Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore beautiful of the world

beautiful of the world

Published by Paramet Singsanan, 2021-09-01 02:02:05

Description: beautiful of the world

Search

Read the Text Version

environment ANIMAL environment beautiful of the world AMAZING LIVING THINGS ด.ช.ปารเมศ สิ งห์สนัน ชั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ป ที 2 / 2 เ ล ข ที 2 3

คํานํา รายงานเล่นนจี ดั ทําขึนเพอื เปนสว่ นหนึงของวชา คอมพิวเตอร์ ชัน ม.2 เพือใหไ้ ดศ้ ึกษาหาความรู้ใน เรองสตั วป์ าและได้ศกึ ษาอยา่ งเข้าใจเพือเปน ประโยชน์กบั การเรยน ผ้จู ัดทําหวงั วา่ รายงานเลม่ นีจะเปนประโยชน์กบั ผอู้ า่ น หรอนกั เรยน นกั ศึกษา ทกี าํ ลงั หาขอ้ มลู เรอง นอี ย่หู ากมีข้อแนะนําหรอข้อผิดพลาดประการใด ผู้ จดั ทําขอนอ้ มรับไวแ้ ละขออภัยมา ณ ทนี ีดว้ ย ผูจดั ทาํ เด็กชายปารเมศ สงิ หสนัน่

สารบัญ หน้า เรอง 1 2 ความสาํ คัญของชา้ งไทย 3 ประเภทของช้างในไทย 6 ลักษณะของช้างในไทย แหลง่ ทีอยอู่ าศัยของช้าง 7 ลกั ษณะอาหารการกินของชา้ ง 8 สาเหตุทที าํ ใหส้ ัตวส์ ญู พันธ์ุ 9 สัตวป์ าทีกําลงั ใกล้จะสญู พันธุ์ 11 การอนรุ ักษส์ ัตวป์ าสงวน 12 ตัวอยา่ งสัตวส์ ญู พันธุ์ 14 อ้างอิง

ความสาํ คัญของชา้ งไทย THE HISTORY OF THAI ELEPHANTS !!! - ช้างเปนสัตว์คู่บารมีของพระมหากษัตรยิ ์ไทย - ช้างเปนผู้ปกปองเอกราชแห่งชาติไทย - ช้างในพระราชพิธีสาํ คัญต่างๆ - ช้างสรา้ งความสัมพันธ์ไมตรรี ะหว่างประเทศ - ช้างใช้เปนพาหนะในการคมนาคม - ช้างในอุตสาหกรรมทําไม้

ประเภทของช้างในไทย ช้ า ง เ อ เ ชี ย ( E L E P H A S M A X I M U S ) 1 . ช้ า ง เ อ เ ซี ย พั น ธุ์ ศ รี ลั ง ก า ( ELEPHAS MAXIMUS MAXIMUS LINN ) 2 . ช้ า ง เ อ เ ซี ย พั น ธุ์ อิ น เ ดี ย ( ELEPHAS MAXIMUS INDICUS CUVIER ) 3 . ช้ า ง เ อ เ ซี ย พั น ธุ์ สุ ม า ต ร า ( ELEPHAS MAXIMUS SUMATRANUS TEMMICK )

ลักษณะของช้างในไทย ชางมีลกั ษณะดตี องมรี ปู รา งใหญโ ต แข็งแรง ศีรษะโต แกมเต็ม หนาผากกวาง มดี วงตาแจมใส มีขาแข็งแรง เตม็ ไปดวยกลามเน้อื ลักษณะของ หลังสูงตรงกลางเล็กนอย ลาดไปทาง หางอยาง สมาํ่ เสมอเรียกวา \"แปกานกลว ย\" เปน ลักษณะ ของชางดีท่สี ุด เวลายืนศีรษะจะเชิดขึน้ มอง ดสู งา มีงาใหญแ ข็งแรง และยื่นขนานคูกันออกมา ไมบ ิด หรือถางหางจากกันมากเกินไป ลกั ษณะของเพศผู ใบหูเรียบไมฉ ีกขาด การสงั เกตจากสขุ ภาพของ ชาง โดยชางจะยืนแกวง งวงแล ะพบั หไู ปมา อยู เสมอ และเดินหาหญาหรืออาหารอน่ื กนิ อยูตลอด เวลา ที่เล็บเทาตองมีเหง่ือซึมออกมาจากโคนเลบ็ มองเห็นจากรอยเปยกของฝนุ ที่เกาะเทา ชา ง เนือ่ งจากชา งไมมตี อมเหงอ่ื ทผี่ วิ หนังเ มันจงึ ใชโ คน เล็บเปน ทร่ี ะบายเหงอ่ื หรอื ระบายความรอนออก จากรา งกาย

ลักษณะของ ช้าง ประกอบด้วย 1.ศรี ษะ โต แก้มไมต่ อบ หนา้ ผากวา้ งและกลม 2.ตา แจ่มใส สะอาด ไม่ข่นุ มัว มีนําตาหล่อเลียง 3.งวง ยาว โคนงวงใหญ่ ลาํ สนั ตลอดลํา ฝาปดเปด ปลายงวงปดได้สนิท 4.หู ใหญ่ ปลายใบหหู ้มุ ลง 5.คอ สันใหญ่ ลําสนั รับกับศรี ษะ 6.อก กวา้ งมีกล้ามเนือหนา บ่ายกนูนใหญ่ 7.ขา ขาหน้ามีส่วนโค้ง ไปข้างหนา้ และยาวหวา่ ข้าง หลัง 8.รูตอ่ มนาํ มนั ใกลห้ ู ใหญ่ 9.ความสูง ช้างทีโตเต็มทแี ล้ว (วดั จากพนื ถงึ ไหล)่ ควรจะมีส่วนสงู ไม่ตาํ กวา่ 8 ฟตุ สําหรับช้างพลาย และ 7 ฟตุ 6 นวิ สาํ หรับช้างพัง 10.นําหนกั ช้างพลายทีสมบรู ณ์ (สูง 8 ฟตุ 3 นิว) จะมนี ําหนกั ประมาณ 3 ตนั

ลักษณะของ ช้าง ประกอบด้วย 11.หลงั กวา้ ง โคง้ ลาดลงไปขา้ งหน้าและข้างหลงั แบง่ ออกได้ 3 ประเภท - แปก้านกลว้ ย คือกระดูกสนั หลงั สงู กวา่ ตรงกลาง เลก็ น้อย แล้วลาดลงทางหางในลกั ษณะสมาํ เสมอ - แปปราสาท คอื สันหลงั โคง้ สูงมาก - แปขาด คอื สันหลงั บุบ แนวไม่สมาํ เสมอ เปนร่อง ตาํ ราของพมา่ จะแบง่ ลกั ษณะหลังชา้ งออกเปน 5 ประเภท - ลําตวั หนาลาํ สนั สมําเสมอไม่สนั เกินไป - ตะโพกกลมเต็มไปดว้ ยกลา้ มเนือ - เท้ากลมขนาดเท่าลาํ ขา ไม่แบน พืนเทา้ แข็ง ปราศจากรอยแตกหรอรูเล็กๆ - เล็บโค้งนูน ใสสะอาด ไม่แตก ไมแ่ ขง็ กระดา้ ง - หางยาวแตไ่ มจ่ รดดิน ปลายหางเปนแผงใหญ่ ขนหางยาว - หนังออ่ นยน่ และหนาเปนมันเมอื ม สีคอ่ นขา้ งดาํ - งาลาํ สนั แนน่ หนาดี ไม่ยาวมาก

แหล่งทีอยู่อาศัยของชา้ ง ENVIRONMENT OF FOREST ช้างเอเชียชอบอาศัยอยู่ในปาแคระและมีปาหญ้า ผสม พบในทวีปเอเชียตังแต่ตอนใต้ของเทือกเขา หิมาลัย จีน อินโดจีน เกาะสุมาตรา และบอรเ์ นียว ช้างเปนสัตว์ทีมีอายุยืน ฉลาดและเปนสัตว์ สังคม ฝูงช้างซึงเรยี กว่า \"โขลง\" ประกอบด้วย ตัวเมียทีเปนญาติพีน้องกันและช้างเด็ก โขลงมี ช้างตัวเมียทีอาวุโสทีสุดซึงเรยี กว่า \"แม่แปรก\" เปนจ่าโขลง แต่ละโขลงมีประมาณ 6-7 ตัว

ลักษณะ อาหาร การกนิ ของชา้ ง ELEPHANT IS HERBIVORE

UNCERTAIื สาเหตุทีทําให้สัตว์ สูญพันธ์ The future of animals will be extinct 1. แหล่งทีอยูอ่ าศัยถกู ทําลาย 2. ภัยธรรมชาติ 3. โครงสรา้ งของรา่ งกาย 4. ระยะเวลาการตังท้อง 5. การกระทําของมนษุ ย์ 6. ความต้องการอาหารเฉพาะ 7. การถกู กลืนทางพนั ธุกรรม 8. การใชย้ ากําจดั ศัตรพู ชื

สั ต ว์ ป า ที กํา ลั ง ใ ก ล้ จ ะ สู ญ พั น ธุ์ 01 ลิงค์ไอบีเรียน (แมวปาพันธุ์หายาก) เปนแมวทีอยู่ในตระกูลเสืออยู่ในปาไม้โอ๊ค ในประเทศ สเปน โปรตุเกส และ ทางใต้ ของฝรังเศส 02 ลิงอุรังอุตัง สุมาตรา แหล่งทีอยู่บนหมู่เกาะสุมาตรา ใน ประเทศ อินโดนีเซีย มีรายงานไม่เกิน 7,500 ตัว 03 วอมแบ็ทจมูกขน (สัตว์เลียงลูกด้วยนมมีหน้าคล้ายหมี) พบที รัฐนิวเซาล์แวล วิทอเรีย และ ควีน แลนด์ ของประเทศ ออสเตรเลีย เมือ 100 ปทีแล้ว แต่ปจจุบัน พบเพียงแค่ 100 ตัว 04 อูฐแบกเทรียน ในทวีปเอเชียตอนกลาง และ อยู่ในเขต หนาวของประเทศจีนและมองโกเลีย กิน พืชเปนอาหารปจจุบันทีจีนเพียง 650 ตัว และ ในมองโกเลียเพียง 350 ตัวเท่านัน 05 กาเซลล์ดามา อาศัยในแอฟรกิ า และทะเลทรายซาฮารา่ เพอื มาหาอาหารในฤดแู ล้ง และถกู จดั เปนชนดิ สตั วป์ าประเภทแอนทีโลป

สั ต ว์ ป า ที กํา ลั ง ใ ก ล้ จ ะ สู ญ พั น ธุ์ 06 ค้างคาวหางโผล่ เซชิลเลนสิส อยู่ในซอกหินในถําบนหมู่เกาะเซชิลเลส ทางเหนือของมหาสมุทรอินเดียของ มาดากัสกา มีประมาณ 50-100 ตัว 07 อัลลิเกเตอร์จีน เปนชนิดสัตว์ปาและซากของสัตว์ปาทีห้าม นาํ เข้าหรือส่งออก มีถินกําเนิดจากประเทศ จีน ตัวเล็กอาศัยในช่องทีขุด ทีลุ่มนาํ แยงซ ปจจุบัน เหลือเพียง 150 -200 ตัว 08 แรดดํา แบ่งเปน 5 ชนิด คือจากแถบแอฟริกา ได้แก่ แรดขาวกับแรดดาํ และจากแถบ เอเชีย ได้แก่ แรดอินเดีย แรดชวา และ แรดสองนอ หรือ กระซู่ 09 ทามารินลาย พบทีพืนทีเล็กทางตะวันตกเฉียงของ บราซิล อาศัยบนต้นไม้ ใบหน้าปราศจาก ขน หูมีสีตังแต่สีเทา จนดาํ 10 เต่ามะเฟอง เปนเต่าทีมขี นาดใหญท่ ีสดุ ในโลก อาศัยในมหา สมุทรแอตแลนทิก แปซฟิ ก และ อินเดยี พวก มนั เดนิ ทางขา้ มไปมาเพอื หาอาหารและทํารงั กระดอง มลี ักษณะเปนหนงั หนานมิ ไมเ่ ปน เกล็ดแขง็ เปนรปู ทรงยาวรี กินพชื แมงกะพรนุ และสตั วน์ าํ ขนาดเล็กเปนอาหาร

SAVE THE WILD ANIMALS ก า ร อ นุ รั ก ษ์ สั ต ว์ ป า ส ง ว น Conservation of wildlife reserves 1. การอนุรกั ษ์สัตว์ปาสงวน กําหนดกฎหมายและวิธีการ 4. การอนุรกั ษ์สัตว์ปาสงวน การปองกันไฟปา ไฟปานอก ปฏิบัติอย่างเครง่ ครดั เพือให้ปาเปนแหล่งอาหารทีอยู่ จากจะทําให้ปาไม้ถูกทําลายแล้วยังเปนการทําลายแหล่ง อาศัยของสัตว์ปา อาหารและทีอยู่อาศัยของสัตว์ปา 2. การอนุรกั ษ์สัตว์ปาสงวน การรณรงค์เผยแพร่ 5. การอนุรกั ษ์สัตว์ปาสงวน การปลูกฝงการให้ความรกั ประชาสัมพันธ์ ให้เห็นความสาํ คัญในการอนุรกั ษ์สัตว์ปา และเมตตาต่อสัตว์อย่างถูกวิธีสัตว์ปาทุกชนิดมีความรกั อย่างจรงิ จัง ชีวิตเหมือนกับมนุษย์ การฆ่าสัตว์ปา การนาํ สัตว์ปามา เลียงไว้ในบ้านเปนการทรมานสัตว์ปา ซึงมักไม่มีชีวิตรอด 3. การอนุรกั ษ์สัตว์ปาสงวน การไม่ล่าสัตว์ปา ไม่ควรมี การล่าสัตว์ปาทุกชนิด ทังสัตว์ปาสงวนสัตว์ปาคุ้มครอง 6. การอนุรกั ษ์สัตว์ปาสงวน การเพาะพันธุ์เพิมสัตว์ปาที เพราะปจจุบันสัตว์ปาทุกชนิดได้ลดจาํ นวนลงอย่างมาก กําลังจะสูญพันธุ์หรอื มีจาํ นวนน้อยลง ควรมีการเพาะ ทําให้ขาดความสมดุลทางธรรมชาติ พันธุ์ขยายพันธุ์ให้มีจาํ นวนเพิมขึน เพือเปนการทดแทน และเรง่ ให้มีสัตว์ปาเพิมมากขึน

ตัวอยา งสัตวส ูญพนั ธ 1.นกพิราบพาสเซนเจอร์ (Passenger Pigeon) 2.แรดดาํ ตะวนั ตก (Western black rhinoceros) 3.ควากกา (Quagga) 4.เพียงพอนทะเล (Sea Mink)

5.เสอื แทสเมเนีย (Tasmanian tiger) 6.นกโดโด (Dodo) 7.นกอ๊อคใหญ่ (Great Auk) 8.เสอื โคร่งชวา (Javan Tiger) 9.ววั ทะเลสเตลเลอร์ (Steller’s sea cow)

อางองิ https://sites.google.com/site/bv540105/page4 https://sites.google.com/site/seesadesing/sahe tu-thi-thahi-satw-pa-suy-phanthu https://sites.google.com/site/satwpasngwn1123 3/sara-kar-reiyn-ru-withyasastr https://sites.google.com/site/karxnurakssatwp asngwn/withi-kar-xnuraks-satw-pa-sngwn https://ngthai.com/animals/15271/fantastic- extinction-beast/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook