Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการนิเทศเพศวิถี

รายงานการนิเทศเพศวิถี

Published by Kru Chang Chang, 2020-12-07 13:14:13

Description: รายงานการนิเทศเพศวิถี

Search

Read the Text Version

รายงานการนิเทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเนน้ กระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 1

รายงานการนิเทศเพศวถิ ศี กึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรยี นการสอนแบบ Active Learning 2 คาํ นาํ รายงานการนิเทศ กํากับ ติดตาม การจัดการเรียนการสอนครูที่ผ่านการอบรมโปรแกรมพัฒนาครู เพศวิถี ศึกษาแบบออนไลน์ ปีการศึกษา 2563 โดยเนน้ กระบวนการเรียนการสอนแบบActive Learning กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผล การจัดการศึกษา สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กระทรวงศึกษาธิการได้มอบหมายศึกษานิเทศก์ท่ีเป็นผู้รับผิดชอบโครงการเพศวิถีศึกษาในการตรวจ ประเมินและ รับรองแผนการจดั การเรียนรขู้ องครูสายงานการสอนตามเกณฑ์ท่ีกําหนด และ นเิ ทศ กาํ กับ ตดิ ตาม การจัดการเรียน การสอนของครแู กนนำเพศวิถีศกึ ษา โดยเนน้ กระบวนการเรยี นการสอนแบบ Active Learningใช้วิธกี ารรนเิ ทศ กํากับ ติดตาม การตรวจแผนการจัดการเรียนรู้/การสัมภาษณ์/การสังเกตชั้นเรียนเพื่อจะได้ ครูแกนนําท่ีเป็นแบบอย่างที่ดี ของการเรียนการสอนเพศวถิ ีศกึ ษา หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานนี้จะเป็นประโยชน์ต่อทางราชการและเป็นแบบอย่างของการ ดําเนินงาน กล่มุ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา สํานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 2 นางสาวณัฐสินี ภานศุ านต์ นางสาวขนิษฐาพุ่มสงวน ผู้รายงาน

รายงานการนิเทศเพศวถิ ีศึกษา โดยเน้นกระบวนการเรยี นการสอนแบบ Active Learning 3 สารบญั เร่ือง หน้า สว่ นท่ี 1 บทนํา 4 ความเปน็ มาและความสําคญั ……………………………………………………………………………………. 4 วัตถปุ ระสงค์…………………………………………………………………………………………………………… 5 ระยะเวลาดําเนนิ การ………………………………………………………………………………………………. 5 6 สว่ นท่ี 2 แนวทางกระบวนการดําเนนิ งาน………………………………………………………………………………….. 7 สา่ นที่ 3 ผลการดาํ เนินงาน............................................................................................................. 7 8 รปู แบบของการนเิ ทศ........................................................................................................... 9 สรปุ ผลการนิเทศครูท่ีเป็นแกนนํา……………………………………………………………………………… 13 สรปุ ผลแบบสอบถามความพึงพอใจการนิเทศฯ………………………………………………………….. 14 ปญั หา/อุปสรรค……………………………………………………………………………………………………… 15 ภาคผนวก 18 รายงานผลการดำเนนิ การ………………………………………………………………………………………… 20 หนังสือราชการจาก สพฐ…………………………………………………………………………………………. 21 หนังสือราชการ แจง้ การนิเทศฯ........................................................................................... 30 บันทึกข้อความขออนญุ าตไปราชการ………………………………………………………………………… 37 บนั ทึกการนเิ ทศ................................................................................................................... 46 ประมวลภาพกิจกรรม............................................................................................. ............. 50 แบบประเมนิ แผนการจดั การเรยี นรู้..................................................................................... ตัวอย่างแผนการจัดการเรยี นรทู้ ใี่ ช้กระบวนการแบบ Active Learning.............................

รายงานการนิเทศเพศวถิ ีศกึ ษา โดยเนน้ กระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 4 ส่วนท่ี 1 : บทนํา ความเป็นมาและความสําคญั โปรแกรมหลักสูตรการสอนเพศวิถีศึกษา (ออนไลน์) ได้รับการออกแบบและ พัฒนาขึ้นเพื่อใช้สำหรับการ อบรมพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิตสาหรับ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ภายใต้ โครงการพฒั นาการเรียนร้แู บบ Electronic-learning เพอ่ื พฒั นา สมรรถนะครูให้สอนเพศวิถีศกึ ษาและทักษะชีวิตใน หลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานดําเนินการโดยสํานัก วิชาการและมาตรฐานการศึกษาหน่วยศึกษานิเทศก์ศนู ย์เฉพาะกิจ คุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน และมูลนิธิแพธทูเฮลท์ ภายใต้การ สนับสนุนของสานักงาน กองทุนสนับสนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.) โดยโปรแกรมชุดนี้เป็นช่องทางการพัฒนาครู ให้สามารถ จัดการเรียนรู้เพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิตซ่ึงได้รับการรับรองจากสานักงานคณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) สามารถนับเป็นชั่วโมงพัฒนาตนเองของครูจานวน 22 ชั่วโมง ใช้เป็นคุณสมบัติ ในการขอมีวิทยฐานะ และขอเลื่อนวิทยฐานะตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่กาหนดได้ ทั้งนี้เป็นไป ตามกฎกระทรวง ศึกษาธิการ และพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 2559 ที่ระบุไว้ใน มาตรา 5 สถานศึกษาจัดการรสอนเพศวิถีศึกษา จัดหาและพัฒนาครูผู้สอน รวมทั้งให้บริการ ปรึกษาในเรื่อง การป้องกัน และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ ระบบการดูแลช่วยเหลือกรณีต้ังครรภ์ให้ได้รับ การศึกษาที่เหมาะสมและต่อเนื่อง และ มาตรา 5 วัยรุ่นมีสิทธิตัดสินใจด้วยตนเอง มีสิทธิได้รับข้อมูลและ บริการอนามัยเจริญพันธุ์ อย่างเป็น ความลบั และได้รบั สวสั ดิการการสังคมครบถว้ น Users/ผู้ใช้งาน คู่มือฉบับนี้จัดทําขึ้นสําหรับศึกษานิเทศก์ผู้ได้รับมอบหมายจากเขตพื้นที่การศึกษา ตน้ สงั กัด ให้เปน็ ผู้เขา้ ถึง ข้อมูลโปรแกรมชุดน้โี ดยมีรหัสล็อคอินและพาสเวิร์ดสําหรับการเข้าสู่ระบบข้อมูลรายงานผล การ ลงทะเบียนของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาเฉพาะเขตพ้นื ที่การศึกษาการอพั โหลดและ ดาวนโ์ หลด แผนการ จัดการเรียนรู้ของครูสายงานการสอนเพื่อตรวจประเมินและรับรองแผนตามเกณฑ์ที่กําหนด ตรวจสอบความถูกต้อง ของขอ้ มลู ครสู ายงานการสอนก่อนจดั พิมพ์วุฒิบตั ร ดังนั้น หากมีการโอนย้ายหน้าที่ เปลี่ยนตําแหน่งของผู้ดูแลข้อมูลโปรแกรมให้ผู้อํานวยการสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษารับทราบและแจ้ง การเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบคนใหม่มายังสํานักวิชาการ และมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน โทร. 02- 2885775 หรือไปรษณีย์ อิเลก็ ทรอนิกส์ : Cse.obecagmail.com เพ่อื เปล่ียนแปลงรหัสล็อคอนิ และพาสเวริ ด์ ใหม่ ตามที่สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหนังสือที่ ศธ04010/ว4213 แจ้งสํานักงาน เขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาทกุ เขต โดยมอบหมายใหศ้ กึ ษานิเทศกท์ ี่รบั ผดิ ชอบกลุ่มสาระการเรยี นรู้ สขุ ศึกษาและ พลศึกษาดําเนินการตรวจและประเมินแผนการจัดการเรียนรู้เพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิตได้นิเทศ กํากับ ติดตามและ ประเมินผลการเรียนการสอนของครูที่ผ่านการประเมินแผนการจัดการแผนการจัดการเรียนรู้แล้วรับการนิเทศกํากับ ติดตามในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 ดงั นั้น สาํ นกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 2 ได้มอบหมายให้นางสาวณัฐสินี ภานุศานต์ และนางสาวขนิษฐาพุ่มสงวน ศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบโครงการพัฒนาการเรียนรู้แบบ Electronic-learning เพื่อพัฒนาสมรรถนะครูให้สอนเพศวิถศี ึกษาและทกั ษะชีวิตในหลักสูตรการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐา ท่ีได้รับมอบหมายจากเขต พื้นที่การศึกษาต้นสังกัด ให้เป็นผู้เข้าถึงข้อมูลโปรแกรมชุดนี้ โดยมีรหัสล็อคอิน และพาสเวิร์ดสําหรับการเข้าสู่ระบบ ขอ้ มูลรายงานผลการลงทะเบยี นของครูและบุคลากรทางการศึกษา เฉพาะเขตพื้นท่ีการศึกษา การอัพโหลดและดาวน์ โหลดแผนการจดั การเรยี นรู้ของครูสายงานการสอน เพื่อตรวจประเมินและรบั รองแผนตามเกณฑ์ทก่ี ําหนด ตรวจสอบ ความถูกต้องของขอ้ มลู ครูสายงานการสอน กอ่ นจดั พิมพว์ ุฒบิ ตั ร

รายงานการนิเทศเพศวิถศี กึ ษา โดยเนน้ กระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 5 วัตถุประสงค์ 1. ศกึ ษานเิ ทศกท์ ่ีได้รบั มอบหมายตรวจประเมนิ และรบั รองแผนการจดั การเรยี นรู้ ของครสู ายงานการสอนตามเกณฑ์ ตามวนั เวลาที่กําหนด 2. นิเทศ กาํ กับ ตดิ ตาม การจัดการเรียนการสอนของครูแกนนำเพศวถิ ีศึกษาท่ผี า่ นการอบรม โปรแกรมพฒั นาโดยเนน้ กระบวนการเรยี นการ สอนแบบ Active Learning เพื่อจะได้ครแู กนนาํ ทเี่ ปน็ แบบอย่างของการเรียนการสอนสอนเพศวิถี 3. สรปุ ผลการนิเทศ กํากับ ติดตาม การตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ การสมั ภาษณ์/การสังเกตชั้นเรียน ระยะเวลาดาํ เนนิ การ การดําเนินการตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้/การสมั ภาษณ/์ การสังเกตชั้นเรยี น ต้ังแต่ 1 ธันวาคม 2562 – 30 กนั ยายน 2563 โดยมจี ำนวน 10 โรงเรยี นทเี่ ขา้ รับ การสมั ภาษณ์และ การสังเกตชัน้ เรียน

รายงานการนเิ ทศเพศวถิ ศี กึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 6 สว่ นที่ 2 : แนวทางกระบวนการดําเนนิ งาน แนวทางกระบวนการดาํ เนินงาน 1. ตรวจสอบรายชอ่ื ครูท่ีผา่ นการอบรมโปรแกรมพัฒนาครเู พศวิถศี ึกษาแบบออนไลน์ ในระบบของโปรแกรม และตดิ ต่อครูแกนนำเพศวถิ ีศึกษาเพ่อื รบั การนเิ ทศ กํากับ ติดตาม ตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้ /การสมั ภาษณ/์ การสังเกตชัน้ เรยี น 2. จดั ทําปฏทิ นิ กําหนดการนิเทศ กํากับ ติดตาม และเขา้ รับการนเิ ทศ ตามวนั และเวลาท่ีกำหนด ตารางการนเิ ทศ ตดิ ตาม การจัดการเรียนการสอนของครูแกนนำเพศวถิ ีศึกษา ที่ วัน/เดือน/ปี เวลา ช่อื ครูผู้สอน ชื่อโรงเรยี น หมายเหตุ 1 21/ก.ย/63 10.10 น. นางสาวชนดิ าภา ป้ันงาม จันทร์ห่นุ บำเพ็ญ 2 21/ก.ย/63 09.00 น. นางสาวน้ำฟา้ ขำประเสรฐิ จนั ทร์หุ่นบำเพ็ญ 3 15/ม.ค/63 09.00 น. นางสาวกิตยิ า ปราบณรงค์ นวมินทราชินทู ศิ เตรยี ม อดุ มศึกษาน้อมเกล้า 4 15/ม.ค/63 10.50 น. นางสาวจริ วรรณ เจยี มรตั นะ นวมินทราชินทู ิศ เตรียม อดุ มศึกษาน้อมเกลา้ 5 9/ก.ย/63 11.00 น. นายวชั รพงศ์ หอมนาน บดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) 6 9/ก.ย/63 10.10 น. นางกญั ญ์วรา ฤทธศิ ศิธร บดินทรเดชา (สงิ ห์ สงิ หเสนี) 7 1/ก.ย/63 09.00 น. นายสญั ชยั โสมทอง มัธยมวัดบึงทองหลาง 8 3/ก.ย/63 10.50 น. นางสาวเบญจวรรณ ศริ ิชยั อินทร นวมินทราชนิ ทู ศิ บดนิ ทรเดชา 9 25/ก.ย/63 13.30 น. นายกฤตนุ พรมวงั ฤทธิยะวรรณาลยั 10 25/ก.ย/63 10.10 น. นางสาวเกศวลี แหวนนลิ ฤทธิยะวรรณาลยั 11 11/ก.ย/63 10.10 น. นางณชิ ากร แก้วฉีด ฤทธิยะวรรณาลยั 2 12 2/ก.ย/63 12.15 น. นางสาวกรกัญจน์ รศั มีโสรจั วดั สทุ ธิวราราม 13 2/ก.ย/63 11.30 น. นายจงรกั ษ์ เงินพุม่ วัดสทุ ธวิ ราราม 14 10/ก.ย/63 09.00 น. นายรัตนศกั ด์ิ เมอื งคำ สตรศี รีสรุ ิโยทัย 15 10/ก.ย/63 11.30 น. นางสาวนริ ญั ญา นยุ้ พานชิ สตรศี รสี รุ ิโยทัย 16 23/ก.ย/63 09.50 น. นางสาวณัฐกฤตา วัฒนขจร สุรศกั ดมิ์ นตรี หมายเหตุ : ขอความอนเุ คราะหค์ ณุ ครทู ่ีรบั การนิเทศในคร้ังนไ้ี ด้ดำเนินการให้คาบตรงกับปฏทิ นิ เน่อื งจาก การนิเทศมขี ้อจำกัดในเรอ่ื งเวลาตอ้ งจดั ทำรปู เลม่ รายงานส่งสพฐ.อย่างเรง่ ด่วน สิ่งทค่ี ณุ ครตู อ้ งเตรียมเพื่อเขา้ รับการนเิ ทศ : แผนการจัดการเรียนรเู้ พศวถิ ศี ึกษาและทักษะชีวิต จำนวน 1 ฉบับ ( ความสมบรู ณข์ องแผนการจดั การ เรยี นรู้ควรมีองค์ประกอบครบเช่น ใบความรู้ /ใบงาน/ ใบกิจกรรม/ส่ือ/แบบการวัดผลและ ประเมินผล และอืน่ ๆ เปน็ ตน้ ) และ สมุดบันทกึ การนิเทศของโรงเรียน

รายงานการนิเทศเพศวถิ ศี กึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 7 สว่ นที่ 3: ผลการดาํ เนนิ งาน รูปแบบของการนิเทศ ใช้กระบวนการการนิเทศแบบชแ้ี นะสอนงาน Coaching ปรากฎดงั ภาพ ข้ันตอนการนเิ ทศแบบโคช้ ชงิ่ มี 4 ข้ันตอน เขยี นเป็นสัญลักษณ์ คือ CQCD C - Compliment หมายถึง การสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ท่ีทำหน้าที่เป็น Coach และผู้ให้ คำแนะนำ ซึ่งเป็นสัมพันธภาพที่สร้างความไว้วางใจ ความสบายใจ ยินดีร่วมในแนวทางของ Coaching Techniques นับเปน็ บทบาทสำคัญของ Coach ท่ีจะต้องดำเนนิ การ ดงั น้ันควรดำเนนิ การ ดังน้ี 1. ศกึ ษาข้อมูลของผทู้ ่ีรบั การแนะนำ เช่น จดุ เด่น ผลงานเด่น ความชอบ อธั ยาศัย จดุ ออ่ น จดุ ท่ีตอ้ ง ปรบั ปรุง ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ควรบันทึก ไว้อย่างเป็นระบบมคี วามเหมาะสม 2. นำขอ้ มลู มาเปน็ แนวทางในการสรา้ งสัมพนั ธภาพ ไดแ้ ก่ การชมเชย หรอื การสรา้ งบรรยากาศ เพ่ือการเชอ่ื มโยงไปสู่ข้ันต่อไป Q - Question หมายถึง การถามเน้นการถามในเชิงขอความคิดเห็นไม่ให้ผู้ตอบจนมุมหรือเกิดความไม่ สบายใจท่จี ะตอบคำถาม ซ่ึงผู้เปน็ Coach อาจจะใช้ความเหมาะสมของผู้รับคำแนะนำและสภาพปัญหา เช่น - คุณคิดวา่ ผมจะชว่ ยอะไรไดบ้ า้ ง - คุณคดิ ว่ามีวิธกี ารอะไรบ้างท่แี กป้ ัญหาน้ี - คุณคดิ ว่าถ้าใชว้ ิธีการนแี้ ล้วจะเกิดอะไรข้นึ - ทกุ อย่างจะตอ้ งมีข้อดแี ละข้อจำกดั คุณคดิ ว่าวธิ ีน้ีอะไรคอื ข้อดี อะไรคือข้อจำกดั - คุณคิดวา่ ข้อจำกดั นนั้ ๆ จะมที างแกไ้ ขหรอื ควรทำอยา่ งไรหรอื จะหาทางออกอย่างไร ในสภาวะหรือในสภาพเช่นน้ี - คณุ คิดว่าถ้าคุณจะพฒั นางานใหด้ ยี ิง่ ข้นึ มีอะไรบา้ งท่ีเราควรทำ

รายงานการนิเทศเพศวถิ ีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 8 - ที่คณุ คิดว่า “ไมด่ ,ี ยงั ไม่ดี คอื อะไรบ้าง” “ คุณคดิ ว่า มีอะไรบา้ งทค่ี ุณตอ้ งการเสริม เพ่มิ เติม ” C - Correct หมายถึง การเสนอแนะแนวทางแก้ไข ในขั้นตอนนี้ผู้เป็น Coach ควรให้ความสำคัญ ในขั้นตอนที่สืบเนื่องจากขั้น Question นำคำตอบของผู้รับคำแนะนำมาวิเคราะห์และนำเสนอในส่วนที่ยัง บกพรอ่ ง และสงั เคราะห์เป็นแนวการปฏิบัติหรือการพัฒนางานในลักษณะแลกเปล่ียนเรียนรู้รว่ มกัน และในข้ันตอน นีค้ วรกำหนดบทบาทในการปฏิบตั ิแตล่ ะเรื่องชัดเจน D - Demonstrate หมายถงึ การนำข้อเสนอหรือแนวทางทต่ี กลงกันไวใ้ นขนั้ ตอนของ C - Correct หรอื แผนการใช้นวัตกรรม ซึ่งผู้รับคำแนะนำเป็นผู้ปฏิบัติ ผู้เป็น Coach เป็นผู้แนะนำอย่างใกล้ชิดบางครั้ง Coach อาจตอ้ งสาธติ การนิเทศแบบ Coaching Techniques ประสบผลสำเรจ็ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี ก็ขนึ้ อยู่กับ 1 . ผ ู ้ เ ป ็ น Coach ต ้ อ ง เ ป ็ น ผ ู ้ เ ช ี ่ ย ว ช า ญ แ ล ะ เ ป ็ น ผ ู ้ ท ี ่ ผ ู ้ ร ั บ ค ำ แ น ะ น ำ ย อ ม ร ั บ 2. มีความเหมาะสมกบั การสอนแนะเป็นรายบุคคลหรือกลมุ่ ย่อย ใชไ้ ด้กบั บคุ คลทุกกลุม่ ท้งั การพฒั นาศกึ ษานเิ ทศก์ พฒั นาผู้บริหารและพัฒนาครู สรุปผลการนิเทศ ชือ่ ครูผสู้ อน ชอ่ื โรงเรียน กล่มุ สาระฯ การตรวจแผน/ การ สัมภาษณ/์ วัน/เดอื น/ปี เวลาเข้ารับ การสังเกตชั้นเรียน การนเิ ทศ ดี 21/ก.ย/63 10.10 น. นางสาวชนิดาภา ป้นั งาม จนั ทรห์ นุ่ บำเพญ็ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ดี 21/ก.ย/63 09.00 น. นางสาวน้ำฟา้ ขำประเสริฐ จนั ทรห์ ุน่ บำเพ็ญ แนะแนว ดี 15/ม.ค/63 09.00 น. นางสาวกติ ิยา ปราบณรงค์ นวมินทราชินูทิศ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา เตรียมอุดมศกึ ษานอ้ มเกลา้ ดี 15/ม.ค/63 10.50 น. นางสาวจริ วรรณ เจยี มรัตนะ นวมินทราชินทู ิศ แนะแนว เตรียมอุดมศกึ ษานอ้ มเกลา้ ดมี าก 9/ก.ย/63 11.00 น. นายวชั รพงศ์ หอมนาน บดินทรเดชา (สิงห์ สงิ หเสนี) สุขศกึ ษาและพลศึกษา ดีมาก 9/ก.ย/63 10.10 น. นางกญั ญ์วรา ฤทธิศศิธร บดนิ ทรเดชา (สิงห์ สงิ หเสน)ี แนะแนว 1/ก.ย/63 09.00 น. นายสัญชัย โสมทอง มัธยมวัดบงึ ทองหลาง สุขศึกษาและพลศึกษา ดี 3/ก.ย/63 10.50 น. นางสาวเบญจวรรณ ศริ ชิ ัยอนิ ทร นวมินทราชนิ ทู ิศ บดินทรเดชา แนะแนว ดมี าก 25/ก.ย/63 13.30 น. นายกฤตนุ พรมวงั ฤทธยิ ะวรรณาลยั สุขศกึ ษาและพลศึกษา 25/ก.ย/63 10.10 น. นางสาวเกศวลี แหวนนลิ ฤทธยิ ะวรรณาลยั แนะแนว ดี 11/ก.ย/63 10.10 น. นางณิชากร แก้วฉดี ฤทธยิ ะวรรณาลยั 2 แนะแนว ดมี าก 2/ก.ย/63 12.15 น. นางสาวกรกญั จน์ รศั มีโสรจั วัดสทุ ธวิ ราราม สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ดีมาก 2/ก.ย/63 11.30 น. นายจงรกั ษ์ เงนิ พุม่ วดั สทุ ธิวราราม แนะแนว 10/ก.ย/63 11.30 น. นางสาวนริ ัญญา นยุ้ พานชิ สตรศี รสี รุ โิ ยทัย แนะแนว ดี 23/ก.ย/63 09.50 น. นางสาวณฐั กฤตา วัฒนขจร สรุ ศักดม์ิ นตรี แนะแนว ดมี าก ดี ดี จากการเข้าการนิเทศ ติดตาม การสอนครูแกนนำเพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิตในโรงเรียนโดยเน้น กระบวนการเรยี นการสอนแบบ Active Learning พบวา่ ระดับดีมาก จำนวน 6 คน คือ นายวัชรพงศ์ หอมนาน นางกัญญ์วรา ฤทธิศศิธร โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นางสาวเบญจวรรณ ศิริชัยอินทร โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา นางสาวเกศวลี แหวนนิล โรงเรียน ฤทธิยะวรรณาลัย นางณิชากร แก้วฉีด โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย 2 และนายจงรักษ์ เงินพุ่ม โรงเรยี นวดั สุทธวิ ราราม

รายงานการนเิ ทศเพศวถิ ีศึกษา โดยเน้นกระบวนการเรยี นการสอนแบบ Active Learning 9 ระดับดี จำนวน 9 คน คือ นางสาวชนิดาภา ปั้นงามนางสาวน้ำฟ้า ขำประเสริฐ โรงเรียนจันทร์หุ่นบำเพ็ญ นางสาวกิติยา ปราบณรงค์ นางสาวจิรวรรณ เจียมรัตนะ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า นายกฤตนุ พรมวัง รัตนะ โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย นางสาวกรกัญจน์ รัศมีโสรัจ โรงเรียนวัดสุทธิวราราม นางสาวนิรัญญา นุ้ยพานชิ โรงเรียนสตรศี รีสุรโิ ยทยั และนางสาวณัฐกฤตา วัฒนขจร โรงเรยี นสรุ ศักด์มิ นตรี สรุปผลแบบสอบถามความพึงพอใจการนิเทศเพศวถิ ศี ึกษาและทักษะชวี ิตในโรงเรียน โดยเนน้ กระบวนการเรียน การสอนแบบActive Learning ตอนที่ 1 : ข้อมูลทวั่ ไป ตารางท่ี 1 จำนวนและรอ้ ยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จำแนกตามเพศ เพศ จำนวน (คน) รอ้ ยละ ชาย 5 31.25 หญิง 11 68.75 รวม 16 100 จากตารางที่ 1 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญเ่ ปน็ เพศหญงิ มีจำนวน 11 คน คดิ เป็น ร้อย ละ 68.75 เพศชาย มจี ำนวน 5 คน และคิดเป็นรอ้ ยละ 31.25 ตารางท่ี 2 จำนวนและรอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จำแนกตามตำแหนง่ ตำแหน่ง จำนวน (คน) ร้อยละ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา รองผบู้ ริหารสถานศึกษา ครูวชิ าการ ครูผสู้ อน 16 100 รวม 16 100 จากตารางที่ 2 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญเ่ ปน็ ครูผสู้ อน มจี ำนวน 16 คน คดิ เป็น ร้อยละ 100 ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามระดับช้ัน ระดบั ช้ัน จำนวน (คน) รอ้ ยละ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 2 12.5 มัธยมศึกษาปีท่ี 2 4 25 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 6 37.5 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 มัธยมศึกษาปีที่ 5 1 6.25 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 2 12.5 รวม 16 100 จากตารางที่ 3 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญเ่ ป็นครูผ้สู อนระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีจำนวน 6 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 37.5 ครูผู้สอนระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 มจี ำนวน 4 คน คิดเป็น ร้อยละ 25

รายงานการนิเทศเพศวิถีศึกษา โดยเนน้ กระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 10 ครผู ู้สอนระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 มจี ำนวน 2 คน คดิ เป็น รอ้ ยละ 12.5 ครผู สู้ อนระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 มีจำนวน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 12.5 และครผู สู้ อนระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 มีจำนวน 1 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 6.25 ตารางที่ 4 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามการสอนกลมุ่ สาระฯ สอนกล่มุ สาระฯ จำนวน (คน) ร้อยละ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม สุขศกึ ษาและพลศึกษา 7 43.75 ศลิ ปะ ภาษาต่างประเทศ การงานอาชพี และเทคโนโลยี กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 9 56.25 รวม 16 100 จากตารางที่ 4 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญเ่ ปน็ ครูผู้สอนกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน (แนะแนว ) มีจำนวน 9 คน คิดเป็น ร้อยละ 56.25 และครผู ู้สอนสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา มีจำนวน 7 คน และคิดเปน็ ร้อยละ 43.75

รายงานการนเิ ทศเพศวถิ ีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 11 สว่ นท่ี 2 สรปุ ความพึงพอใจของผตู้ อบแบบสอบถาม จำแนกตามประเด็นความพงึ พอใจ รายการ จำนวน ระดบั ความพึงพอใจ (คน) มากท่ี ุสด ร้อยละ มาก ร้อยละ ปานกลาง ร้อยละ น้อย ร้อยละ น้อย ่ีท ุสด ร้อยละ ดา้ นครูหรือบุคลากร 1. ท่านพงึ พอใจกับแผนการจดั การเรยี นรู้ 16 11 68.75 5 31.25 - - - - - - เร่ืองเพศวิถศี กึ ษาแบบ Active Leaning ของทา่ นอยรู่ ะดบั ใด 2. ท่านคดิ วา่ การเรยี นการสอนเรอ่ื งเพศวิถี 16 10 62.5 6 37.5 - - - - - - ศึกษาแบบ Active Leaning ในปจั จบุ นั แพรห่ ลายอยรู่ ะดับใด 3. โดยภาพรวมท่านคดิ วา่ การพัฒนา 16 - - 12 75 4 25 - - - - การเรียนการสอนเรื่องเพศวถิ ศี ึกษาแบบ Active Leaning จะช่วยให้นักเรยี นมี ความตระหนกั /ลดปญั หาทางเพศของ นักเรียนไดล้ งอยใู่ นระดบั ใด ด้านศึกษานเิ ทศก์ 4. บคุ ลกิ ภาพของศึกษานเิ ทศก์ 16 12 75 4 25 - - - - - - 5. ความรคู้ วามสามารถในเร่อื งที่นเิ ทศ 16 16 100 - - ---- 6. เทคนิค วธิ ีการนเิ ทศเหมาะสม 16 14 87.5 2 12.5 - - - - - - 7. ไดร้ บั การนเิ ทศที่ตรงกบั ความตอ้ งการ 16 13 81.25 3 18.75 - - - - - - 8. ระยะเวลาในการนเิ ทศเหมาะสม 16 11 68.75 3 18.75 2 12.5 - - - - 9. ผู้นิเทศให้ขอ้ เสนอแนะแนวทางเหมาะ 16 15 93.75 1 6.25 - - - - - - 10.นำผลการนิเทศไปใช้ปฏบิ ตั ไิ ด้ 16 14 87.5 2 12.5 - - - - - - ผลความพึงพอใจของผตู้ อบแบบสอบถาม จำแนกตามประเด็นความพึงพอใจการนิเทศเพศวิถศี ึกษาและ ทักษะชวี ติ ในโรงเรยี นโดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบActive Learning ในครงั้ นี้พบว่า สว่ นใหญผ่ ู้ตอบแบบ สำรวจมคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั มากทส่ี ดุ เป็นดงั นี้ ด้านครูหรอื บคุ ลากร 1. ท่านพงึ พอใจกบั แผนการจัดการเรียนรเู้ ร่ืองเพศวิถีศึกษาแบบ Active Leaning ของทา่ นอยูร่ ะดบั ใด อยู่ในระดบั มากทสี่ ุด คิดเปน็ ร้อยละ 68.75 2. ทา่ นคดิ วา่ การเรยี นการสอนเรื่องเพศวิถีศึกษาแบบ Active Leaning ในปัจจบุ นั แพรห่ ลายอย่รู ะดับใด อย่ใู นระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 62.5 3. โดยภาพรวมทา่ นคดิ วา่ การพฒั นา การเรียนการสอนเรื่องเพศวถิ ศี ึกษาแบบ Active Leaning จะช่วยให้นกั เรียนมี ความตระหนัก/ลดปัญหาทางเพศของ นักเรียนไดล้ งอยูใ่ นระดบั ใด อยู่ในระดบั มาก คดิ เป็นร้อยละ 75 ดา้ นศกึ ษานิเทศก์ 4. บคุ ลกิ ภาพของศึกษานเิ ทศก์ อยู่ในระดับมากทส่ี ุด คิดเป็นร้อยละ 75 5. ความรคู้ วามสามารถในเรอ่ื งท่ีนิเทศ อยู่ในระดับมากทส่ี ดุ คดิ เปน็ ร้อยละ 100 6. เทคนิค วธิ ีการนิเทศเหมาะสม อยู่ในระดับมากท่ีสดุ คดิ เป็นร้อยละ 87.5

รายงานการนิเทศเพศวถิ ีศึกษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 12 7. ได้รับการนิเทศท่ีตรงกบั ความต้องการ อยู่ในระดับมากทสี่ ดุ คิดเป็นร้อยละ 81.25 8. ระยะเวลาในการนิเทศเหมาะสม อยู่ในระดบั มากทส่ี ุด คิดเป็นร้อยละ 68.75 9. ผนู้ เิ ทศใหข้ ้อเสนอแนะแนวทางเหมาะสม อยู่ในระดับมาก คิดเปน็ ร้อยละ 93.75 10. นำผลการนเิ ทศไปใชป้ ฏิบัติได้ อยู่ในระดับมาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 87.75 ตารางที่ 5 ผลการประเมนิ แบบสำรวจระดับความพงึ พอใจการนิเทศเพศวถิ ีศกึ ษาและทักษะชวี ิตในโรงเรียน โดยเน้นกระบวนการเรยี นการสอนแบบActive Learning รายการประเมิน ความพึงพอใจ X S.D. การแปลผล ดา้ นครหู รือบคุ ลากร 1. ทา่ นพงึ พอใจกับแผนการจัดการเรียนรูเ้ รื่องเพศวถิ ศี ึกษา 3.88 0.50 มาก แบบ Active Leaning ของทา่ นอยรู่ ะดับใด 2. ท่านคิดว่าการเรยี นการสอนเรอ่ื งเพศวถิ ศี ึกษา 3.69 0.48 มาก แบบ Active Leaning ในปัจจุบนั แพร่หลายอย่รู ะดบั ใด 3.โดยภาพรวมทา่ นคดิ วา่ การพัฒนาการเรียนการสอนเร่ือง 4.19 0.75 มาก เพศวถิ ีศึกษาแบบ Active Leaning จะชว่ ยให้นักเรยี นมี ความตระหนกั /ลดปัญหาทางเพศของ นกั เรยี นได้อยู่ ในระดบั ใด ด้านศึกษานเิ ทศก์ 4. บคุ ลกิ ภาพของศึกษานเิ ทศก์ 4.50 0.82 มากท่ีสดุ 5. ความรคู้ วามสามารถในเร่ืองท่นี เิ ทศ 4.31 0.48 มาก 6. เทคนิค วิธกี ารนิเทศเหมาะสม 4.31 0.48 มาก 7. ไดร้ บั การนิเทศทต่ี รงกบั ความต้องการ 4.31 0.48 มาก 8. ระยะเวลาในการนิเทศเหมาะสม 4.31 0.48 มาก 9. ผูน้ ิเทศให้ข้อเสนอแนะแนวทางเหมาะสม 4.00 0.82 มาก 10. นำผลการนิเทศไปใชป้ ฏิบตั ิได้ 4.31 0.48 มาก รวม 4.18 0.82 มาก จากตารางที่5 พบว่า การประเมินความพึงพอใจการนิเทศเพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิตในโรงเรียนโดยเน้น กระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning พบวา่ มีความพอใจอยู่ในระดบั มากทสี่ ุด จำนวน 1 รายการ ได้แก่ บุคลิกภาพของศึกษานิเทศก์ และมีความพึงพอใจระดับมาก จำนวน 9 รายการ ด้านครูหรือบุคลากร ได้แก่ ความพึง พอใจกับแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องเพศวิถีศึกษาแบบ Active Leaning การเรียนการสอนเรื่องเพศวิถีศึกษาแบบ Active Leaning ในปัจจุบันแพร่หลาย การพัฒนาการเรียนการสอนเรื่องเพศวิถีศึกษาแบบ Active Leaning จะช่วยให้นักเรียนมีความตระหนัก/ลดปัญหาทางเพศ และด้านศึกษานิเทศก์ความรู้ความสามารถในเรื่องที่นิเทศ เทคนคิ วธิ ีการนิเทศเหมาะสม ไดร้ บั การนิเทศท่ีตรงกบั ความตอ้ งการ ระยะเวลาในการนเิ ทศเหมาะสม ผู้นิเทศให้ข้อเสนอแนะแนวทางเหมาะสม นำผลการนิเทศไปใช้ปฏิบัติได้ ความพึงพอใจการนิเทศเพศวิถีศึกษาและ ทกั ษะชีวิตในโรงเรยี นโดยเน้นกระบวนการเรยี นการสอนแบบ Active Learning โดยรวมอยใู่ นระดับดี

รายงานการนิเทศเพศวิถีศึกษา โดยเน้นกระบวนการเรยี นการสอนแบบ Active Learning 13 ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมที่ได้จากแบบประเมินความพึงพอใจการนิเทศเพศวิถีศึกษา และทกั ษะชวี ิตในโรงเรยี นโดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 1. ภาคเรียนละ 1 ครั้ง 2. มตี วั อย่างแผนท่ีดีนำเสนอ ปญั หา/อุปสรรค 1. ชว่ งจังหวะเวลาของการนเิ ทศค่อนข้างมจี ํากัดเพราะจะไปชนกบั การจัดกจิ กรรมของโรงเรียน ทาํ ใหค้ รูไม่สะดวกทจี่ ะใหน้ เิ ทศการเรยี นการสอนในช้นั เรยี น 2. โรงเรียนรับหนังสอื แต่ไมไ่ ดแ้ จ้งครทู ี่มรี ายชื่อรับการนเิ ทศทาํ ให้ครูไม่ได้รบั หนังสือ แจ้งการนิเทศฯ 3. โรงเรียนและครทู ่ไี ด้รบั หนังสอื แจ้งการนเิ ทศฯไม่ไดป้ ระสานแจ้งใหก้ บั ผนู้ ิเทศวา่ ครทู ่รี ับ การนิเทศไปราชการ/ขอลาในวนั ท่ผี ู้นิเทศจะดาํ เนนิ การนเิ ทศ

รายงานการนิเทศเพศวถิ ศี กึ ษา โดยเนน้ กระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 14 ภาคผนวก รายงานผลการดำเนนิ การ หนังสอื ราชการจากสพฐ หนังสอื ราชการ แจ้งการนิเทศฯ บันทึกข้อความขออนุญาตไปราชการ บันทกึ การนิเทศ ประมวลภาพกิจกรรม แบบประเมนิ แผนการจดั การเรียนรู้ ตวั อย่างแผนการจดั การเรียนรูท้ ่ีใช้กระบวนการแบบ Active Learning

รายงานการนเิ ทศเพศวถิ ศี กึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรยี นการสอนแบบ Active Learning 15 รายงานผลการดำเนนิ การ

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 16

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 17

รายงานการนเิ ทศเพศวถิ ศี กึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรยี นการสอนแบบ Active Learning 18 หนงั สือราชการจาก สพฐ.

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 19

รายงานการนิเทศเพศวิถศี ึกษา โดยเนน้ กระบวนการเรยี นการสอนแบบ Active Learning 20 หนงั สือราชการ แจ้งการนิเทศฯ

รายงานการนเิ ทศเพศวถิ ศี กึ ษา โดยเนน้ กระบวนการเรยี นการสอนแบบ Active Learning 21 บันทึกข้อความขออนญุ าตไปราชการ

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 22

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 23

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 24

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 25

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 26

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 27

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 28

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 29

รายงานการนิเทศเพศวถิ ีศกึ ษา โดยเนน้ กระบวนการเรยี นการสอนแบบ Active Learning 30 บันทึกการนิเทศฯ

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 31

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 32

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 33

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 34

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 35

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 36

รายงานการนิเทศเพศวิถีศึกษา โดยเนน้ กระบวนการเรยี นการสอนแบบ Active Learning 37 ประมวลภาพกจิ กรรมการนเิ ทศครูแกนนำเพศวิถี ศกึ ษา

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 38

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 39

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 40

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 41

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 42

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 43

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 44

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 45

รายงานการนเิ ทศเพศวถิ ศี ึกษา โดยเนน้ กระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 46 แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 47

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 48

รายงานการนเิ ทศเพศวิถีศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning 49

รายงานการนิเทศเพศวถิ ีศกึ ษา โดยเนน้ กระบวนการเรยี นการสอนแบบ Active Learning 50 ตวั อย่างแผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ีใช้ กระบวนการแบบActive Learning


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook