จในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 7.2 ความร่วมมือกับต่างประเทศ โครงการ ความทา้ ทายด้านความย่งั ยนื ทางการเงิน ซงึ่ ภายหลงั จากยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับองค์การ การศึกษาดูงาน คณะกรรมการได้มีมติมอบหมายให้อนามัยโลก (WHO Country Cooperation Strategies: กระทรวงสาธารณสุข สปสช. และ JICA ร่วมกันปรับCCS) แผนปฏบิ ตั กิ ารในโครงการความรว่ มมอื JICA ใหส้ อดคลอ้ ง คณะกรรมการได้เห็นถึงความส�ำคัญในความร่วมมือ กับโจทย์ที่ได้จากการศึกษาดูงาน โดยเฉพาะการพัฒนากับองค์การอนามัยโลก โดยมีเป้าหมายส�ำคัญร่วมกันคือ บุคลากรในการวิจัยร่วมกัน และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การแก้ไขปัญหาสุขภาพของประเทศ ของภูมิภาคและ ร่วมกับประเทศญ่ีปุ่น เพื่อถ่ายทอดและขับเคล่ือนระบบระดับโลก เพ่ือให้คนไทยและประชากรโลกมีสุขภาพดี ประกนั สุขภาพแก่ประเทศกำ� ลังพฒั นาอ่นื ๆจึงได้มีมติเห็นชอบแผนงานความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกบั องคก์ ารอนามยั โลก (WHO Country Coopera-tion Strategies: CCS) ใน 6 แผนงานส�ำคัญได้แก่แผนงานโรคไม่ติดต่อ แผนงานความปลอดภัยทางถนนแผนงานสุขภาพของประชากรต่างด้าว แผนงานจัดการปัญหาเช้ือดื้อยาต้านจุลชีพ แผนงานสร้างความเข้มแข็งของงานสุขภาพโลกเพื่อการพัฒนาสุขภาพ และแผนงานการคา้ ระหวา่ งประเทศกบั สขุ ภาพ ซงึ่ เปน็ ปญั หาสาธารณสขุของประเทศไทยในปจั จุบนั 7.3 การศกึ ษาดงู านรปู แบบการบรหิ ารจดั การระบบประกนั สุขภาพของประเทศญี่ปนุ่ เปน็ ทท่ี ราบกนั ดวี า่ ระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพถว้ นหนา้ของประเทศญี่ปนุ่ เป็นตน้ แบบท่ดี ีแหง่ หน่ึงของโลก ซง่ึ ในชว่ งเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ คณะกรรมการฯไดเ้ ขา้ รว่ มการศกึ ษา110 | รายงานการสรา งระบบหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ประจำ�ปงี บประมาณ 2560
ผลการด�ำ เนินงานคณะกรรมการควบคมุ คุณภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุข2. ผลการด�ำ เนินงานคณะกรรมการควบคมุ คุณภาพ และมาตรฐานบริการสาธารณสุข ตามมาตรา 48 แห่งพระราชบัญญัติหลักประกัน บรกิ ารและเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร มาตรา 50 (6) รายงานสขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2545 ไดก้ ำ� หนดใหม้ คี ณะกรรมการ ผลการตรวจตราและควบคุมคุณภาพและมาตรฐานควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข โดยมี หนว่ ยบรกิ ารและเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ ารตอ่ คณะกรรมการอ�ำนาจหน้าท่ีตามมาตรา 50(1) - (10) แห่งพระราช พร้อมแจ้งหน่วยบริการและหน่วยงานต้นสังกัดเพ่ือบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในการควบคุม ปรบั ปรงุ แกไ้ ขและประเมนิ ผลในเรอื่ งการปรบั ปรงุ คณุ ภาพคุณภาพและมาตรฐานหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วย และมาตรฐาน และมาตรา 50 (7) สนบั สนนุ การมสี ว่ นรว่ มบริการ รวมทั้งก�ำกับดูแลการให้บริการสาธารณสุขของ ของประชาชนในการตรวจตราและการควบคุมก�ำกับหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเพื่อให้ หนว่ ยบรกิ ารและเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร ผลการดำ� เนนิ งานประชาชนสามารถเข้ารับบริการสาธารณสุขท่ีมีคุณภาพ ปีงบประมาณ 2560 ดงั นี้และมาตรฐาน โดยสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ 1.1 การก�ำกับคุณภาพและมาตรฐานการให้บริการได้รับมอบหมายใหท้ ำ� หน้าทเี่ ปน็ ฝ่ายเลขานกุ าร สนบั สนุน สาธารณสุขภารกิจของคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการบรกิ ารสาธารณสขุ ตามอ�ำนาจหน้าท่ี สาธารณสขุ จดั ใหม้ กี ลไกการกำ� กบั คณุ ภาพและมาตรฐาน ในปีงบประมาณ 2560 ผลการด�ำเนินงานของ บริการ ในประเด็นที่พบว่า หน่วยบริการไม่ปฏิบัติตามคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการ มาตรฐานการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ทก่ี ำ� หนด (มาตรา 57)สาธารณสุขทีส่ �ำคัญ สรุปไดด้ ังน้ี และกรณีที่ผู้รับบริการไม่ได้รับความสะดวกตามสมควร ตามสิทธิท่ีจะได้รับบริการสาธารณสุขท่ีก�ำหนด หรือ1. การควบคมุ กำ� กับ และส่งเสรมิ คุณภาพมาตรฐาน หนว่ ยบรกิ ารเรยี กเกบ็ คา่ บรกิ ารโดยไมม่ สี ทิ ธทิ จี่ ะเกบ็ หรอืหน่วยบริการและเครือขา่ ยหน่วยบรกิ าร เรียกเก็บเกินกว่าอัตราท่ีคณะกรรมการก�ำหนด (มาตรา การดำ� เนนิ งานดา้ นการควบคมุ กำ� กบั และสง่ เสริม 59) โดยมกี ารแตง่ ตงั้ คณะกรรมการสอบสวน 2 คณะ ตามคณุ ภาพมาตรฐานหนว่ ยบรกิ ารและเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร คำ� สงั่ คณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารของคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการ สาธารณสุข ท่ี 4/2559 ลงวันที่ 19 พฤษภาคม 2559สาธารณสุข เป็นไปตามอ�ำนาจหน้าทตี่ ามมาตรา 50 (1) มีหน้าที่ด�ำเนินการสอบสวนเร่ืองท่ีได้รับมอบหมายจากควบคุมคุณภาพและมาตรฐานหน่วยบริการและเครือข่าย คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการหนว่ ยบรกิ ารตามมาตรา 45 มาตรา 50 (2) กำ� กบั ดแู ลการ สาธารณสุข เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย และให้บริการสาธารณสุขของหน่วยบริการให้มีคุณภาพและ ข้อพิจารณา และเสนอเร่ืองดังกล่าวพร้อมความเห็นมาตรฐานในกรณที หี่ นว่ ยบรกิ ารนนั้ ๆ มกี ารบรกิ ารในสว่ น ต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการทีส่ งู กวา่ บรกิ ารฯตามมาตรา 5 มาตรา 50 (3) ก�ำหนด สาธารณสุขเพ่ือพิจารณาตอ่ ไปมาตรการควบคมุ และสง่ เสรมิ คณุ ภาพและมาตรฐานหนว่ ยรายงานการสรางระบบหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ ประจำ�ปงี บประมาณ 2560 | 111
ในปีงบประมาณ 2560 มีเร่ืองร้องเรียนหน่วย บริการในบริการหรือโรคที่ส�ำคัญ จ�ำนวน 4 กลุ่มโรค/บริการ ผ่านคณะกรรมการสอบสวนพิจารณา ภายใต้ บรกิ าร ดงั น้ี โรคไตวายเรอื้ รงั ตอ้ กระจก การทำ� หตั ถการคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการ รักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารียผานสายสวน (Percuta-สาธารณสขุ จ�ำนวนทั้งสนิ้ 30 เรอ่ื ง รายละเอยี ดดงั น้ี neous Coronary Intervention: PCI) และการรักษา 1) กรณีหน่วยบริการไม่ปฏิบัติตามมาตรฐาน ผปู้ ่วยเอดส์ กรณสี ูตรดอ้ื ยาการให้บริการสาธารณสขุ ทก่ี �ำหนด (มาตรา 57) จ�ำนวน 2) ข้อเสนอเพื่อการควบคุมก�ำกับคุณภาพและ18 เร่ือง ดงั นี้ มาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ 1.1) มีค�ำสั่งตักเตือนให้หน่วยบริการปฏิบัติ และเครอื ข่ายหน่วยบรกิ ารใหถ้ ูกต้อง ตามมาตรา 58(1) จำ� นวน 4 เรอ่ื ง 2.1) ข้อเสนอจากประเด็นคุณภาพการให้ 1.2) ยกขอ้ ร้องเรียน จ�ำนวน 3 เร่อื ง บริการสาธารณสุข เช่น การป้องกันไฟฟ้าจากเครื่อง 1.3) อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาสอบ ปม๊ั ลมไฟฟา้ ของยนู ติ ทำ� ฟนั ดดู ผรู้ บั บรกิ าร การปอ้ งกนั การสวน จำ� นวน 11 เร่อื ง ตดิ เชอ้ื และภาวะแทรกซอ้ นหลงั การผา่ ตดั และการปอ้ งกนั 2) กรณีผู้รับบริการร้องเรียนว่าไม่ได้รับ ภาวะแทรกซ้อนจากยา Chloroquine ในผู้ป่วยโรคความสะดวกตามสมควรหรือตามสิทธิที่จะได้รับบริการ รูมาตอยด์ เป็นต้น โดยท�ำหนังสือแจ้งไปยังหน่วยงานที่สาธารณสุขท่ีก�ำหนดตามพระราชบัญญัตินี้จากหน่วย เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขบริการ หรอื หน่วยบรกิ ารเรียกเก็บคา่ บริการโดยไม่มีสิทธิ คณะอนุกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการจะเรยี กเก็บหรือเรยี กเกบ็ เกนิ กวา่ อตั ราท่กี �ำหนด (มาตรา สาธารณสุขระดับเขตพ้ืนที่ เพื่อหาสาเหตุและวางแผน59) จำ� นวน 12 เรือ่ ง ปอ้ งกันการเกิดเหตซุ ้�ำ 2.1) มคี ำ� สง่ั ใหห้ นว่ ยบรกิ ารคนื เงนิ คา่ บรกิ าร 2.2) ขอ้ เสนอจากผลการรบั ฟงั ความคดิ เหน็ส่วนเกินหรือไม่มีสิทธิเรียกเก็บให้แก่ผู้รับบริการ จ�ำนวน ทวั่ ไปจากผใู้ หบ้ รกิ ารและผรู้ บั บรกิ าร ปงี บประมาณ 25606 เรอื่ ง และส�ำรวจความคิดเห็นของประชาชน ผู้ให้บริการและ 2.2) ผ้รู อ้ งเรยี นขอยุติเรื่อง จำ� นวน 1 เร่อื ง องคก์ รภาคที เี่ กย่ี วขอ้ งตอ่ การดำ� เนนิ งานระบบหลกั ประกนั 2.3) อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาสอบ สุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560สวน จำ� นวน 5 เร่ือง 2.3) ข้อเสนอต่อแนวทางการตรวจสอบ 1.2 การก�ำหนดมาตรการควบคุมและส่งเสริม ชดเชยและสรุปผลการตรวจสอบเวชระเบียนในระบบคุณภาพและมาตรฐานหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วย หลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติบรกิ าร 3) การก�ำกับติดตามผลการด�ำเนินงานบริหาร ในปีงบประมาณ 2560 คณะกรรมการควบคุม งบบริการจ่ายตามคุณภาพผลงานบริการ (QOF)คุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข ได้ก�ำหนด ปีงบประมาณ 2560 ให้เป็นไปตามเป้าหมายและวัตถุ-มาตรการและข้อเสนอการก�ำกับควบคุมและส่งเสริม ประสงค์ที่ก�ำหนด และการให้ข้อเสนอการจัดท�ำตัวชี้วัดคุณภาพและมาตรฐานหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วย คณุ ภาพ (Quality Indicator)บริการ ดังนี้ 4) ข้อเสนอการจัดท�ำแผนการบูรณาการกลไก 1) ก�ำกับติดตามคุณภาพมาตรฐานการให้ ในการพัฒนาและก�ำกับคุณภาพบริการ ในปี 2561 เพอื่บริการสาธารณสุขของหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วย เชอื่ มโยงกบั ยทุ ธศาสตรใ์ นการขบั เคลอื่ นนโยบายดา้ นความ112 | รายงานการสรางระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560
ผลการดำ�เนินงานคณะกรรมการควบคุมคณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุขปลอดภัยของผปู้ ่วยและบุคลากรสาธารณสุข (2P safety) ระหว่างคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน 5) พฒั นามาตรฐานการดำ� เนนิ งาน และศกั ยภาพ บรกิ ารสาธารณสขุ คณะอนกุ รรมการควบคมุ คณุ ภาพและคณะอนกุ รรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานระดบั เขต มาตรฐานระดบั เขตพื้นทีแ่ ละกลไกตา่ งๆ ในระดับพน้ื ที่พ้นื ที่ คณะอนกุ รรมการพจิ ารณาวนิ ิจฉัยคำ� รอ้ งขอรับเงิน 5.4) ชี้แจงแนวทางการพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นระดับจังหวัด และกลไกที่เกี่ยวข้องใน ช่วยเหลือเบ้ืองต้น ปีงบประมาณ 2560 ให้แก่คณะพ้ืนที่ และการก�ำกับติดตามผลการด�ำเนินงานของกลไก อนุกรรมการพิจารณาวินิจฉัยค�ำร้องขอรับเงินช่วยเหลือการควบคมุ ก�ำกับคณุ ภาพระดับเขตพื้นท่ี ดงั น้ี เบื้องต้นระดบั จังหวัด ทงั้ 4 ภาค ต้งั แต่เดือนมกราคม - 5.1) การจดั ทำ� คมู่ อื สำ� หรบั คณะอนกุ รรมการ มนี าคม 2560 โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ใหค้ ณะอนกุ รรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขระดับ พิจารณาวินิจฉัยค�ำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบ้ืองต้นระดับเขตพ้ืนที่ และกลไกในพืน้ ที่ จังหวัดรับทราบนโยบาย สถานการณ์และแนวโน้มของ 5.2) ช้ีแจงแนวทางการขับเคลื่อนการ ระบบการจ่ายเงินช่วยเหลือเบ้ืองต้น หลักเกณฑ์และด�ำเนินงานควบคุมก�ำกับคุณภาพและมาตรฐานและการ แนวทางในการพจิ ารณาจา่ ยเงนิ ชว่ ยเหลอื เบอื้ งตน้ รวมถงึคุ้มครองสิทธิในระดับเขตพื้นที่ตามยุทธศาสตร์ ปี 2560 เพ่ือให้เกิดการแลกเปล่ียน และรับฟังความคิดเห็นเพ่ือ- 2564 ในวันที่ 1-2 ธันวาคม 2559 โดยมีวตั ถุประสงค์ ร่วมก�ำหนดมาตรฐานในการพิจารณาวินิจฉัยค�ำร้องเพอื่ ใหผ้ บู้ รหิ ารและเจา้ หนา้ ทส่ี ำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพ ขอรบั เงินช่วยเหลือเบื้องตน้แหง่ ชาตสิ าขาเขตพนื้ ท่ี ซง่ึ เปน็ เลขานกุ ารคณะอนกุ รรมการ 1.3 การตรวจเยยี่ มหนว่ ยบรกิ ารและเครอื ขา่ ยหนว่ ยควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขระดับ บริการเขตพ้ืนที่ รับทราบแนวทางการขับเคลื่อนการด�ำเนินงาน คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการควบคมุ กำ� กบั คณุ ภาพและมาตรฐานและการคมุ้ ครองสทิ ธิ สาธารณสุขตรวจเยี่ยมหน่วยบริการและเครือข่ายในระดบั เขตพ้ืนทีต่ ามแผนยุทธศาสตร์ ปี 2560 - 2564 หนว่ ยบรกิ าร เพือ่ ตดิ ตามก�ำกบั การให้บริการสาธารณสุขและเพือ่ ใหเ้ กดิ การแลกเปล่ียนเรียนร้แู ผนกจิ กรรมในการ ของหนว่ ยบรกิ ารและเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร และรบั ทราบขบั เคลอ่ื นระดบั พน้ื ท่ี แนวทางการบรหิ ารจดั การการควบคมุ ปญั หาอปุ สรรคในการปฏบิ ตั งิ านดา้ นควบคมุ กำ� กบั คณุ ภาพกำ� กบั คณุ ภาพและการคมุ้ ครองสทิ ธิ และภารกจิ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง มาตรฐานและคุ้มครองสทิ ธใิ นระดบั พ้นื ท่ี จำ� นวน 2 แห่งภายใต้การก�ำกับดูแลของคณะกรรมการควบคุมคุณภาพ ไดแ้ ก่ จังหวดั นครนายก ในวันที่ 16-17 กุมภาพนั ธ์ 2560และมาตรฐาน และจงั หวดั พษิ ณโุ ลก ในวนั ท่ี 29-30 มถิ นุ ายน 2560 และ 5.3) ขบั เคลอื่ นการดำ� เนนิ งานกำ� กบั คณุ ภาพ ไดจ้ ดั ทำ� รายงานผลและขอ้ เสนอจากการตรวจเยย่ี มหนว่ ยมาตรฐานและการคมุ้ ครองสทิ ธเิ ขตพน้ื ทร่ี ะดบั ภาค 4 ภาค บริการการควบคุมคุณภาพมาตรฐานหน่วยบริการและตง้ั เดอื น มกราคม - กรกฎาคม 2560 โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ เครือข่ายหน่วยบริการ รายงานต่อคณะกรรมการหลักเพ่ือชี้แจงนโยบายและแนวทางขับเคลื่อนการด�ำเนินงาน ประกันสุขภาพแห่งชาติ พร้อมท้ังแจ้งหน่วยบริการและก�ำกับคุณภาพและมาตรฐานและการคุ้มครองสิทธิเขต คณะอนุกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการพ้ืนที่ ติดตามผลการด�ำเนินงานระดับภาค แลกเปล่ียน สาธารณสุขระดับเขตพื้นที่เพ่ือปรับปรุงแก้ไขและติดตามเรียนรู้แผนกิจกรรมและแนวทางการบริหารจัดการก�ำกับ ประเมินผลในเรื่องการปรับปรุงคุณภาพและมาตรฐานคุณภาพ เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในกฎหมาย ต่อไป การควบคมุ ก�ำกับ และสง่ เสรมิ คณุ ภาพมาตรฐานระเบียบและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง เช่ือมโยงการท�ำงาน หนว่ ยบริการรายงานการสรา งระบบหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ประจำ�ปงี บประมาณ 2560 | 113
2. เสนอแนะอตั ราราคากลางของโรคทกุ โรค 3. การกำ� หนดหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไขในการ 2.1 ความเหน็ ตอ่ การพฒั นากลมุ่ วนิ จิ ฉยั โรครว่ มไทย ร้องเรียนของผู้ซ่ึงถูกละเมิดสิทธิจากการใช้บริการ(TDRG: Thai Diagnosis Related Groups) version 6 และวธิ กี ารพจิ ารณาเรอ่ื งรอ้ งเรยี น รวมถงึ หลกั เกณฑ์ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการ และวิธีการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ซึ่งถูกละเมิดสิทธิสาธารณสุข ได้รับทราบและให้ความเห็นต่อการพัฒนา จากการใชบ้ รกิ าร และกำ� หนดหนว่ ยรบั เรอ่ื งรอ้ งเรยี นกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมไทย (TDRG: Thai Diagnosis เพ่ือให้ประชาชนสามารถเสนอเรื่องร้องเรียนได้โดยRelated Groups) version 6 ของศูนย์พัฒนากลุ่มโรค สะดวกและเป็นอิสระจากผูถ้ กู ร้องเรยี นร่วมไทย (ศรท.) ใหม้ ีความเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลง 3.1 การปรบั ปรงุ กฎระเบยี บ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การรอ้ งของเทคโนโลยที างการแพทย์ และวธิ กี ารดแู ลรกั ษาผปู้ ว่ ย เรียนของผู้ถูกละเมิดสิทธิจากการใช้บริการสาธารณสุขรวมทั้งการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากข้อมูลการให้บริการ และอำ� นาจหนา้ ทข่ี องคณะอนกุ รรมการ ควบคมุ คณุ ภาพของโรงพยาบาลต่างๆ และเพ่ือให้สอดคล้องกับข้อมูล และมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ ระดับเขตพนื้ ที่บรกิ ารผปู้ ว่ ยในของประเทศไทย ในประเดน็ ควรมกี ารนำ� ในปงี บประมาณ 2559 คณะกรรมการควบคุมเสนอผลกระทบต่อหน่วยบริการในระบบ โดยน�ำกลุ่ม คุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขมีมอบหมายให้วินิจฉัยโรคร่วมไทย (TDRG: Thai Diagnosis Related คณะอนกุ รรมการดา้ นกฎหมายทเ่ี กย่ี วกบั การพจิ ารณาจา่ ยGroups) version 6 ไปจำ� ลองข้อมูลยอ้ นหลังต่อไป และ เงินช่วยเหลือเบ้ืองต้นและการก�ำกับมาตรฐานหน่วยเม่ือ การพัฒนากลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมไทย (TDRG: Thai บรกิ ารทบทวนและแกไ้ ขอำ� นาจหนา้ ทขี่ องคณะอนกุ รรมการDiagnosis Related Groups) version 6 เสรจ็ สน้ิ แลว้ ควร ควบคุมก�ำกับคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขก�ำหนดระยะเวลาและการประกาศใช้พร้อมกันทั้ง 3 ระดับเขตพ้ืนท่ี ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมกองทุน (กองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ เรอื่ งหลกั เกณฑ์กองทนุ ประกนั สงั คม และกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ วิธีการ และเง่ือนไข การคัดเลือกและแต่งต้ังคณะ-ชาติ) อนุกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการ 2.2 การให้ความเห็นและข้อเสนอต่องบกองทุน สาธารณสุขระดับเขตพ้ืนที่ พ.ศ. 2557 ว่าควรเน้นเร่ืองหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2561 และ การพฒั นาระบบการจดั การเรอ่ื งรอ้ งเรยี นในภาพรวม และกรอบแนวทางการบริหารงบกองทุนหลักประกันสุขภาพ การสร้างความรู้ความเขา้ ใจเรื่องสิทธิ และไกล่เกลีย่ เรอื่ งแห่งชาติ ปงี บประมาณ 2562 ร้องเรียนในพื้นที่ ตามข้อเสนอของคณะอนุกรรมการ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการ กำ� กบั คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ าร อกี ทง้ั คณะอนกุ รรมการสาธารณสุข เห็นชอบในหลักการกับข้อเสนองบกองทุน คมุ้ ครองสทิ ธแิ ละสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ ม ไดจ้ ดั ทำ� ขอ้ เสนอหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2561 ตาม เพอ่ื ปรบั ปรงุ หลกั เกณฑก์ ารขน้ึ ทะเบยี นหนว่ ยรบั เรอ่ื งรอ้ งมาตรา 39 วรรคท้ายแห่งพระราชบัญญัติหลักประกัน เรียนอื่นท่ีเป็นอิสระจากผู้ถูกร้องเรียน เพ่ือให้สอดคล้องสขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2545 กำ� หนดใหค้ ณะกรรมการหลกั กับประกาศและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการร้องเรียนของประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ จัดทำ� คำ� ของบประมาณเสนอต่อ ผู้ถูกละเมิดสิทธิจากการใช้บริการสาธารณสขุคณะรัฐมนตรีโดยพิจารณาประกอบกับรายงานความเห็นของคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข114 | รายงานการสรางระบบหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ ประจำ�ปงี บประมาณ 2560
ผลการดำ�เนนิ งานคณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุข ในปงี บประมาณ 2560 คณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพ ตามมาตรา 50(5) แห่งพระราชบญั ญัติหลกั ประกนัและมาตรฐานบริการสาธารณสุข มีมติเห็นชอบให้แก้ไข สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ก�ำหนดให้คณะกรรมการและปรบั ปรงุ ประกาศ ตามความเหน็ ของคณะอนกุ รรมการ ควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ มหี นา้ ที่ด้านกฎหมายที่เก่ียวกับการพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือ ในการก�ำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการเบื้องต้นและการก�ำกับมาตรฐานหน่วยบริการ และคณะ ร้องเรียนของผู้ซึ่งถูกละเมิดสิทธิจากการใช้บริการ และอนกุ รรมการคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ ม ดงั นี้ วธิ พี จิ ารณาเรอื่ งรอ้ งเรยี นดงั กลา่ ว รวมทง้ั หลกั เกณฑแ์ ละ 1) ประกาศคณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพและ วิธีการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ซ่ึงถูกละเมิดสิทธิจากการมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ เรอื่ งหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และ ใช้บริการ และก�ำหนดหน่วยรับเรื่องร้องเรียนเพื่อให้เงอ่ื นไข การคดั เลอื กและแตง่ ตง้ั คณะอนกุ รรมการควบคมุ ประชาชนสามารถเสนอเร่ืองร้องเรียนได้โดยสะดวกและคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขระดับเขตพ้ืนที่ เป็นอิสระจากผู้ถูกร้องเรียน ปัจจุบันมีหน่วยรับเร่ืองร้อง(ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2560 เรยี น ทด่ี ำ� เนินงานตามมาตรา 50(5) ไดแ้ ก่ 1) สายด่วน 2) ขอ้ บงั คบั คณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพและ สปสช. 1330 2) ส�ำนกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติมาตรฐานบริการสาธารณสุข ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ สาขาเขต 13 เขต และ 3) หน่วยรับเรอ่ื งร้องเรียนอน่ื ที่และเง่ือนไขการร้องเรียนของผู้ถูกละเมิดสิทธิจากการใช้ เปน็ อสิ ระจากผถู้ กู รอ้ งเรยี น และชอ่ งทางการรบั เรอื่ งรอ้ งบริการสาธารณสุข พ.ศ. 2560 เรียนอื่น ได้แก่ ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัด 3) ประกาศคณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพและ ศูนย์บริการหลกั ประกันสุขภาพในหน่วยบรกิ าร และศนู ย์มาตรฐานบริการสาธารณสุข เร่ืองหลักเกณฑ์การข้ึน ประสานงานหลกั ประกันสุขภาพประชาชนทะเบียนหน่วยรับเร่ืองร้องเรียนอ่ืนท่ีเป็นอิสระจากผู้ถูก ในปีงบประมาณ 2560 จ�ำนวนเร่ืองร้องเรียนตามร้องเรยี น พ.ศ. 2560 มาตรา 57 และมาตรา 59 ท่ีได้รบั แจง้ เรือ่ งผา่ นชอ่ งทาง 3.2 การด�ำเนินการเกี่ยวกับเร่ืองร้องเรียนในระบบ ต่างๆ (ตารางท่ี 18)หลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ตามมาตรา 57 และ 59รายงานการสรางระบบหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2560 | 115
ตารางที่ 18 จำ� นวนบรกิ ารรบั เรอ่ื งรอ้ งเรยี น จำ� แนกตามประเดน็ การรอ้ งเรยี นและชอ่ งทางรบั เรอ่ื งการรบั เรอื่ งรอ้ งเรยี นปีงบประมาณ 2560 ชอ่ งทางรับเรื่อง (เร่ือง) ศนู ย์บริการ หน่วยรบั เรอ่ื ง หลกั ประกนัประเด็นการรอ้ งเรยี น สายดว่ น สปสช. รอ้ งเรยี นอื่น จำ� นวนเรอ่ื ง 1330 สาขาเขต ท่เี ปน็ อสิ ระ สสจ. สุขภาพ (รอ้ ยละ) 5 จากผถู้ ูกร้องเรยี น ในหนว่ ยบริการไมป่ ฏบิ ัตติ ามมาตรฐาน 729 11 25 1 13 773การให้บรกิ าร 4สาธารณสุข (ม.57) 1,061 18 (15.99)ไมไ่ ดร้ ับความสะดวก 1,138 38ตามสมควร (ม.59) 1,672 51 2 51 1,176ถกู เรยี กเกบ็ เงนิ ค่า 4,600 35 2 (24.33)บริการ (ม.59) 72ไม่ได้รบั บรกิ ารตาม 118 7 2 1,181สิทธทิ ี่กำ� หนด (ม.59) (24.44)รวมท้งั หมด 4 1,703 (35.24) 70 4,833 (100)ที่มา: สำ� นกั บรกิ ารประชาชนและคมุ้ ครองสทิ ธิ สปสช. ขอ้ มลู ณ 31 ตลุ าคม 25603.3 การด�ำเนินการเก่ียวกับหน่วยรับเรื่องร้องเรียนอ่ืน ประกาศ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานที่เป็นอิสระตามมาตรา 50(5) แห่งพระราชบัญญัติ บริการสาธารณสุข จำ� นวน 114 แหง่ ใน 75 จงั หวัดท่วัหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ ประเทศ (ตารางท่ี 19) ในปงี บประมาณ 2560 หน่วยรับเรอ่ื งรอ้ งเรียนอืน่ ท่ีเป็นอิสระจากผู้ถูกร้องเรียน ท่ีได้รับการข้ึนทะเบียนตาม116 | รายงานการสรา งระบบหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2560
ผลการดำ�เนนิ งานคณะกรรมการควบคุมคณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุตารางท่ี 19 จำ� นวนหน่วยรับเร่อื งร้องเรียนอ่ืนทเี่ ปน็ อิสระจากผ้ถู ูกร้องเรยี น ปงี บประมาณ 2552 - 2560 ปงี บ การขนึ้ ทะเบียน การยกเลิก จังหวัด รวมประมาณ หน่วยรบั เรื่องร้องเรียนอน่ื ฯ จังหวดั หนว่ ยรบั เรอ่ื งรอ้ งเรยี นอน่ื ฯ - 2552 - 1 2553 1 1- - 17 2554 - 41 2555 16 12 - - 43 2556 - 53 2557 24 18 - - 81 2558 2 106 2559 2 1- - 113 2560 2 114 10 2 - 114 รวม 28 23 - 25 16 - 9 32 1 1- 116 77 2ทม่ี า: สำ� นกั สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ ม สปสช. ขอ้ มลู ณ 30 กนั ยายน 2560 การดำ� เนนิ งานหนว่ ยรบั เรอ่ื งรอ้ งเรยี นอนื่ ทเ่ี ปน็ อสิ ระฯ ด�ำเนินงานตามบทบาทหน้าที่ท่ีก�ำหนดตามประกาศถือเป็นการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคี โดยเฉพาะภาค หลักเกณฑ์การด�ำเนินงาน ซึ่งพบว่ามีการด�ำเนินงานได้ประชาชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพ่ือด�ำเนิน หลากหลายรปู แบบ ทง้ั การรบั เรอ่ื งและสามารถดำ� เนนิ การการดา้ นการคมุ้ ครองสทิ ธใิ หก้ บั ประชาชนผรู้ บั บรกิ าร และ ช่วยเหลือได้ครบวงจร และบางหน่วยรับเรื่องร้องเรียนฯนำ� ไปสู่การพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการบรกิ าร จาก จะท�ำหน้าท่ีรับเรื่องร้องเรียนแล้วส่งต่อให้หน่วยงานอ่ืนท่ีการประเมินผลการด�ำเนินงาน ในปี 2560 หน่วยรับ เกย่ี วข้อง (ตารางท่ี 20)เรื่องร้องเรียนอ่ืนที่เป็นอิสระจากผู้ถูกร้องเรียน มีการ รายงานการสรา งระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560 | 117
ตารางท่ี 20 จ�ำนวนการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ของหน่วยรับเร่ืองร้องเรียนอื่นที่เป็นอิสระจากผู้ถูกร้องเรียนปีงบประมาณ 2552 - 2560 ประเภทเรือ่ ง ปงี บ หนว่ ยรบั ไมป่ ฏิบัติตาม ไม่ไดร้ ับ ถูกเรยี ก ไม่ไดร้ ับ กรณี การให้ รวม ประมาณ เรือ่ งรอ้ ง มาตรฐาน ความสะดวก เก็บเงินค่า บรกิ าร ได้รับ ความ เรียนฯ การให้บริการฯ บรกิ าร ตามสทิ ธฯิ ความ ชว่ ยเหลอื - 2552 (ม.57) (ม.59) (ม.59) (ม.59) เสียหายฯ อืน่ 45 2553 (ม.41) 167 2554 337 2555 1- - - --- 311 2556 876 2557 17 16 6 5 - 16 2 1,134 2558 1,187 2559 41 33 45 17 - 16 56 435 2560 5,221รวมท้ังหมด 43 104 86 33 - 50 64 100.00ร้อยละ 53 77 99 39 - 64 32 81 69 214 33 3 69 488 106 49 46 27 8 64 940 115 42 53 22 4 29 1,037 114 29 59 39 7 55 975 419 608 215 22 363 3,594 8.03 11.65 4.12 0.42 6.95 68.84ท่ีมา: ส�ำนกั บริการประชาชนและคุ้มครองสทิ ธิ สปสช. ขอ้ มูล ณ 31 ตุลาคม 25604. การพิจารณาจ่ายเงนิ ช่วยเหลอื เบ้ืองตน้ ในกรณีที่ ระดับจังหวัดมีมติให้คณะอนุกรรมการพิจารณาวินิจฉัยผรู้ บั บรกิ ารไดร้ บั ความเสยี หายทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการรกั ษา คำ� รอ้ งขอรบั เงนิ ชว่ ยเหลอื เบอื้ งตน้ ระดบั จงั หวดั ชดุ เดมิ สมยัพยาบาล (ตามมาตรา 41 แห่งพระราชบัญญัติ วาระท่ีสามให้ปฏิบัติหน้าท่ีต่อ และต่อมาในเดือนตุลาคมหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545) 2559 ไดม้ คี ำ� สงั่ แตง่ ตงั้ คณะอนกุ รรมการพจิ ารณาวนิ จิ ฉยั คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการ ค�ำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบ้ืองต้นระดับจังหวัดให้ปฏิบัติสาธารณสขุ ไดแ้ ตง่ ตง้ั คณะอนกุ รรมการพจิ ารณาอทุ ธรณ์ หน้าที่แทนคณะอนุกรรมการชุดเดิมที่ครบวาระการด�ำรงผลการวินิจฉัยค�ำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ตาม ต�ำแหนง่คำ� สง่ั คณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ าร ผลการด�ำเนินงานภาพรวมการพิจารณาจ่ายเงินสาธารณสุขท่ี 1/2559 ลงวันที่ 11 เมษายน 2559 มี ชว่ ยเหลอื เบอื้ งตน้ ในกรณที ผ่ี รู้ บั บรกิ ารไดร้ บั ความเสยี หายหน้าที่ด�ำเนินการพิจารณาอุทธรณ์ผลการวินิจฉัยค�ำร้อง ที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาล (ตามมาตรา 41 แห่งขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นตามที่ได้รับมอบหมายแล้ว พระราชบัญญตั หิ ลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2545)เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและ ตัง้ แตป่ งี บประมาณ 2547 - 2560 (ตารางท่ี 21) ดังน้ีมาตรฐานบริการสาธารณสุขเพ่ือพิจารณาวินิจฉัย ซ่ึงใน118 | รายงานการสรา งระบบหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560
ผลการด�ำ เนินงานคณะกรรมการควบคุมคณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุขตารางท่ี 21 จำ� นวนการขอรบั เงนิ ชว่ ยเหลอื เบอ้ื งตน้ ในกรณที ผ่ี รู้ บั บรกิ ารไดร้ บั ความเสยี หายทเี่ กดิ ขนึ้ จากการรกั ษาพยาบาลจำ� แนกตามผลการพิจารณา ปีงบประมาณ 2547 - 2560 รวม ไมเ่ ข้า เข้า ประเภทความเสยี หาย คำ� ร้อง ปีงบ (ราย) 1 23 อทุ ธรณ์ประมาณ เกณฑ์ เกณฑ์ เสียชีวิต/ สูญเสีย บาดเจบ็ / (ราย) จำ� นวนเงนิ (บาท) (ราย) (ราย) ทุพลภาพ อวัยวะ/ เจบ็ ปว่ ย ถาวร พกิ าร ต่อเนอื่ ง2547 99 26 73 49 11 13 12 4,865,000 32 12,815,0002548 221 43 178 113 29 36 60 36,653,500 59 52,177,5352549 443 72 371 215 71 85 74 64,858,148 67 73,223,0002550 511 78 433 239 74 120 72 81,920,000 114 92,206,3302551 658 108 550 303 73 174 88 98,527,000 98 191,575,3002552 810 150 660 344 97 219 112 218,439,200 82 202,929,3002553 876 172 704 361 139 204 102 212,952,000 96 160,049,5002554 965 182 783 401 141 241 1,068 1,503,190,8132555 951 117 834 401 140 2932556 1,182 187 995 533 125 3372557 1,112 181 931 478 116 3372558 1,045 221 824 442 105 2772559 1,069 184 885 457 118 3102560 823 162 661 324 84 253รวม 10,765 1,883 8,882 4,660 1,323 2,899ที่มา: สำ� นักกฎหมาย สปสช. ขอ้ มลู ณ 30 กนั ยายน 2560 ปีงบประมาณ 2560 ผลการพิจารณาจ่ายเงิน 2) ข้อมูลค�ำร้องท่ียื่นขอรับเงินช่วยเหลือเบ้ืองต้นชว่ ยเหลอื เบอื้ งตน้ ในกรณที ผ่ี รู้ บั บรกิ ารไดร้ บั ความเสยี หาย จ�ำนวนทั้งส้ิน 823 ราย พบว่า เป็นค�ำร้องท่ีผู้ร้องย่ืนที่เกิดข้ึนจากการรักษาพยาบาล ตามมาตรา 41 แห่ง อุทธรณ์ผลการพิจารณาวินิจฉัยค�ำร้อง จ�ำนวน 96 รายพระราชบัญญตั หิ ลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 (ร้อยละ 11.66) ของจ�ำนวนค�ำร้องขอรับเงินช่วยเหลือสรุปผลการด�ำเนนิ การดังนี้ เบือ้ งตน้ ท้งั หมด 1) ข้อมูลค�ำร้องที่ยื่นขอรับเงินช่วยเหลือเบ้ืองต้น 3) จ�ำนวนค�ำร้องขอรับเงนิ ชว่ ยเหลอื เบอ้ื งต้นจ�ำแนกจ�ำนวนทั้งส้ิน 823 ราย พบว่าเป็นค�ำร้องท่ีเข้าเกณฑ์ ตามแผนกทเ่ี ขา้ รับบรกิ าร (แผนภมู ิที่ 28)การพิจารณาจ่ายเงินชว่ ยเหลอื เบอ้ื งต้น จ�ำนวน 661 ราย 4) จำ� นวนคำ� ร้องขอรบั เงินชว่ ยเหลือเบือ้ งตน้ จ�ำแนก(ร้อยละ 80.32) และเป็นค�ำร้องที่ไม่เข้าเกณฑ์การ ตามประเภทหนว่ ยบริการ (แผนภมู ทิ ่ี 29)พิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น จ�ำนวน 162 ราย(รอ้ ยละ 19.68) รายงานการสรา งระบบหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ ประจำ�ปีงบประมาณ 2560 | 119
แผนภูมิที่ 28 จำ� นวนคำ� ร้องขอรับเงินชว่ ยเหลอื เบอ้ื งตน้ จำ� แนกตามแผนกท่เี ขา้ รับบริการ ปงี บประมาณ 2560 293 หน่วย : ราย 153 90 86 60 46 26 23 13 9 9 4 2ัศ ูสล ิตยกกรรรรมม จัก ุษ ัทนตก ื่อรรนๆม อา ุยรกรรม แ ้พยา คอ นา ิสก ศัลยกรรม ุกกมรนาะรีร ้ผูเเดูป่ววกวท�ชชแำยกกลหนรระมัรรอข้มมกนอ โสตแผนภูมิที่ 29 จำ� นวนคำ� ร้องขอรบั เงนิ ชว่ ยเหลือเบอื้ งต้น จำ� แนกตามประเภทหนว่ ยบริการ ปีงบประมาณ 2560 425178 25 15 14 10 1 0 124 31รพช. รพท. รพศ. รพ.สัรงพ.ักสัดงก ักรดมรคกพาณ.รเะแอแพกพชททย์นย์ รพสต. ือ่นๆ รพ.สัง ักด กทม. สอ.5. ปฏิบตั หิ น้าทอี่ น่ื ตามที่พระราชบัญญตั หิ ลักประกนั คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และสขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2545 หรอื กฎหมายอนื่ กำ� หนด คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการ 5.1 การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติภารกิจร่วมกัน สาธารณสขุ ในวนั ท่ี 21-22 กรกฎาคม 2560และการสรา้ งความมงุ่ มน่ั และความรบั ผดิ ชอบ (Commis- 5.2 การให้ข้อเสนอต่อการปรับปรุงพระราชบัญญัติsion and Accountability) ต่อการพัฒนาระบบหลัก หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ที่เกี่ยวข้องกับประกันสุขภาพแห่งชาติ ของคณะกรรมการหลักประกัน องคป์ ระกอบและอำ� นาจหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการควบคมุสขุ ภาพแห่งชาติ และคณะกรรมการควบคมุ คุณภาพและ คุณภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุขมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ โดยเขา้ รว่ มประชมุ Retreat120 | รายงานการสรางระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560
ภาคผนวก รายงานการสรา งระบบหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำ�ปงี บประมาณ 2560 | 121
1. รายนามคณะกรรมการหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติลำ� ช่ือ สกลุ ตำ� แหน่งดับ1. ศ.คลนิ กิ เกยี รตคิ ณุ ปยิ ะสกล สกลสตั ยาทร รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสขุ (ม.ค.60-ปจั จบุ นั ) ประธาน กรรมการ2. นายจรลั ตฤณวุฒิพงษ์ ผทู้ รงคณุ วฒุ ดิ า้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ (ม.ค.60-ปจั จบุ นั ) กรรมการ3. นางชมุ ศรี พจนปรชี า ผู้ทรงคณุ วฒุ ิด้านการเงินการคลงั (ม.ค.60-ปจั จุบนั ) กรรมการ4 ศ.เกยี รติคุณ สมศรี เผ่าสวสั ด์ิ ผู้ทรงคณุ วุฒดิ า้ นประกันสุขภาพ (ม.ค.60-ปจั จบุ ัน) กรรมการ5. นายพินิจ หิรัญโชติ ผู้ทรงคณุ วฒุ ดิ ้านการแพทย์ทางเลอื ก (ม.ค.60-ปัจจบุ นั ) กรรมการ6. นายณรงคศ์ ักดิ์ องั คะสุวพลา ผู้ทรงคณุ วุฒิด้านการแพทยแ์ ผนไทย (ม.ค.60-ปจั จุบนั ) กรรมการ7. ผศ.จติ ติ มงคลชยั อรญั ญา ผทู้ รงคุณวุฒดิ ้านสังคมศาสตร์ (ม.ค.60-ปัจจบุ ัน) กรรมการ8. นายสมใจ โตศุกลวรรณ์ ผ้ทู รงคุณวฒุ ดิ า้ นกฎหมาย (ม.ค.60-ปัจจบุ นั ) กรรมการ9. นายโสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ม.ค.60-ก.ย.60) กรรมการ นายเจษฎา โชคดำ� รงสขุ (ต.ค.60-ปจั จุบนั )10. นายสทุ ธพิ งษ์ จลุ เจรญิ แทนปลดั กระทรวงมหาดไทย (ม.ค.60-ก.ย.60) กรรมการ นางสุกานดา วรเชษญบัญชา (ต.ค.60-ปจั จบุ ัน)11. นายสุรเดช วลอี ทิ ธิกลุ แทนปลัดกระทรวงแรงงาน (ม.ค.60-ปจั จุบนั ) กรรมการ12. พลตรตี า่ งแดน พศิ าลพงศ์ แทนปลัดกระทรวงกลาโหม (ม.ค.60-ปจั จุบนั ) กรรมการ13. นายธนู ขวญั เดช แทนปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ม.ค.60-ปัจจุบัน) กรรมการ14. นายอทิ ธพิ งศ์ คณุ ากรบดนิ ทร์ แทนปลดั กระทรวงพาณิชย์ (ม.ค.60-ก.ย.60) กรรมการ นางสาวพัทยา เชงิ สะอาด (ต.ค.60-ปัจจบุ นั )15. นายจุมพล รมิ สาคร แทนปลัดกระทรวงการคลงั (ม.ค.60-ปัจจุบัน) กรรมการ16. นายประยงค์ ตง้ั เจริญ แทนผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั งบประมาณ (ม.ค.60-ต.ค.60) กรรมการ นางดวงตา ตนั โช (ต.ค.60-ปจั จบุ ัน)17. รศ.ประสบศรี อ้งึ ถาวร ผแู้ ทนแพทยสภา (ม.ค.60-ปัจจบุ ัน) กรรมการ18. พลโทพศิ าล เทพสทิ ธา ผแู้ ทนทนั ตแพทยสภา (ม.ค.60-ปจั จุบัน) กรรมการ19. รศ.(พิเศษ)กติ ติ พิทกั ษน์ ติ ินนั ท์ ผู้แทนสภาเภสัชกรรม (ม.ค.60-ปัจจบุ ัน) กรรมการ20. รศ.ทัศนา บุญทอง ผู้แทนสภาการพยาบาล (ม.ค.60-ปจั จบุ นั ) กรรมการ21. นายพงษ์พฒั น์ ปธานวนชิ ผู้แทนสมาคมโรงพยาบาลเอกชน (ม.ค.60-ปจั จุบนั ) กรรมการ22. นางวันทนยี ์ วัฒนะ ผแู้ ทนองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ รปู แบบอนื่ (ม.ค.60-ปจั จบุ นั ) กรรมการ23. นายศราวธุ สันตินันตรักษ์ ผ้แู ทนองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด (ม.ค.60-ปัจจบุ ัน) กรรมการ24. นายธรี วุฒิ กลิน่ กุสุม ผแู้ ทนเทศบาล (ม.ค.60-ปจั จบุ ัน) กรรมการ25. นายสรุ กิจ สวุ รรณแกม ผแู้ ทนองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำ� บล (ม.ค.60-ปัจจุบัน) กรรมการ26. นายสวุ ิทย์ วบิ ลุ ผลประเสรฐิ ผแู้ ทนองคก์ รเอกชนดา้ นผู้สูงอายุ (ม.ค.60-ปจั จุบนั ) กรรมการ27. นางสาวกรรณิการ์ กจิ ตเิ วชกลุ ผู้แทนองคก์ รเอกชนดา้ นชมุ ชนแออดั (ม.ค.60-ปจั จุบัน) กรรมการ122 | รายงานการสรางระบบหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ ประจำ�ปงี บประมาณ 2560
รายนามคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติลำ� ชื่อ สกลุ ตำ� แหน่งดบั ออ๋ งสมหวัง28. นางสาวสารี เซ่งกิ่ง ผูแ้ ทนองคก์ รเอกชนด้านเกษตรกร (ม.ค.60-ปจั จบุ นั ) กรรมการ ศิรสิ นิ สขุ29. นางสนุ ทรี กาญจนวัฒนา ผูแ้ ทนองคก์ รเอกชนดา้ นผู้ใช้แรงงาน (ม.ค.60-ปัจจุบัน) กรรมการ30. ผศ.ยพุ ดี ผูแ้ ทนองคก์ รเอกชนด้านผตู้ ดิ เชอ้ื เอชไอวฯี (ม.ค.60-ปจั จุบัน) กรรมการ31. นายศกั ดชิ์ ัย เลขาธกิ าร สปสช. (ม.ค.60-ปัจจุบัน) เลขานกุ าร คณะ กรรมการหมายเหตุ: ขอ้ มูล ณ 30 พฤศจกิ ายน 2560อ�ำนาจหน้าท่ีของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพ ท้องถ่ินในการด�ำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักแหง่ ชาติ ประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความ 1. ก�ำหนดมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขของ พร้อม ความเหมาะสม และความตอ้ งการเพื่อสรา้ งหลกัหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ และก�ำหนด ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตใิ หแ้ กบ่ คุ คลในพนื้ ทตี่ ามมาตรา 47มาตรการในการด�ำเนินงานเกี่ยวกับหลักประกันสุขภาพ 9. สนับสนุนและก�ำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชนแห่งชาติใหม้ ีประสิทธภิ าพ องค์กรเอกชน และภาคเอกชนท่ีไม่มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 2. ให้ค�ำแนะน�ำต่อรัฐมนตรีในการแต่งต้ังพนักงาน ดำ� เนนิ การแสวงหาผลกำ� ไร ดำ� เนนิ การและบรหิ ารจดั การเจ้าหนา้ ท่ี ออกกฎกระทรวง และประกาศเพื่อปฏิบัตกิ าร เงนิ ทนุ ในระดบั ทอ้ งถน่ิ หรอื พน้ื ท่ีไดต้ ามความพรอ้ ม ความตามพระราชบัญญัตนิ ้ี เหมาะสม และความต้องการ โดยสง่ เสริมกระบวนการมี 3. ก�ำหนดประเภทและขอบเขตการให้บริการ สว่ นรว่ มเพอื่ สรา้ งหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตใิ หแ้ กบ่ คุ คลสาธารณสุขท่ีจ�ำเป็นต่อสุขภาพและการด�ำรงชีวิต และ ในพน้ื ท่ตี ามมาตรา 47อัตราค่าบริการสาธารณสขุ ตามมาตรา 5 10. กำ� หนดหลกั เกณฑเ์ กย่ี วกบั การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ 4. ก�ำหนดหลักเกณฑ์การด�ำเนินงานและการบริหาร จากผู้ให้บริการและผู้รับบริการ เพ่ือประโยชน์ในการจดั การกองทนุ ปรับปรงุ คณุ ภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข 5. ก�ำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขในการ 11. ก�ำหนดหลักเกณฑ์เก่ียวกับการลงโทษปรับทางถอดถอนเลขาธกิ ารตามมาตรา 31 และกำ� หนดคณุ สมบตั ิ ปกครองและการเพิกถอนการขึน้ ทะเบียนหรือลกั ษณะตอ้ งหา้ มของเลขาธกิ ารตามมาตรา 32 12. จดั ทำ� รายงานเกยี่ วกบั ผลงานและอปุ สรรคในการ 6. ออกระเบยี บเกีย่ วกับการรับเงนิ การจ่ายเงนิ และ ดำ� เนินงาน รวมท้ังบัญชแี ละการเงินทกุ ประเภทของคณะการรักษาเงินกองทุน รวมทั้งการจัดหาผลประโยชน์ตาม กรรมการ แลว้ รายงานตอ่ รฐั มนตรี สภาผแู้ ทนราษฎร และมาตรา 40 วุฒิสภาเป็นประจ�ำทุกปีภายในหกเดือนนับแต่วันส้ินปี 7. กำ� หนดหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขในการจา่ ย งบประมาณเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ในกรณีผู้รับบริการได้รับความ 13. จัดประชุมเพื่อให้คณะกรรมการรับฟังความคิดเสยี หายทเี่ กดิ ขน้ึ จากการรกั ษาพยาบาลโดยหาผกู้ ระทำ� ผดิ เหน็ ทว่ั ไปจากผใู้ หบ้ รกิ าร และผรู้ บั บรกิ ารเปน็ ประจำ� ทกุ ปีมิได้หรือหาผู้กระท�ำผิดได้แต่ผู้รับบริการไม่ได้รับค่า 14. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามท่ีพระราชบัญญัตินี้หรือเสียหายในระยะเวลาอันสมควรตามมาตรา 41 กฎหมายอนื่ กำ� หนดใหเ้ ปน็ อำ� นาจหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการ 8. สนับสนุนและประสานกับองค์กรปกครองส่วน หรอื ตามทค่ี ณะรฐั มนตรมี อบหมาย รายงานการสรา งระบบหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560 | 123
2. รายนามคณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพ และมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุลำ� ชอ่ื สกลุ ต�ำแหน่งดับ1. นพ.ชาตรี บานชืน่ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิสาขาอื่น (ต.ค.59-ปจั จุบนั ) ประธาน กรรมการ2. นพ.ธีรพล โตพันธานนท์ อธิบดีกรมการแพทย์ (ต.ค.59-ก.ย.60) กรรมการ นพ.สมศกั ด์ิ อรรฆศลิ ป์ (ต.ค.60-ปจั จบุ นั )3. นพ.วันชยั สตั ยาวุฒพิ งศ์ เลขาธกิ ารคณะกรรมการอาหารและยา (ต.ค.59-ปจั จบุ ัน) กรรมการ4. นพ.กิตตินันท์ อนรรฆมณี ผแู้ ทนสถาบนั รับรองคณุ ภาพสถานพยาบาล (ต.ค.59-ปัจจบุ นั ) กรรมการ5. ทพ.อาคม ประดิษฐสุวรรณ ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั สถานพยาบาลและการประกอบโรคศลิ ปะ กรรมการ (ต.ค.59-ปัจจบุ ัน)6. นพ.อำ� นาจ กุสลานันท์ ผแู้ ทนแพทยสภา (ต.ค.59-ปจั จุบัน) กรรมการ7. รศ.พรจันทร์ สวุ รรณชาต ผู้แทนสภาการพยาบาล (ต.ค.59-ปัจจุบัน) กรรมการ8. ทพ.ธงชยั วชิรโรจน์ไพศาล ผู้แทนทันตแพทยสภา (ต.ค.59-ปัจจุบัน) กรรมการ9. ภญ.วรนัดดา ศรสี ุพรรณ ผูแ้ ทนสภาเภสชั กรรม (ต.ค.59-ปัจจุบัน) กรรมการ10. วา่ ทีพ่ ันตรสี มบตั ิ วงศก์ �ำแหง ผแู้ ทนสภาทนายความ (ต.ค.59-ปจั จบุ นั ) กรรมการ11. นพ.เอ้ือชาติ กาญจนพิทักษ์ ผแู้ ทนโรงพยาบาลเอกชน (ต.ค.59-ปัจจุบัน) กรรมการ12. นายธรี ะกิจ หวงั มุทิตากลุ ผู้แทนเทศบาล (ต.ค.59-ปจั จบุ ัน) กรรมการ13. นายวรวิทย์ บุรณศริ ิ ผู้แทนองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดั (ต.ค.59-ปัจจุบนั ) กรรมการ14. นายประดษิ ฐ์ จันทรแ์ จม่ ใส ผแู้ ทนองคก์ ารบริหารส่วนตำ� บล (ต.ค.59-ปจั จบุ นั ) กรรมการ15. นายวีระวัฒน์ ค้าขาย ผ้แู ทนองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ รูปแบบอนื่ (ก.พ.59-มิ.ย.59) กรรมการ -ปัจจุบันยังไมม่ ีผู้แทน-16. ดร.ราศรี ลีนะกุล ผู้แทนผู้ประกอบวชิ าชีพการพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ กรรมการ (ต.ค.59-ปัจจุบนั )17 ทพ.กมล เศรษฐ์ชัยยนั ต์ ผแู้ ทนผ้ปู ระกอบวิชาชีพทนั ตกรรม (ต.ค.59-ปัจจุบัน) กรรมการ18 ภก.อภชิ าต เพง่ เรอื งโรจนชัย ผู้แทนผูป้ ระกอบวิชาชพี เภสัชกรรม (ต.ค.59-ปัจจบุ ัน) กรรมการ19. ศ.นพ.ภิเศก ลุมพกิ านนท์ ผู้แทนราชวิทยาลัยสตู ินรแี พทยแ์ หง่ ประเทศไทย (ต.ค.59-ปัจจุบัน) กรรมการ20. รศ.นพ.วัชรพงศ์ พทุ ธิสวสั ดิ์ ผแู้ ทนราชวทิ ยาลัยศลั ยแพทย์แห่งประเทศไทย (ต.ค.59-ปัจจุบัน) กรรมการ21. ศ.นพ.อมร ลลี ารศั มี ผู้แทนราชวทิ ยาลัยอายุรแพทย์แหง่ ประเทศไทย (ต.ค.59-ปัจจบุ ัน) กรรมการ22. ศ.เกียรตคิ ณุ ผแู้ ทนราชวทิ ยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย (ต.ค.59-ปจั จบุ ัน) กรรมการ ดร.นพ.สมศกั ด์ิ โล่หเ์ ลขา23. นางสมใจ ลือวเิ ศษไพบลู ย์ ผู้แทนผูป้ ระกอบโรคศลิ ปะสาขากายภาพบ�ำบดั (ต.ค.59-ปัจจุบนั ) กรรมการ24. นางศริ ริ ตั น์ ลกิ านนท์สกุล ผแู้ ทนผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะสาขาเทคนคิ การแพทย์ (ต.ค.59-ปจั จบุ นั ) กรรมการ25 นางพรรณี หรุน่ โพธิ์ ผ้แู ทนผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะสาขารังสีเทคนคิ (ต.ค.59-ปัจจุบัน) กรรมการ26. นางสุภาพร ถ่นิ วัฒนากูล ผแู้ ทนองคก์ รเอกชน (งานดา้ นเดก็ หรอื เยาวชน) (ต.ค.59-ปจั จบุ นั ) กรรมการ27. ดร.กฤตยา อาชวนจิ กลุ ผแู้ ทนองค์กรเอกชน (งานด้านสตร)ี (ต.ค.59-ปัจจุบัน) กรรมการ124 | รายงานการสรา งระบบหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560
รายนามคณะกรรมการควบคมุ คุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสขุล�ำ ชอื่ สกุล ต�ำแหน่งดบั ผู้แทนองคก์ รเอกชน (งานดา้ นผ้สู งู อาย)ุ (ต.ค.59-ปจั จบุ ัน)28. นพ.วิชยั โชควิวัฒน ผู้แทนองคก์ รเอกชน (งานด้านโรคเรอื้ รัง) (ต.ค.59-ปัจจุบัน) กรรมการ ผู้แทนองคก์ รเอกชน (งานดา้ นชนกลมุ่ นอ้ ย) (ต.ค.59-ปจั จบุ นั ) กรรมการ29. นางสาวสุภัทรา นาคะผิว ผทู้ รงคุณวฒุ สิ าขาเวชศาสตร์ครอบครวั (ต.ค.59-ปจั จบุ ัน) กรรมการ ผทู้ รงคณุ วุฒิสาขาจิตเวช (ต.ค.59-ปจั จบุ ัน) กรรมการ30. นายวิวฒั น์ ตาม่ี ผทู้ รงคณุ วุฒิสาขาการแพทย์แผนไทย (ต.ค.59-ปัจจุบัน) กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิสาขาอน่ื (ต.ค.59-ปจั จบุ ัน) กรรมการ31. ผศ.พญ.สายพณิ หตั ถรี ัตน์ ผทู้ รงคุณวฒุ ิสาขาอื่น (ต.ค.59-ปจั จุบนั ) กรรมการ เลขาธิการ สปสช. (ก.พ.60-ต.ค.60) กรรมการ32. นพ.พงศธร เนตราคม เลขานุการ คณะกรรมการ33. นายวรี พงษ์ เกรียงสนิ ยศ34. นายจริ วสุ ฐ์ สขุ ไดพ้ ึง่35. ร.ต.อ.จริ สวัสด์ิ สรุ ฤทธธ์ิ �ำรง36. นายศักดิช์ ัย กาญจนวัฒนาหมายเหตุ: ขอ้ มูล ณ 31 ตลุ าคม 2560อ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและ ประชาชนสามารถเสนอเรื่องร้องเรียนได้โดยสะดวกและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุข เปน็ อสิ ระจากผถู้ ูกร้องเรยี น มาตรา 50 แห่งพระราชบัญญตั หิ ลักประกนั สุขภาพ 6. รายงานผลการตรวจตราและการควบคุมคุณภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ก�ำหนดให้คณะกรรมการควบคุม และมาตรฐานหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการต่อคณุ ภาพและมาตรฐานมอี ำ� นาจหนา้ ท่ี ดังต่อไปนี้ คณะกรรมการ พร้อมทั้งแจ้งหน่วยบริการและหน่วยงาน 1. ควบคุมคุณภาพและมาตรฐานหน่วยบริการและ ตน้ สงั กดั เพอื่ ปรบั ปรงุ แกไ้ ขและตดิ ตามประเมนิ ผลในเรอ่ื งเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร ตามมาตรา 45 การปรบั ปรุงคณุ ภาพและมาตรฐาน 2. ก�ำกับดูแลการให้บริการสาธารณสุขของหน่วย 7. สนบั สนนุ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการตรวจบริการให้มีคุณภาพและมาตรฐาน ในกรณที ่หี น่วยบริการ ตราและการควบคมุ กำ� กบั หนว่ ยบรกิ ารและเครอื ขา่ ยหนว่ ยนั้นๆ มีการให้บริการในส่วนท่ีสูงกว่าบริการสาธารณสุข บริการตามมาตรา 5 8. จา่ ยเงนิ ชว่ ยเหลอื เบอื้ งตน้ ในกรณที ผ่ี รู้ บั บรกิ ารได้ 3. กำ� หนดมาตรการควบคมุ และสง่ เสรมิ คณุ ภาพและ รับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลโดยหามาตรฐานหน่วยบริการและเครือขา่ ยหน่วยบรกิ าร ผกู้ ระทำ� ผดิ มไิ ด้ หรอื หาผกู้ ระทำ� ผดิ ไดแ้ ตผ่ รู้ บั บรกิ ารไมไ่ ด้ 4. เสนอแนะอตั ราราคากลางของโรคทกุ โรคตอ่ คณะ รับค่าเสียหายภายในระยะเวลาอันสมควรตามหลักเกณฑ์กรรมการเพอื่ ประกอบการวางหลกั เกณฑก์ ำ� หนดคา่ ใชจ้ า่ ย วิธกี าร และเงอื่ นไขที่คณะกรรมการก�ำหนดเพ่ือบริการสาธารณสขุ ใหแ้ ก่หนว่ ยบริการตามมาตรา 46 9. สนับสนุนให้มีการพัฒนาระบบการเผยแพร่ข้อมูล 5. กำ� หนดหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไขในการรอ้ ง แก่ประชาชนเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในการเข้ารับเรียนของผู้ซ่ึงถูกละเมิดสิทธิจากการใช้บริการ และ บรกิ ารสาธารณสุขวธิ พี จิ ารณาเรอ่ื งรอ้ งเรยี นดงั กลา่ ว รวมทงั้ หลกั เกณฑแ์ ละ 10. ปฏิบัติหน้าท่ีอื่นตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือวิธีการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ซึ่งถูกละเมิดสิทธิจากการ กฎหมายอน่ื กำ� หนดใหเ้ ปน็ อำ� นาจหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการใช้บริการ และก�ำหนดหน่วยรับเร่ืองร้องเรียนเพื่อให้ ควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ หรอื ตาม ทคี่ ณะกรรมการมอบหมาย รายงานการสรา งระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2560 | 125
3. งบการเงินกองทนุ หลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ ปีงบประมาณ 25603.1 งบการเงินกองทุนหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ ปีงบประมาณ 2560126 | รายงานการสรางระบบหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2560
งบการเงินกองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ปีงบประมาณ 2560รายงานการสรา งระบบหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560 | 127
128 | รายงานการสรางระบบหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ ประจำ�ปงี บประมาณ 2560
งบการเงินกองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ปีงบประมาณ 2560รายงานการสรา งระบบหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560 | 129
130 | รายงานการสรางระบบหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ ประจำ�ปงี บประมาณ 2560
งบการเงินกองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ปีงบประมาณ 2560รายงานการสรา งระบบหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560 | 131
132 | รายงานการสรางระบบหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ ประจำ�ปงี บประมาณ 2560
งบการเงินกองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ปีงบประมาณ 2560รายงานการสรา งระบบหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560 | 133
134 | รายงานการสรางระบบหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ ประจำ�ปงี บประมาณ 2560
งบการเงินกองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ปีงบประมาณ 2560รายงานการสรา งระบบหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560 | 135
136 | รายงานการสรางระบบหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ ประจำ�ปงี บประมาณ 2560
งบการเงินกองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ปีงบประมาณ 2560รายงานการสรา งระบบหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560 | 137
138 | รายงานการสรางระบบหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ ประจำ�ปงี บประมาณ 2560
งบการเงินกองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ปีงบประมาณ 2560รายงานการสรา งระบบหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560 | 139
140 | รายงานการสรางระบบหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ ประจำ�ปงี บประมาณ 2560
งบการเงินกองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ปีงบประมาณ 2560รายงานการสรา งระบบหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560 | 141
3.2 งบการเงินกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ปีงบประมาณ 2558 ที่ผา่ นการตรวจสอบ โดยสำ� นักงานการตรวจเงินแผน่ ดนิ142 | รายงานการสรา งระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560
งบการเงินกองทุนหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ปีงบประมาณ 2558รายงานการสรา งระบบหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560 | 143
144 | รายงานการสรางระบบหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ ประจำ�ปงี บประมาณ 2560
งบการเงินกองทุนหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ปีงบประมาณ 2558รายงานการสรา งระบบหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560 | 145
146 | รายงานการสรางระบบหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ ประจำ�ปงี บประมาณ 2560
งบการเงินกองทุนหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ปีงบประมาณ 2558รายงานการสรา งระบบหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560 | 147
148 | รายงานการสรางระบบหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ ประจำ�ปงี บประมาณ 2560
งบการเงินกองทุนหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ปีงบประมาณ 2558รายงานการสรา งระบบหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560 | 149
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242