Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Accounting Inter

Accounting Inter

Published by duangdao2558, 2021-07-14 05:54:38

Description: Accounting Inter

Search

Read the Text Version

พิมพ์ครง้ั ท่ี 2 หลกั การบญั ชเี บ้ืองตน้ (Fundamental Accounting Principles) องั คณา นตุ ยกุล วิไล ศรธี นางกูล ประทินพร แรมวลั ย์

เอกสารประกอบการสอน หลกั การบญั ชีเบอื้ งตน (ปรบั ปรุงใหม) ผูเรยี บเรียง : รองศาสตราจารยองั คณา นุตยกุล ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.วิไล ศรีธนางกลุ ผชู ว ยศาสตราจารยประทนิ พร แรมวลั ย พมิ พค รงั้ ที่ 1 : จาํ นวน 105 เลม สิงหาคม 2554 พิมพค รง้ั ท่ี 2 : จาํ นวน 250 เลม ธนั วาคม 2554 ออกแบบปก : โครงการสวนดุสติ กราฟฟค ไซท พิมพท ่ี : หา งหนุ สวนจาํ กัด เอม็ แอนด เอ็ม เลเซอรพ รนิ้ ต โทร : 0-2215-3999

คาํ นํา เอกสารประกอบการสอนเลมนี้ ไดเรียบเรียงข้ึนเพื่อใชประกอบการเรียนการสอน วิชา 3821302 หลักการ บัญชีเบื้องตน(Fundamental Accounting Principles) 3(2-2-5) ตามหลักสูตรบริหารธุรกิจ(ปรับปรุงพ.ศ.2552) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต โดยมีวัตถุประสงค เพ่ือใหนักศึกษาและผูสนใจโดยทั่วไปสามารถศึกษาคนควาและ ฝกฝนไดดวยตนเอง เกิดความรูความเขาใจใน หลักการและวิธีทางการบัญชีตามวงจรการบัญชี สําหรับกิจการ บรกิ าร กจิ การพณชิ ยกรรม และกิจการอุตสาหกรรม ตลอดจนหลกั การวิเคราะหขอ มูลเบื้องตนจากงบการเงิน ไดเปน อยางดี เนื้อหาในเอกสารประกอบการสอนเลมน้ี ประกอบดวย ลักษณะท่ัวไปของการบัญชี การจัดทํางบการเงิน หลกั การและวธิ ีทางการบญั ชตี ามวงจรการบญั ชี การบัญชสี าํ หรบั กิจการบริการ การบญั ชีสาํ หรับกิจการพณิชยกรรม การบัญชีสําหรบั กจิ การอุตสาหกรรม การวิเคราะหง บการเงนิ และการวเิ คราะหทนุ ดําเนนิ งานและเงนิ สด ในการเรยี บเรียงเอกสารประกอบการสอนนี้ คณะผเู รยี บเรยี งไดนําประสบการณจากการสอนและการศึกษา คนควา หาขอ มูลจากแหลง ตางๆท้ังภาครัฐและเอกชนโดยเฉพาะอยางย่ิงทานเจาของเอกสาร ตํารา หนังสืออางอิง ที่ ผูเขียนใชในการคนควาอางอิง ทําใหสามารถเรียบเรียงเอกสารประกอบการสอนเลมน้ีไดจนสมบูรณ จึง ขอขอบพระคุณทานเจาของตํารา บริษัท สํานักพิมพท่ีใชในการอางอิงเปนอยางสูง ทานเปนผูหน่ึงท่ีทําใหวงวิชาการ ขยายแผไพศาล คณะผเู รียบเรยี งหวงั เปน อยา งยง่ิ วา เอกสารประกอบการสอนหลักการบัญชีเบื้องตน(Fundamental Accounting Principles) เลม นจ้ี ะเปนประโยชนต อ นักศึกษาและผสู นใจโดยทัว่ ไปตามวตั ถุประสงคขางตน อังคณา นตุ ยกลุ วิไล ศรธี นางกูล ประทินพร แรมวัลย 2 พฤษภาคม 2552

คํานาํ พมิ พค รั้งที่ 2 ในการจัดพิมพครั้งน้ี ผูเขียนไดปรับปรุงเน้ือหาในแตละบทใหทันสมัยขึ้นเพื่อใหสอดคลองกับการ เปลยี่ นแปลงของมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ขอขอบพระคณุ ผูบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ที่ใหโ อกาสและสนับสนุนในการจัดทําตําราวิชาการ เลมนี้ และขอบพระคุณคณาจารยหลักสูตรการบัญชีทุกๆทานท่ีไดใหคําแนะนําชวยเหลือใหตําราเลมนี้เสร็จสิ้น สมบูรณ ผูเขียนหวังเปนอยางย่ิงวา ตํารา หลักการบัญชีเบื้องตน(Fundamental Accounting Principles (ฉบับ ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554) เลมน้ีจะเปนประโยชนตอผูศึกษาและผูสนใจโดยท่ัวไป และหากมีขอเสนอแนะโปรดติดตอไดท่ี [email protected] จกั ขอบพระคุณยิ่ง อังคณา นตุ ยกลุ วไิ ล ศรธี นางกลู ประทนิ พร แรมวลั ย 31 พฤษภาคม 2554

คาํ อธิบายรายวชิ า 3821302 หลักการบญั ชเี บื้องตน (Fundamental Accounting Principles) 3(2-2-5) ศึกษาความสําคัญของขอมูลทางการบัญชี บทบาทหนาที่ของหนวยงานบัญชีในองคกร หลักการและวิธีทางการบัญชีตามวงจรการบัญชี การบัญชีสําหรับกิจการบริการ กิจการพณิชยกรรม และกิจการอุตสาหกรรม การบัญชีภาษีมูลคาเพิ่ม การจัดทํางบการเงินและการวิเคราะหขอมูล เบอ้ื งตน จากงบการเงิน



สารบัญ หนา (1) คาํ นาํ สารบัญ (5) สารบัญภาพ สารบญั ตาราง (9) บทที่ 1 ลกั ษณะท่ัวไปของการบญั ชี (11) ประวตั ิของการบัญชี ความหมายของการบัญชี 1 ความหมายของการทําบัญชี 1 ผูม หี นาที่จัดทาํ บัญชี 2 ผูทาํ บัญชี 3 ประโยชนของขอ มลู ทางการบัญชี 3 ประเภทของการบญั ชี 4 ประเภทของกิจการ 4 แมบทการบญั ชี 5 สถาบันที่เก่ียวของกับวิชาชีพบัญชี 5 จรยิ ธรรมของผูประกอบวิชาชีพบัญชี 7 งบการเงิน 13 ความหมายของงบการเงนิ 13 งบแสดงฐานะการเงิน 14 งบกาํ ไรขาดทนุ เบด็ เสร็จ 15 งบแสดงการเปล่ียนแปลงในสว นของเจาของ 16 งบกระแสเงินสด 24 หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน 33 สรปุ 35 แบบฝกหัด 38 บทที่ 2 หลักการบันทึกบัญชี 40 หลกั การบันทึกบญั ชี 42 แนวคดิ ทางการบัญชี 45 รายการคา 45 เอกสารประกอบการบนั ทกึ บญั ชี 46 สมการบญั ชี 46 47 48

บทที่ 3 การวิเคราะหร ายการคากับสมการบัญชี 49 บทที่ 4 หลักการบญั ชีคู 54 ผงั บญั ชี 61 การบนั ทกึ รายการในสมุดบญั ชีและการจดั ทํางบทดลอง 64 ประเภทของสมดุ บัญชี 65 การบนั ทกึ รายการคาในสมดุ รายวนั ทั่วไป 67 การบันทกึ รายการคาในสมุดบัญชแี ยกประเภทท่ัวไป 74 งบทดลอง 84 สรุป 88 แบบฝก หัด 89 การวดั ผลการดาํ เนนิ งาน 99 เกณฑท่ใี ชในการบันทกึ บญั ชี 99 การปรบั ปรงุ รายการบัญชี 99 การแกไ ขขอ ผิดพลาดทางการบัญชี 130 งบทดลองหลงั การปรับปรงุ 136 กระดาษทําการ 138 รายการปด บัญชี 145 รายการเปดบัญชี 154 การโอนกลบั รายการ 155 สรปุ 157 แบบฝก หดั 158 การบัญชสี ําหรบั กจิ การซื้อขายสินคา 165 การซ้อื และการขายสินคา 165 เอกสารที่เกยี่ วกับการซื้อขายสนิ คา 166 ราคาทุนสินคา 170 คา ขนสง 170 สวนลด 172 การรับคนื สนิ คาและสวนลด 174 การสง คนื สินคา และสวนลด 174 ภาษีมลู คาเพ่มิ สําหรบั กจิ การซ้อื ขายสนิ คา 174 การบันทึกบัญชีเก่ยี วกบั สินคา คงเหลือ 175 ระบบบันทึกบัญชีสินคา คงเหลือแบบตอ เนื่อง 175 ระบบบนั ทึกบญั ชสี ินคา คงเหลือเมอื่ ส้นิ งวด 180 3821302 หลักการบัญชเี บือ้ งตน (Fundamental (4) Principles) Accounting

บทที่ 5 รายการท่ีควรพจิ ารณานบั เปนสินคา คงเหลอื 240 บทท่ี 6 บทที่ 7 การคาํ นวณมลู คา สินคา คงเหลอื 241 สรุป 246 แบบฝก หัด 248 สมดุ รายวนั เฉพาะ 257 ความหมายของสมดุ รายวนั เฉพาะ 257 ประเภทของสมุดรายวนั เฉพาะ 258 สมดุ บญั ชีแยกประเภทยอย 258 การบันทกึ รายการในสมดุ รายวันเฉพาะ 260 สมดุ รายวันซื้อ 261 สมดุ รายวนั สง คืนและสวนลด 265 สมดุ รายวันขาย 270 สมดุ รายวันรับคืนและสวนลด 274 สมุดรายวันรบั เงินหรอื สมดุ เงนิ สดรับ 279 สมุดรายวนั จายเงิน หรอื สมุดเงินสดจา ย 285 สรปุ 292 แบบฝกหัด 294 การบัญชสี าํ หรบั กิจการอุตสาหกรรม 301 ความหมายของการบญั ชีสาํ หรับกจิ การอตุ สาหกรรม 301 งบการเงินของกิจการอตุ สาหกรรม 301 การดําเนนิ งานของกจิ การอุตสาหกรรม 306 ลกั ษณะของการผลติ 308 สวนประกอบของตนทุนการผลิต 308 สนิ คา คงเหลือของกิจการอตุ สาหกรรม 309 การบันทึกบัญชสี าํ หรับกิจการอุตสาหกรรม 310 สรุป 329 แบบฝกหดั 330 การวเิ คราะหงบการเงิน 337 ความหมายของการวิเคราะหงบการเงิน 337 เทคนคิ และวิธกี ารวิเคราะหงบการเงินของธรุ กจิ 337 การวิเคราะหอัตรารอยละตอยอดรวม หรอื การวิเคราะหแนวต้ัง 337 การวเิ คราะหแ นวโนม หรือการวิเคราะหแ นวนอน 341 การวิเคราะหง บการเงนิ โดยใชอ ัตราสว นทางการเงิน 343 3821302 หลกั การบญั ชเี บ้อื งตน (Fundamental (5) Principles) Accounting

บทที่ 8 สรุป 357 แบบฝก หดั 358 การวเิ คราะหเงนิ ทุนดําเนนิ งานและเงินสด 361 361 ความหมายของงบแสดงการหมนุ เวยี น ความหมายของเงินทุนดาํ เนินงาน 361 ประโยชนของการวิเคราะหเงินทนุ ดาํ เนนิ งาน 362 งบแสดงการเปลี่ยนแปลงเงินทุนดาํ เนนิ งานสทุ ธิ 362 งบแสดงแหลง ที่มาและการใชไ ปของเงนิ ทุนดําเนินงาน 362 งบกระแสเงนิ สด 371 ประโยชนของงบกระแสเงนิ สด 371 รูปแบบการรายงานงบกระแสเงินสด 380 การจดั ทํางบกระแสเงินสด 383 สรุป 397 แบบฝกหัด 398 บรรณานกุ รม 403 ภาคผนวก 407 3821302 หลกั การบัญชเี บ้ืองตน (Fundamental (6) Principles) Accounting

สารบัญภาพ ภาพที่ หนา 1.1 แผนภูมิแมบทการบญั ชี สําหรับการจดั ทาํ และนําเสนองบการเงิน 12 2.1 แผนภมู ิวงจรบัญชี 58 5.1 แผนภูมแิ สดงความสมั พนั ธของบญั ชีแยกประเภทท่ัวไปและบัญชีแยกประเภทยอย 256 5.2 แผนภมู ิข้นั ตอนการทาํ บัญชขี องกจิ การทีใ่ ชสมุดรายวนั เฉพาะ 258 6.1 แสดงวงจรการบันทกึ ตน ทนุ การผลติ 307 6.2 แสดงวงจรการบันทึกตน ทุนการผลติ ที่เกดิ ขน้ึ ในงวดปจ จุบนั 325 8.1 สรปุ กระแสเงินสดที่เกิดขึ้นในแตละงวดการดาํ เนินงาน 380 8.2 แสดงการเปล่ยี นแปลงของบัญชเี งนิ สดเมื่อหน้ีสนิ และสวนของเจาของ 385 เปลย่ี นแปลง 8.3 แสดงการเปลย่ี นแปลงของบัญชีเงินสดเม่อื สินทรัพยอ ่ืนๆเปลยี่ นแปลง 386

(10)

สารบัญตาราง ตารางที่ สรุปการวิเคราะหรายการคา ของรา นภูมใิ จบริการ หนา 2.1 45 3.1 แสดงการบันทกึ บญั ชีเปรยี บเทียบการตัดจําหนายหนี้สูญตามหลักเกณฑกฎหมาย 117 3.2 ภาษอี ากรและตามหลักเกณฑทางบญั ชี 121 3.3 แสดงตารางแยกอายุลูกหน้ี 122 3.4 แสดงตารางแยกอายุลกู หนี้ 125 4.1 แสดงการบันทึกการแกไขขอ ผดิ พลาดทางการบัญชี 176 แสดงเปรียบเทียบการบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีสินคาแบบตอเน่ืองและระบบ 4.2 สินคา เมื่อสิ้นงวด 237 6.1 แสดงการคํานวณราคาทนุ สินคา วธิ ีถัวเฉลย่ี เคล่อื นที่ 307 6.2 แสดงขัน้ ตอนการดําเนนิ งานของกิจการอตุ สาหกรรม 319 แสดงการบนั ทกึ บัญชีสนิ คาคงเหลอื ในสมดุ รายวันท่ัวไปเปรยี บเทยี บ 2 วิธี



บทที่ 1 ลกั ษณะท่วั ไปของการบญั ชี การบัญชี (accounting) เปนงานบริการอยางหนึ่งท่ีมีบทบาทสําคัญตอการดําเนินงานของหนวยงาน ธุรกิจ (business enterprise) ทั้งหนวยงานที่มีวัตถุประสงคในการแสวงหากําไร (profit organization) และ หนวยงานที่มิไดแสวงหากําไร (nonprofit organization) แตมุงเนนการบริการอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการ บัญชีจะชว ยใหข อมูลพื้นฐานสําหรับการวางแผน การควบคุม และการตัดสินใจในการเลือกแนวทางปฏิบัติ เพ่ือให สามารถดําเนินงานไดบรรลุตามเปาหมายของหนวยงาน ขอมูลทางการบัญชีจะแสดงอยูในรูปของตัวเลขท่ีสะทอน เหตกุ ารณทีเ่ กิดขนึ้ แลวจากกจิ กรรมตา ง ๆ ของหนว ยงาน โดยการบัญชีจะเปนแหลงรวบรวมขอมูลอยางมีระบบและให ขอมูลที่เปนประโยชนแกผูใชขอมูลทั้งภายในและภายนอกหนวยงานสามารถแสดงออกมาในรูปแบบของรายงานท่ี แตกตางกันไปตามวัตถุประสงคของใชขอมูลทางการบัญชี ดังนั้นไมวาหนวยงานจะต้ังขึ้นโดยมีวัตถุประสงคใดผูใช ประโยชนของขอมูลทางการบัญชีท้ังภายในกิจการและภายนอกกิจการ ซ่ึงตองการวัดคาทางการเงินของหนวยงานน้ัน ๆ จะตองอาศัยขอมูลทางการบัญชีท้ังสิ้น การบัญชีจึงถือไดวาเปนเครื่องมือสําคัญในการวัดคาความสําเร็จและความ ลมเหลวของหนวยงาน โดยเฉพาะหนวยงานธุรกิจควรมีความรูเก่ียวกับการบัญชีอยางเพียงพอที่จะใชในการตัดสินใจ ทางธรุ กิจได ประวตั ขิ องการบัญชี การบัญชีไดกําเนิดขึ้นควบคูกับการประกอบธุรกิจการคาในอดีต โดยมีพัฒนาการอยางตอเน่ืองตาม สภาพแวดลอ มทเ่ี ปลี่ยนไปจากการคนพบหลักฐานในชวงแรกประมาณ 3,000 ปกอนคริสตศักราช จนถึงศตวรรษท่ี 13 พบวา การจดบันทึกรายการบัญชี เร่ิมต้ังแต สมัยอียิปต บาบิโลเนีย กรีก และโรมัน ซึ่งพบหลักฐานการจดบันทึก บนแผนดินเหนียว และบนแผนขี้ผึ้ง โดยบันทึกขอมูลทางการบัญชีเปนแผนแสดงรายรับ แผนแสดงรายจาย แผนแสดง การผลติ แผนแสดงหนีส้ นิ รวมท้ังบนั ทกึ สินคาคงเหลือปลายงวด รายงานประจาํ เดือน และรายงานประจําป การบันทึก รายการบัญชีดังกลาว บันทึกไวท้ังสองดาน คือ ดานรายรับแสดงการรับเงินสดจากใคร และดานรายจายแสดงการ จายเงินสดใหใคร ตอมาในปลายศตวรรษที่ 13 เร่ิมพบหลักฐานการจดบันทึกบัญชีตามหลักการบัญชีคู (double entry book keeping) ที่เมืองฟลอเรนซ ประเทศอิตาลี แตหลักฐานที่แสดงการบันทึกรายการบัญชีคูที่สมบูรณ พบที่ เมืองเจนัว ประเทศอิตาลี ในป ค.ศ. 1340 ซึ่งเปนศูนยกลางทางการคาในยุคที่ประเทศอิตาลีมีความ เจริญรุงเรือง ในป ค.ศ. 1494 ฟรา ลูกา ปาซิโอลิ (Fra Luca Pacioli) ชาวอิตาเลียนไดเขียนหนังสือเชิง คณิตศาสตรเลมหนึ่ง ชื่อ “The Summa de Arithmetica Geometria Proportionate Proportionalita” ซึ่งมีบท หนึ่งเปนเรื่องเกี่ยวกับหลักการบัญชีคู โดยใชสมการพีชคณิตเปนพื้นฐานวาสินทรัพยเทากับหนี้สินบวกสวนของ เจาของและผลบวกของเดบิตเทากับผลบวกของเครดิต ซ่ึงถือเปนแนวคิดของหลักการบัญชีคูท่ีสําคัญไดใชมาจนถึง ปจจบุ ัน และ ฟรา ลูกา ปาซโิ อลิ ไดรบั การยกยองเปนบดิ าแหงการบญั ชี (เมธากลุ เกยี รติกระจายและศิลปพร ศรีจ่ันเพชร, 2544, หนา 1 – 4) แนวคิดทางการบัญชีไดพัฒนาปรับเปลี่ยนตามสภาพสังคมและเศรษฐกิจที่ซับซอนมากข้ึน จาก ผลกระทบการปฏิวัติอุตสาหกรรมในประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกาในศตวรรษท่ี 19 และตนศตวรรษที่ 20 ทําใหเกิด การพัฒนาการทางการบัญชีในเร่ืองตาง ๆ เชน การประกอบการคาเปล่ียนจากธุรกิจเจาของคนเดียวมาเปนหาง

หุนสวนและบริษัทจํากัด แนวคิดทางการบัญชีจากการใชทฤษฎีความเปนเจาของ (ownership theory) เปลี่ยนเปน ทฤษฎีความเปนหนวยงาน (entity theory) แยกเปนอิสระจากเจาของหรือผูลงทุน มีการดําเนินงานตอเนื่อง (going concern) และวัดผลการดําเนินงานเมื่อสิ้นงวดระยะเวลาหนึ่ง ๆ แทนที่จะวัดผลการดําเนินงานเมื่อการคา สิ้นสุดลง และในชวงดังกลาวประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกา เริ่มกอตั้งสมาคมวิชาชีพซึ่งมีอิทธิพลอยางมากตอ วิวัฒนาการทางการบัญชี ประเทศไทยก็ไดรับอิทธิพลจากสมาคมวิชาชีพของประเทศดังกลาวจนถึงปจจุบัน การบัญชีในประเทศไทยปรากฏหลักฐานมีการตราพระราชบัญญัติลักษณะเขาหุนสวน และบริษัท รัตนโกสินทรศก 130 (พ.ศ. 2455) กาํ หนดใหบริษัทจํากัดตองจัดทําบัญชี และมีผูสอบบัญชีตรวจสอบ จนกระทั่งมี การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ซึ่งมีผลตอการตื่นตัว ทางเศรษฐกิจของประเทศมาก ในป พ.ศ. 2482 รัฐบาลไดออกประมวลรัษฎากรมาบังคับใชจัดเก็บภาษีเงินไดนิติบุคคลจากกําไรสุทธิสําหรับป และจัดเก็บภาษีเงิน ไดบุคคลธรรมดาโดยประเมินจาก ยอดรายรับหรือรายได และมีการตราพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2482 กําหนดใหผูประกอบการธุรกิจตองจัดทําบัญชีเพื่อประโยชนในการจัดเก็บภาษีตามประมวลรัษฎากร โดยบังคับให หางรานตาง ๆ จัดทาํ บัญชี 5 เลม ประกอบดวย 1. บัญชีทรัพยสินรวมสินคาในครอบครอง 2. บัญชีเงินสด 3. บัญชีลูกหน้ี และบัญชีเจาหน้ี 4. บัญชีรายวันซื้อ และรายวันขาย 5. บัญชีแยกประเภทรายได และคาใชจาย นอกจากน้ันการจัดทําบัญชีตองบันทึกเปนภาษาไทย ถาเปนภาษาตางประเทศจะตองกํากับ ภาษาไทยไว และจัดทาํ งบการเงินอยางนอยปละ 1 ครั้ง ความหมายของการบญั ชี ความหมายของคาํ วา “การบัญชี” ตามพจนานุกรม หมายถึง ทะเบียนสมุด หรือกระดาษที่จด รายช่ือและจํานวน สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตของสหรัฐอเมริกา (The American Institute of Certified Public Accountants) เรียกยอ ๆ วา “AICPA” ไดกลาวเก่ียวกับ คาํ วา “การบัญชี” ไว ดังนี้ (อางถึงใน เมธากุล เกียรติกระจายและศิลปพร ศรีจั่นเพชร, 2544, หนา 31) “Accounting is the art of recording, classifying and summarizing in significant manner and in terms of money transactions and events which are, in part at least, of a financial character and interpreting the results there of” จากการแปลความขางตน “การบัญชีเปนศิลปะของการนํารายการหรือเหตุการณที่เกี่ยวกับการเงิน มาจดบันทึกและจัดใหเปนหมวดหมูพรอมท้ังสรุปผลในรูปจํานวนเงิน ตลอดจนการวิเคราะหความหมายจากผลนั้น ดวย” สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย (2538, หนา 4) ไดใหคําจํากัดความ ของการบญั ชไี วดังนี้ “การบัญชี คือ ศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จําแนกและทําสรุปขอมูลอันเกี่ยวกับเหตุการณ 2 3821302 หลกั การบญั ชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles)

ทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ผลงานขั้นสดุ ทา ยของการบญั ชี คือ การใหขอ มูลทางการเงินซึ่งเปนประโยชนแกบุคคลหลาย ฝายและผูทสี่ นใจในกิจกรรมของกจิ การ จากคาํ จาํ กัดความดังกลา ว สามารถสรปุ สาระสาํ คัญไดด งั น้ี 1. การจดบันทึก (recording) เปนการจดบันทึกรายการหรือเหตุการณเกี่ยวกับการเงินตามลําดับ วันที่ 2. การจําแนก (classifying) เปนการนําขอมูลที่จดบันทึกไวมาจําแนกหรือจัดประเภทรายการ ออกเปนหมวดหมู เชน หมวดสินทรัพย หน้ีสิน สวนของเจาของ รายได และคาใชจาย 3. การสรุปผล (summarizing)เปนการนําขอมูลที่จําแนกไวเปนหมวดหมูมาสรุปจัดทําไวในรูปของ งบการเงินเมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่งประกอบดวยงบดุล งบกําไรขาดทุน งบกระแสเงินสด งบแสดงการ เปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของ และหมายเหตุประกอบงบการเงิน 4. การแปลความหมาย (interpreting) เปนการนํางบการเงินมาวิเคราะหและสรุปแปลความหมาย หรือเปรียบเทียบรายการที่สําคัญของเหตุการณในปปจจุบันกับในอดีตและเพื่อคาดการณเหตุการณในอนาคต เพ่ือใหผูใชงบการเงินนาํ ไปพิจารณาตัดสินใจ ความหมายของการทาํ บัญชี การทาํ บัญชี (book keeping) หมายถึง “การบันทึกรายการทางบัญชีที่เกิดข้ึน เพ่ือเปนฐานในการ จัดทํารายงานทางการเงิน” (สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย, 2538, หนา 24) หรือ กลาวไดวาเปนการบันทึกรายการ หรือขอมูลทางการบัญชีในสมุดบัญชีของกิจการตามที่ไดวางระบบบัญชีไว เรียบรอยแลว เชน บันทึกรายการในสมุดรายการขั้นตน ไดแก สมุดรายวันเฉพาะ สมุดรายวันทั่วไป และผาน รายการจากสมุดรายวันไปสมุดบัญชี ข้ันปลาย คือ บัญชีแยกประเภท การบันทึกรายการปรับปรุง การปดบัญชี และการจัดทํางบการเงิน ผูที่มีหนาที่จัดทาํ ดังกลาว เรียกวา ผูทาํ บัญชี (bookkeeper) ความแตกตา งของการบญั ชกี ับการทาํ บญั ชี เนื่องจากการบัญชีกับการทําบัญชีมีความเกี่ยวของกับขอมูลทางการบัญชีเชนเดียวกัน แตถา พิจารณาจากลักษณะและขอบเขตของงานแลวจะเห็นไดวาการทําบัญชีจะเปนสวนหนึ่งของการบัญชี กลาวคือ ผูทําหนาที่เกี่ยวกับการบัญชีเรียกวา นักบัญชี (accountant) จะทําหนาที่ที่มีขอบเขตงานกวางกวางานของผูทํา บัญชี โดยนักบัญชีนอกจากจะจดบันทึกการบัญชีในสมุดรายวันขั้นตน สมุดรายวันขั้นปลาย และจัดทํางบการเงิน แลว นักบัญชียังสามารถออกแบบและวางระบบบัญชี กําหนดนโยบายบัญชี วิเคราะหและแปลความหมายขอมูล ของงบการเงิน และตรวจสอบบัญชี ตลอดจนจัดทาํ รายการเฉพาะเร่ืองทางการบัญชีตามที่ผูบริหารมอบหมาย ผมู ีหนา ทจี่ ดั ทาํ บัญชี ผูมีหนาที่จัดทําบัญชี หมายถึง ผูมีหนาที่จัดใหมีการทําบัญชีตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่งกาํ หนดผูมีหนาท่ีจัดทาํ บัญชีในประเทศไทยไว ดังนี้ 1. หางหุนสวนจดทะเบียน 2. บริษัทจาํ กัด 3 3821302 หลกั การบญั ชีเบือ้ งตน (Fundamental Accounting Principles)

3. บริษัทมหาชนจํากัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย 4. นิติบุคคลท่ีต้ังข้ึนตามกฎหมายตางประเทศท่ีประกอบธุรกิจในประเทศไทย 5. กิจการรวมคาตามประมวลรัษฎากร 6. สถานที่ประกอบการธุรกิจเปนประจําในสถานที่หลายแหงแยกจากกัน ใหผูมีหนาที่รับผิดชอบใน การจัดการธุรกิจในสถานท่ีน้ัน เปนผูมีหนาที่จัดทําบัญชี 7.บุคคลธรรมดา หางหุนสวนสามัญตามท่ีรัฐมนตรีประกาศกาํ หนด ผูทําบัญชี ผูทําบัญชีตามความหมายของพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 หมายถึง ผูรับผิดชอบในการทําบัญชี ของผูมีหนาที่จัดทําบัญชี ไมวาจะกระทําในฐานะเปนลูกจางของผูมีหนาที่จัดทําบัญชีหรือไม โดยผูมีหนาท่ีจัดทําบัญชี ตองจัดใหมีผูทําบัญชี ซึ่งเปนผูมีคุณสมบัติและเง่ือนไขตามท่ีอธิบดีกรมทะเบียนการคา ประกาศกําหนดคุณสมบัติและ เง่ือนไขของการเปนผูทาํ บัญชี พ.ศ. 2543 ซงึ่ มผี ลบังคบั ใชตง้ั แตวนั ท่ี 10 สงิ หาคม 2544 ดังตอ ไปน้ี 1. ผูทําบัญชีมีคุณวุฒิไมต่ํากวาอนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ทางการบัญชี หรือเทียบเทา จากสถาบันการศึกษาซ่ึงทบวงมหาวิทยาลัย คณะกรรมการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) หรือ กระทรวงศึกษาธิการเทียบวาไมตํ่ากวาอนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ทางการบัญชี สามารถ จัดทําบัญชีใหหางหุนสวนจดทะเบียน และบริษัทจํากัดท่ีจัดต้ังขึ้นตามกฎหมายไทย ซ่ึง ณ วันปดบัญชีในรอบปบัญชีท่ี ผา นมา มีทนุ จดทะเบียนไมเ กนิ 5 ลา นบาท มีสนิ ทรัพยร วมไมเ กนิ 30 ลานบาทและมรี ายไดร วมไมเ กนิ 30 ลา นบาท 2. ผูทําบัญชีมีคุณวุฒิไมต่ํากวาปริญญาตรีทางการบัญชีหรือเทียบเทาจากสถาบันการศึกษาซ่ึง ทบวงมหาวิทยาลัย หรือคณะกรรมการขาราชการพลเรือน(ก.พ.) หรือกระทรวงศึกษาธิการ เทียบวาไมต่ํากวาปริญญาตรี ทางการบัญชสี ามารถจัดทําบญั ชใี หแ กกจิ การ ดังตอ ไปน้ี 2.1 หางหุนสวนจดทะเบียน และบริษัทจํากัดที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ซึ่งณ วันปดบัญชีใน รอบปบัญชีท่ีผานมามี ทุนจดทะเบียนหรือสินทรัพยรวมหรือรายไดรวมรายการใดรายการหนึ่งเกินกวาท่ีกําหนดไว 2.2 บริษัทมหาชนจาํ กัดท่ีจัดต้ังข้ึนตามกฎหมายไทย 2.3 นิติบุคคลท่ีต้ังข้ึนตามกฎหมายตางประเทศท่ีประกอบธุรกิจในประเทศไทย 2.4 กิจการรวมคาตามประมวลรัษฎากร 2.5 ผูประกอบธุรกิจธนาคาร เงินทุนหลักทรัพย เครดิตฟองซิเอร ประกันชีวิตประกันวินาศภัย 2.6 ผูประกอบธุรกิจ ซึ่งไดรับการสงเสริมการลงทุนตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการลงทุน ประโยชนของขอ มลู ทางการบญั ชี ประโยชนข องขอ มูลทางการบัญชีขน้ึ อยกู บั วัตถุประสงคข องผใู ชขอ มลู ซึ่งผูใชขอมูลทางบัญชีจําแนกได 2 ประเภท คอื บุคคลภายในกจิ การและบคุ คลภายนอกกจิ การ ดังน้นั ประโยชนของขอมูลทางการบัญชมี ีไดด งั ตอ ไปนี้ 1. ประโยชนของขอมูลทางการบัญชีที่มีตอบุคคลภายในกิจการ ซึ่งไดแก ผูบริหาร และฝายจัดการ และพนักงาน มีดังน้ี 1.1 เปนขอมูลที่เปนประโยชนตอการวางแผน ควบคุม และการตัดสินใจ 4 3821302 หลกั การบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles)

1.2 ทําใหทราบถึงเหตุการณและสถานการณทางการเงินที่แทจริงของกิจการใหมากที่สุด และ รวดเร็วท่ีสุด 1.3 ทําใหทราบขอมูลเกี่ยวกับความมั่นคงและความสามารถในการทํากําไรของกิจการ เพื่อใช ประเมินความสามารถในการจายคาตอบแทน บาํ เหน็จรางวัล สวัสดิการ และโอกาสการจางงาน 2. ประโยชนของขอมูลทางการบัญชีท่ีมีตอบุคคลภายนอกกิจการ ซึ่งไดแก เจาหน้ีของกิจการ ผูถือหุน บคุ คลท่วั ไป และหนว ยงานรฐั บาล มีดังนี้ 2.1 เปนขอ มูลทางการบญั ชใี ชในการประเมินฐานะความม่นั คงทางการเงนิ ของกิจการ 2.2 เปนขอมูลทางการบัญชีใชในการพิจารณาการใหสินเช่ือ การติดตามทวงถามลูกหน้ี ตลอดจน ความสามารถในการชาํ ระหน้ีของลูกหน้ี 2.3 เปน ขอมลู ทางการบญั ชีใชใ นการคํานวณภาษอี ากรใหก ับภาครฐั ประเภทของการบญั ชี เนื่องจากความตองการใชขอมูลการบัญชีมีความแตกตางกันไปตามประเภทของผูใชขอมูลและ วัตถุประสงคของการใชการบัญชีจึงแบงออกได 3 ประเภท (กาญจนา ศรีพงษ, 2545,หนา 1-7 และ 1-8) ดังนี้ 1. การบัญชีการเงิน (financial accounting) เปนการจัดหาขอมูลใหแก บุคคลภายนอก ซึ่งไมมี สวนเก่ียวของในการดําเนินงานขององคกรไดแก ผูลงทุน ผูใหสินเชื่อ หนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของ และผูสนใจทั่วไป ขอมูลการบัญชีเสนอในรูปแบบของงบการเงิน ไดแก งบแสดงฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน โดยมี วัตถุประสงคเพ่ือประโยชนในการตัดสินใจ 2. การบัญชีเพื่อการจัดการ (managerial accounting) เปนการจัดหาขอมูลใหแก ผูบริหารของ องคกร นอกเหนือจากรายงานทางการบัญชีการเงิน การบัญชีเพื่อการจัดการยังใหขอมูลอื่น ๆ ที่จําเปนในการ บริหารจัดการเปนการภายใน ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อประโยชนในการวางแผน และการควบคุมการดําเนินงานใหมี ประสิทธิภาพ 3. การบัญชีภาษีอากร (tax accounting) เกี่ยวของในเรื่องการประเมินภาษี และการวางแผนทาง ภาษี ซึ่งขึ้นอยูกับประเภทของหนวยงาน กรณีหนวยงานรัฐบาล เชน กรมสรรพากรจะจางนักบัญชีภาษีอากรทํา หนาที่จัดเก็บภาษี ประเมินภาษี และตรวจสอบความถูกตองของขอมูลในแบบฟอรมการเสียภาษีของผูเสียภาษี ซึ่ง จะชวยใหองคกรไดรับการลดหยอนในการเสียภาษี เชน การบริจาคเงินใหสาธารณชน สําหรับหนวยงานธุรกิจนัก บัญชีภาษีอากรชวยผูเสียภาษีในการกรอกแบบฟอรม การคํานวณ และวางแผนทางภาษี ประเภทของกิจการ สามารถแบงประเภทของกิจการไดเปน 2 ลักษณะ โดยแบงตามรูปแบบการจัดต้ังกิจการ และแบงตาม รูปแบบการประกอบการ 1. ประเภทของกจิ การตามรูปแบบการจัดต้งั กิจการ แบงเปน 3 ประเภทดังนี้ 1.1 กิจการเจาของคนเดียว (Individual Proprietorships)เปนกิจการที่มีบุคคลคนเดียว เปนผูกอต้ังและเปนเจาของ โดยเจาของจะนําเงินสดและสินทรัพยมาลงทุนในกิจการเพียงผูเดียว เจาของจะเปนทั้งผู ลงทนุ ในกิจการและเปน ผูบรหิ ารดูแลการบริหารในทกุ สว นของกิจการ หากกิจการมีผลกําไรจากการดําเนินงาน กําไรท่ี 5 3821302 หลักการบัญชีเบอื้ งตน (Fundamental Accounting Principles)

เกิดข้ึนนั้นจะเปนของเจาของ แตหากกิจการมีผลขาดทุนหรือมีความรับผิดชอบในหน้ีสิน เจาของจะตองรับผลขาดทุน นั้นท้ังหมดและรับผิดชอบในหน้ีสินทั้งหมดของกิจการ โดยไมจํากัดจํานวนแตเพียงผูเดียว รูปแบบของกิจการ เจาของคนเดียว เชน รานคาปลีก สํานักงานบัญชี อูซอมรถยนต เปนตน 1.2 หางหุนสวน (partnership) เปนกิจการที่มีบุคคลต้ังแตสองคนข้ึนไปรวมกันจัดตั้ง ข้ึนทําสัญญาตกลงเขาเปนหุนสวนทํากิจการรวมกัน มีวัตถุประสงคที่จะแบงปนผลกําไรขาดทุนที่เกิดจากการดําเนิน กิจการตามท่ีไดตกลงกันไวในสัญญา ผูเปนหุนสวนอาจนําเงินสด หรือ สินทรัพย หรือแรงงานมารวมลงทุนในกิจการ การขยายกิจการของหางหุนสวนสามารถทําไดงายกวากิจการเจาของคนเดียว ประเภของหางหุนสวนตามกฎหมาย แบงเปน 2 ประเภท คือ หา งหนุ สว นสามัญ และหา งหนุ สวนจาํ กดั 1.2.1 หางหุนสวนสามัญ (Ordinary Partnership หรือ Unlimited Partnership) เปนหางหุน สว นทผ่ี เู ปนหนุ สว นทกุ คนตอ งรับผดิ ชอบในหนี้สินของหางหุนสวนโดยไมจํากัดจํานวน ดังน้ันการลงทุนของ ผูเปนหุนสวนจะลงทุนดวยสินทรัพย หรือแรงงานก็ได ผูเปนหุนสวนทุกคนมีสิทธิเขามาบริหารงานเอง โดยแบงหนาท่ีกัน ทําหรือแตงตั้งใหหุนสวนคนใดคนหน่ึงเปนผูจัดการ แลวดําเนินการในนามของหางหุนสวน หางหุนสวนสามัญจะจด ทะเบียนเปนนิติบุคคลหรือ ไมจดทะเบียนเปนนิติบุคคลก็ได ถาหางหุนสวนสามัญจดทะเบียนเปนนิติบุคคลจะเรียกวา หา งหุนสวนสามัญนติ บิ ุคคล จัดเปนบุคคลตามกฎหมายแยกตา งหากจากผูเปน หุน สวน 1.2.2 หางหุนสวนจํากัด (Limited Partnership) เปนหางหุนสวนที่ประกอบดวยผู เปนหุนสวน 2ประเภท คือ หุนสวนประเภทจํากัดความรับผิดชอบ และหุนสวนประเภทไมจํากัดความรับผิดชอบ โดยท่ี หนุ สว นประเภทจํากดั ความรับผิดชอบ ผูเปนหุนสวนจะรับผิดชอบในหน้ีสินของหางหุนสวนไมเกินจํานวนเงินที่ตนรับจะ ลงทุนในหางหุนสวน การลงทุนจะตองลงทุนดวยเงินสดหรือสินทรัพยเทานั้น จะลงทุนดวยแรงงานไมได จึงไมมีสิทธิที่จะ เขามาบริหารงานหรือดําเนินการในนามของหางหุนสวน จะมีสิทธิเพียงการออกความเห็นใหคําแนะนําและตรวจสอบการ ดําเนินงานของหางได สว นหุนสวนประเภทไมจ ํากดั ความรับผิดชอบ ผูเปน หุนสว นจะรบั ผดิ ชอบในหน้สี นิ ของหางหุนสวน โดยไมจํากัดจํานวน การลงทุนจะลงทุนดวยเงินสด สินทรัพย หรือแรงงานก็ได และมีสิทธิท่ีจะเขามาบริหารงานหรือ ดําเนินการในนามของหางหุนสวนได หางหุนสวนจํากัดกฎหมายกําหนด ใหจะตองจดทะเบียนเปนนิติบุคคล ถาไมไดจด ทะเบียนกฎหมายใหถ ือวา หา งหนุ สว นน้ันเปน หา งหุน สว นสามญั 1.3 บริษัทจํากัด(corporation) เปนกิจการที่กฎหมายกําหนดใหจดทะเบียนเปนนิติ บุคคล มีบุคคลเริ่มกอตั้งบริษัท ตั้งแต 7 คนขึ้นไป แบงทุนของกิจการออกเปนหุนมีมูลคาหุนละเทา ๆ กัน และนํา ออกจําหนายใหผูที่จะลงทุนซื้อหุนของบริษัท เรียกวา ผูถือหุน (stockholder) ผูถือหุนจะรับผิดชอบหนี้สินของ กิจการไมเกินจํานวนคาหุนที่ยังชําระไมครบ การแบงประเภทบริษัทจํากัดตามกฎหมาย แบงเปน 2 ประเภท คือ บรษิ ัทจํากดั และ บริษทั มหาชนจํากดั 1.3.1 บริษัทจํากัด (Private Company Limited) หรือ บริษัทเอกชนจํากัด เปน บริษัทท่ีจัดตั้งตามประมวลกฎหมายแพงพาณิชย มีผูรวมกอการจัดต้ังอยางนอย เจ็ดคนรวมตกลงจัดตั้งบริษัท โดย แบง ทุนของกิจการเปนหนุ มีมลู คา หุนละเทา กนั มูลคา หุนตอ งไมต ่าํ กวา หุนละ 5 บาท บริษัทจะขายหุนตํ่ากวาราคาตาม มูลคาไมได และไมสามารถขายหุนใหแกประชาชนท่ัวไปได การชําระคาหุนคร้ังแรกเม่ือจัดต้ังบริษัทตองไมนอยกวา 25%ของมูลคาหุน หากมีสวนเกินมูลคาหุนใหชําระใน คร้ังแรก ผูถือหุนจะมีความรับผิดชอบจํากัดไมเกินจํานวนเงินท่ี ตนยังใชไมครบมูลคา ของหุนทต่ี นถอื บริษัทจะซื้อหุนสามญั ของบริษทั กลับคืนไมไดแ ละไมส ามารถออกหนุ กไู ด 6 3821302 หลกั การบญั ชเี บอื้ งตน (Fundamental Accounting Principles)

1.3.2 บริษัทมหาชนจํากัด (Public Company Limited) เปนบริษัทท่ีจัดตั้งตาม พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 เปนบริษัทท่ีจัดตั้งขึ้นมาเพื่อเสนอขายหุนตอประชาชน มีผูเร่ิมจัดตั้ง บริษัทตั้งแตสิบหาคนข้ึนไป แบงทุนของกิจการเปนหุนมีมูลคาหุนละเทากัน บริษัทออกขายหุนตํ่ากวาราคาตามมูลคา ได ผูถอื หุน ตองชําระคาหุนเม่ือจัดต้ังบริษัทโดยชําระคาหุนเต็มมูลคาในครั้งเดียว บริษัทสามารถที่จะซื้อหุนสามัญของ บริษัทกลับคืนไดและสามารถสามารถออกหุนกูได และไมวาบริษัทจะมีการจายเงินปนผลหรือไม ตองมีการตั้งสํารอง ตามกฎหมาย อยางนอยหนึ่งในยี่สิบสวนของจํานวนผลกําไรที่บริษัทหาไดหรือรอยละ 5 ของกําไรสุทธิในปน้ัน ๆ และ สามารถหยดุ ไดเมอื่ สํารองตามกฎหมายมจี ํานวนถงึ หน่ึงในสิบหรอื รอยละ 10 ของจาํ นวนทนุ จดทะเบียน 2. ประเภทของกิจการตามรูปแบบลักษณะการประกอบการ แบงปน 2 ประเภท ดังน้ี 2.1 ธุรกิจบริการ (service firm) เปนธุรกิจที่ดําเนินงานเก่ียวกับการใหบริการแกลูกคา โดยไดร บั คาตอบแทนเปนคาบริการ เชน สาํ นกั งานบัญชี ธรุ กิจขนสง อูซอมรถ ธนาคาร โรงพยาบาล โรงแรม เปนตน 2.2 ธุรกิจพณิชยกรรม เปนธุรกิจที่ดําเนินงานเกี่ยวกับการขายสินคา แบงปน 2 ประเภท คือ ธุรกิจซื้อขายสินคา และธุรกิจผลิตสินคา 2.2.1 ธุรกิจซื้อขายสินคา (merchandising firm) หรือธุรกิจจําหนาย สินคา เปนกิจการท่ีซื้อสินคามาเพื่อขาย เชน หางสรรพสินคา ธุรกิจคาสง เปนตน 2.2.2 ธุรกิจผลิตสินคา (manufacturing firm) หรือกิจการอุตสาหกรรม เปนธุรกิจที่ซื้อวัตถุดิบมาแปลงสภาพใหเปนสินคาสําเร็จรูปเพื่อจําหนายใหแกกิจการอื่น หรือผูบริโภค เชน โรงงาน ตัดเย็บเส้ือผา โรงงานกล่ันนํา้ มัน โรงงานผลิตรถยนต เปนตน แมบทการบัญชี แมบทการบัญชี (accounting framework) กําหนดข้ึนเพื่อวางแนวคิดที่เปนพื้นฐานในการจัดทําและ นําเสนองบการเงินแกผ ใู ชงบการเงนิ ที่เปนบุคคลภายนอก แมบทการบัญชีมีวัตถุประสงค ดังน้ี(สภาวิชาชีพบัญชี, 2549, หนา 4) 1.1 เพื่อเปนแนวทางสําหรับคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีในการพัฒนามาตรฐานการ บัญชีในอนาคตและในการทบทวนมาตรฐานการบัญชีท่ีมีในปจจุบัน 1.2. เพื่อเปนแนวทางสําหรับคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีในการปรับขอกําหนดมาตรฐาน และการปฏิบัติทางบัญชีที่เกี่ยวของกับการนําเสนองบการเงินใหสอดคลองกันโดยถือเปนหลักเกณฑในการลด จํานวนทางเลือกของวิธีการบันทึกบัญชีท่ีเคยอนุญาตใหใช 1.3 เพ่ือเปนแนวทางสาํ หรับผูจัดทาํ งบการเงินในการนํามาตรฐานการบัญชีมาปฏิบัติรวมทั้งเปน แนวทางในการปฏิบัติสาํ หรับเรื่องท่ียังไมมีมาตรฐานการบัญชีรองรับ 1.4 เพื่อเปนแนวทางสําหรับผูสอบบัญชีในการแสดงความเห็นตองบการเงินวาไดรับจัดทําขึ้น ตามมาตรฐานการบัญชีหรือไม 1.5 เพื่อชวยใหผูใชงบการเงินสามารถเขาใจความหมายของขอมูลที่แสดงใน งบการเงินซึ่ง จัดทาํ ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชี 1.6 เพื่อใหผูสนใจไดทราบขอมูลเกี่ยวกับแนวทางในการกําหนดมาตรฐานการบัญชีของ คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชี 7 3821302 หลกั การบัญชเี บอ้ื งตน (Fundamental Accounting Principles)

ขอบเขตเนื้อหาของแมบทการบัญชี แมบทการบัญชีไดกําหนดเกณฑสําหรับการจัดทําและนําเสนองบการเงินในเรื่องเกี่ยวกับผูใช งบการเงิน วัตถุประสงคของงบการเงิน ขอสมมติในการจัดทําและนําเสนองบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพของงบ การเงิน องคประกอบของงบการเงิน การรับรูองคประกอบของงบการเงิน แนวคิดเกี่ยวกับการวัดมูลคาและแนวคิด เกี่ยวกับทุนและการรักษาระดับทุนโดยสรุปรายละเอียด(เมธากุล เกียรติกระจาย, และศิลปพร ศรีจั่นเพชร, 2544, หนา 96-116) ไดดังน้ี 2.1. ผูใชงบการเงิน ประกอบดวย บุคคลฝายตาง ๆ ที่สนใจขอมูลทางการบัญชี ที่จะบอกถึง ประสิทธิภาพในการดําเนินงานของกิจการเพื่อใชในการวางแผนและตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ สามารถตอบสนอง ความตองการที่แตกตางกันตามประเภทของผูใชงบการเงิน ดังน้ี 2.1.1 ผูบริหารของกิจการตองการทราบขอมูลทางการบัญชีเพื่อประโยชนในการ วางแผน ควบคุมและตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ 2.1.2 ผูลงทุนตองการทราบขอมูลเพื่อประเมินความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการ ลงทุน 2.1.3 ผูใหกูและเจาหนี้ตองการทราบขอมูลทางการบัญชีเพื่อทราบถึงความมั่นคง ทางการเงิน สภาพคลองและแสดงความสามารถของกิจการในการชาํ ระหนี้ 2.1.4 ลูกจางหรือกลุมตัวแทนตองการทราบขอมูลทางการบัญชีเพื่อประเมิน ความสามารถของกิจการในการจายคาตอบแทน 2.1.5 ลูกคาตองการทราบขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินงานตอเนื่องของกิจการโดยเฉพาะ ตองการมีความสัมพันธอันยาวนาน หรือตองการพึ่งพากิจการ 2.1.6 รัฐบาลและหนวยงานราชการตองการขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินงานของกิจการ เพื่อการจัดสรรทรัพยากร การกํากับดูแล การกําหนดนโยบายทางภาษี การจัดทําสถิติดานตาง ๆ และเพื่อใชเปน ฐานในการคาํ นวณรายไดประชาชาติ 2.1.7 สาธารณชนตองการทราบขอมูลเกี่ยวกับแนวโนมการดําเนินงานและความสําเร็จ ของกิจการ เพราะอาจไดรับผลกระทบตอสาธารณชนเก่ียวกับการจางงานและการรับซื้อสินคาจากผูผลิต 2.2 วัตถุประสงคของงบการเงิน หมายถึง ประโยชนที่ไดรับจากการใชงบการเงินประเภทตาง ๆ เชน งบดุล งบกําไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี หมายเหตุประกอบงบการเงิน งบประกอบอื่น และคําอธิบายที่ทําใหงบการเงินนั้นสมบูรณ ซึ่งในแตละงบการเงินมี วัตถุประสงคที่ใหประโยชนตาง ๆ กัน เชน ประโยชนในการตัดสินใจลงทุนและใหสินเชื่อ ประโยชนในการประเมิน กระแสเงินสดเกี่ยวกับจํานวนเงิน จังหวะเวลาและความแนนอนของเงินสดที่พึงไดรับ ประโยชนในการไดทราบ ขอมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงานและการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการ ประโยชนในการ ประเมินสภาพการณในอนาคตได และประโยชนในการใชขอมูลของงบการเงินประเมินผลการบริหารงานเพื่อ ความรับผิดชอบของผูบริหารได 2.3 ขอสมมติในการจัดทําและนําเสนองบการเงิน เปนขอกําหนดของแมบทการบัญชี เพื่อใหงบ การเงินบรรลุวัตถุประสงค ซึ่งประกอบดวย เกณฑคงคาง และการดาํ เนินงานตอเน่ือง 8 3821302 หลกั การบัญชีเบอ้ื งตน (Fundamental Accounting Principles)

2.3.1 เกณฑคงคาง หมายถึง รายการและเหตุการณทางการบัญชี จะรับรูเมื่อเกิดขึ้น มิใชเมื่อมีการรับหรือจายเงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสด ทําใหกิจการตองบันทึกบัญชีรายไดคางรับเปนขอมูล เกี่ยวกับทรัพยากรที่จะไดรับเงินสดในอนาคต ซึ่งเปนรายการและเหตุการณทางบัญชีที่เขาเกณฑการรับรูรายได แลว แตยังไมไดรับชําระเงิน การบันทึกบัญชีรายไดรับลวงหนาเปนรายการและเหตุการณทางบัญชีที่ยังไม เขาเกณฑการรับรูรายไดแตกิจการไดรับเงินสดแลว การบันทึกบัญชีคาใชจายคางจายเปนขอมูลเกี่ยวกับภาระ ผูกพันที่กิจการตองจายเปนเงินสดในอนาคตซึ่งเปนรายการและเหตุการณทางบัญชีที่เขาเกณฑการรับรูคาใชจาย แลวแตกิจการยังไมไดจายชําระเงิน และการบันทึกบัญชีคาใชจายจายลวงหนาเปนรายการและเหตุการณทาง บัญชีที่ยังไมเขาเกณฑการรับรูคาใชจาย แตกิจการไดจายชําระเงินแลว 2.3.2 การดําเนินงานตอเน่ือง หมายถึง กิจการจะดําเนินงานตอเนื่อง และดํารงอยูตอไป ในอนาคตเพื่อใหประสบผลสาํ เร็จตามแผนและเปาหมายและขอผูกพันที่ไดกําหนดไวงบการเงินจึงตองดาํ เนินการ ตามเกณฑคงคางและการดําเนินงานตอเนื่องเพื่อประเมินความสามารถในการดําเนินงานตอเน่ืองของกิจการ นอกจากกิจการมีเจตนาหรือมีความจําเปนเลิกกิจการ หรือ ไมสามารถดาํ เนินงานอยางตอเน่ืองตอไปได กิจการ ตองเปดเผยขอเท็จจริงเกี่ยวกับสถานการณ หรือเง่ือนไขท่ีเปนเหตุใหกิจการไมสามารถดําเนินงานตอไปได รวมท้ัง เปดเผยหลักเกณฑที่ใชในการจัดทาํ งบการเงินดวย 2.4 ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน ตามแมบทการบัญชี หมายถึง คุณสมบัติที่ทําใหขอมูล ในงบการเงินมีประโยชนตอผูใชงบการเงิน กลาวคือ ชวยใหผูจัดทํางบการเงินมีบรรทัดฐานในการตัดสินใจเลือก วิธีการบัญชีและผูใชงบการเงินมีความเขาใจตรงกับผูจัดทํางบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพหลักของงบการเงิน แมบทการบัญชีไดกาํ หนดไวมี 4 ประการดังน้ี 2.4.1 ความเขาใจได (understandability) หมายถึง ขอมูลทางการบัญชีที่นําเสนอในงบ การเงินตองชวยใหผูใชงบการเงินเขาใจ และใชประโยชนตอการตัดสินใจของผูใชที่มีความรูพื้นฐานอยางเพียงพอ แมขอมูลจะมีความซับซอน แตถาเกี่ยวของกับการตัดสินใจ ผูจัดทํางบการเงินยังคงตองเสนอขอมูล ซึ่งแมบทการ บัญชีไดกําหนดวากิจการยังคงตองเปดเผยขอมูลที่จําเปน เนื่องจากขอมูลที่นําเสนอจะใหประโยชนแกผูใชงบ การเงินในการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ 2.4.2 ความเกี่ยวของกับการตัดสินใจ (relevance) หมายถึง ขอมูลทางการบัญชีชวยใหผูใชงบ การเงินสามารถคาดคะเนฐานะการเงินและผลการดําเนินงานในอนาคต รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ เชน การจายเงินปนผล การจายคาจาง ความสามารถในการกอใหเกิดกระแสเงินสดไดเพียงไร เพื่อนักลงทุนตัดสินใจซื้อหุน และไดรับ ผลตอบแทนคุมคากับเงินที่ลงทุนหรือเรียกวา เปนขอมูลที่เปนประโยชนตอการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ ซึ่งขอมูลนั้น มีคุณลักษณะที่สําคัญ คือ การใหความรูเกี่ยวกับผลลัพธของการตัดสินใจในอดีต ซึ่งสามารถนํามาใชในการ ตัดสินใจในอนาคต อีกทั้งชวยคาดคะเน หรือยืนยันเหตุการณที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและเปนขอมูลที่พรอมจะ นําไปใชในการตัดสินใจเกี่ยวกับปญหาที่เกี่ยวของไดตามความตองการ นอกจากนั้นในเรื่องความมีนัยสําคัญ (materiality) ของขอมูลทางการบัญชี ถาผูใชงบการเงินไมไดรับทราบแลว อาจตัดสินใจผิดไปจากกรณีที่ได รับทราบ ซึ่งจะมีผลกระทบตอการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผูใชงบการเงินได 2.4.3 ความเชื่อถือได (reliability) หมายถึง ขอมูลนั้นไมมีความผิดพลาดที่มีนัยสําคัญ หรือไม มีความลาํ เอียง ผูใชขอมูลสามารถเชื่อไดวาขอมูลนั้นแสดงสภาพทางเศรษฐกิจ หรือเหตุการณตาง ๆ ที่แสดงความ เช่ือถือไดของขอมูล ซ่ึงมีคุณลักษณะ 5 ประการ ดังนี้ 9 3821302 หลักการบญั ชีเบอื้ งตน (Fundamental Accounting Principles)

1) การเปนตัวแทนอันเท่ียงธรรม (faithful representation) หมายถึง การแสดงรายการ และเหตุผลทางการบัญชีอยางเท่ียงธรรม ตามท่ีตองการใหแสดงหรือควรจะแสดงโดยเปนขอมูลท่ีชัดเจน และ แนนอนบางครั้งเปนขอมูลการประมาณการจะมีการประมาณการอยางสมเหตุสมผลและเปนไปตามหลักการบัญชี ที่รับรองท่ัวไป 2) เนื้อหาสําคัญกวารูปแบบ (substance over form) หมายถึง การนําเสนอ งบ การเงินตามเนื้อหา และความเปนจริงทางเศรษฐกิจ แมเนื้อหาทางเศรษฐกิจของเหตุการณน้ัน อาจแตกตางจาก รูปแบบทางกฎหมาย ทั้งนี้เพื่อใหผูใชงบการเงินไดทราบขอมูลเกี่ยวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรายการ และ เหตุการณทางบัญชีที่แทจริง 3) ความเปนกลาง (neutrality) หมายถึง การเสนอขอมูลทางการบัญชีท่ีมีความ นาเชื่อถือ มีความเปนกลาง สามารถสะทอนกิจกรรมทางเศรษฐกิจอยางแทจริง 4) ความระมัดระวัง (prudence) หรือหลักความระมัดระวัง หมายถึง ในการจัดทํางบ การเงิน ผูจัดทําควรใชดุลพินิจที่จําเปนในการเลือกปฏิบัติทางการบัญชีภายใตความไมแนนอน เพื่อมิใหสินทรัพย หรือรายไดแสดงจํานวนสูงเกินไป และหนี้สิน หรือคาใชจายแสดงจํานวนตํ่าเกินไป ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความมั่นใจวา กิจการไดคํานึงถึงความเสียหาย หรือความไมแนนอนท่ีอาจเกิดข้ึน 5) ความครบถวน (completeness) หมายถึง ขอมูลทางการบัญชีตองครบถวน ภายใตขอจํากัดของความมีนัยสําคัญ และตนทุนในการจัดทํา โดยตนทุนในการจัดทําไมควรสูงกวาประโยชน 2.4.4 การเปรียบเทียบกันได (comparability) หมายถึง การเปรียบเทียบงบการเงิน ของ กิจการในรอบระยะเวลาตางกันหรือการเปรียบเทียบงบการเงินของธุรกิจตาง ๆ เพื่อใหผูใชงบการเงินสามารถ ประเมินฐานะทางการเงิน กระแสเงินสด ผลการดําเนินงาน การเปลี่ยนแปลงฐานะทางการเงิน และสามารถ คาดคะเนแนวโนมของฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการที่เปรียบเทียบได 2.5 องคประกอบของงบการเงิน หมายถึง การจัดประเภทของรายการและเหตุการณทางบัญชีที่ แสดงไวในงบการเงินตามลักษณะเชิงเศรษฐกิจ องคประกอบที่เกี่ยวของโดยตรงกับการวัดฐานะการเงินในงบดุล ไดแก สินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ องคประกอบที่เกี่ยวของโดยตรงกับการวัดผลการดําเนินงานในงบ กําไรขาดทุน ไดแก รายได และคาใชจาย สวนงบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะทางการเงินสะทอนถึงองคประกอบ ในงบกําไรขาดทุนและการเปลี่ยนแปลงองคประกอบในงบดุล 2.6 การรับรูองคประกอบของงบการเงิน หมายถึง การรวมรายการเขาเปนสวนหนึ่งของงบดุล และงบกําไรขาดทุน หากรายการนั้นเปนไปตามคํานิยามขององคประกอบ และเขาเกณฑการรับรูรายการที่เปนไป ตามคํานิยามขององคประกอบใหรับรูเมื่อเขาเง่ือนไขทุกขอดังน้ี 2.6.1 มีความเปนไปไดคอนขางแนนอนที่ประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตของรายการจะ เขาหรือออกจากกิจการ 2.6.2 รายการดังกลาว มีราคาทุน หรือมูลคาที่สามารถวัดไดอยางนาเชื่อถือ 2.7 แนวคิดเกี่ยวกับการวัดมูลคา หมายถึง การกําหนดจํานวนที่เปนตัวเงินเพื่อรับรูองคประกอบ ของงบการเงินในงบดุล และงบกาํ ไรขาดทุน แมบทการบัญชีไดกําหนดเกณฑในการวัดมูลคาไว ดังน้ี 10 3821302 หลักการบัญชเี บื้องตน (Fundamental Accounting Principles)

2.7.1 ราคาทุนเดิม (historical cost) หมายถึง การบันทึกสินทรัพยดวยจํานวนเงินสดหรือ รายการเทียบเทาเงินสดที่จายไป ณ เวลาที่ไดมาซึ่งสินทรัพยนั้น และบันทึกหนี้สินดวยจํานวนเงินสดหรือรายการ เทียบเทาเงินสดที่คาดวาจะตองจายเพื่อชาํ ระหน้ีสินคาท่ีเกิดจากการดาํ เนินงานปกติ 2.7.2 ราคาทุนปจจุบัน (current cost) หมายถึง ราคาสินทรัพยที่ตองจายดวยเงินสดหรือ รายการเทียบเทาเงินสดเพื่อใหไดมาซึ่งสินทรัพยชนิดเดียวกัน หรือสินทรัพยที่เทาเทียมกันในขณะนั้น และจํานวน เงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสดท่ีตองชําระหน้ีสินในขณะนั้น 2.7.3 มูลคาที่ควรจะไดรับ (realizable cost) หมายถึง มูลคาที่กิจการอาจไดรับเงินสด หรือรายการเทียบเทาเงินสดจากการขายสินทรัพยในขณะนั้น หรือมูลคาของหนี้สินที่เกิดจากการดําเนินงาน ตามปกติที่คาดวาตองจายคืนดวยเงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสด 2.7.4 มูลคาปจจุบัน (present value) หมายถึง การแสดงสินทรัพยดวยมูลคาปจจุบันของ กระแสเงินสดรับสุทธิในอนาคตซึ่งคาดวาจะไดรับและหนี้สินที่แสดงมูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดจายสุทธิซึ่ง คาดวาจะตองชาํ ระหน้ีภายใตการดาํ เนินงานตามปกติ 2.8 แนวคิดเกี่ยวกับทุน และการรักษาระดับทุน แนวคิดเกี่ยวกับทุน คือ การหามูลคาของ สินทรัพยสุทธิ หรือสวนของเจาของ หรือมูลคาของทุนในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง ผลแตกตางของสินทรัพยสุทธิ หรือ มูลคาของทุน ณ วันตนงวดกับวันปลายงวด คือ ผลที่ไดจากการดําเนินงานหรือกําไรในความหมายของนัก เศรษฐศาสตร กลาวคือ กาํ ไร หมายถึง การเพิ่มข้ึนของสวนทุน แนวคิดการรักษาระดับทุน แบงออกเปน 2 สวน 2.8.1 การรักษาระดับทุนทางการเงิน (financial capital maintenance) หมายถึง แนวคิด ที่วากําไรเกิดขึ้นเมื่อจํานวนที่เปนตัวเงินของสินทรัพยสุทธิเมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีสูงกวาจํานวนที่เปนตัวเงิน ของสินทรัพยสุทธิเม่ือเร่ิมรอบระยะเวลาบัญชี โดยไมรวมรายการที่เกิดขึ้นระหวางกิจการกับเจาของในระหวางรอบ ระยะเวลาบัญชีน้ัน 2.8.2 การรักษาระดับทุนทางการผลิต (physical capital maintenance) แนวคิดที่วากําไร เกิดขึ้นเมื่อกําลังการผลิตที่กิจการสามารถใชผลิตจริงเมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีสูงกวากําลังการผลิตเมื่อเริ่มรอบ ระยะเวลาบัญชี หรืออาจแสดงในรูปของทรัพยากรหรือเงินทุนที่ตองจายเพื่อใหไดกําลังการผลิตนั้นโดยไมรวมการ แบงปนสวนทุนใหกับเจาของหรือเงินทุนที่ไดรับจากเจาของในรอบระยะเวลาเดียวกัน โดยแมบทการบัญชีสําหรับการจัดทําและนาํ เสนองบการเงินสามารถแสดงไดดังภาพท่ี 1.1 11 3821302 หลกั การบญั ชีเบอ้ื งตน (Fundamental Accounting Principles)

ลกั ษณะของงบการเงนิ วตั ถปุ ระสงค ใหข อ มูลทม่ี ปี ระโยชนตอ การตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ ขอสมมติ เกณฑค งคาง การดําเนินงาน ขอจาํ กดั ทันตอเวลา ความสมดลุ ระหวางประโยชนท ี่ ความสมดลุ ของ ไดรบั กับตน ทุนท่เี สียไป ลกั ษณะเชิงคณุ ภาพ ลักษณะเชิงคุณภาพ ถกู ตอ งและยุตธิ รรม หรอื ถูกตองตามควร ลักษณะแรก เกย่ี วของกบั เชือ่ ถอื ได เปรยี บเทียบ เขาใจได การตดั สินใจ กันได ลักษณะรอง นัยสาํ คญั ตวั แทน เน้อื หาสาํ คัญ ความ ความ ความ อันเทย่ี งธรรม กวา รปู แบบ เปนกลาง ระมัดระวงั ครบถวน ภาพท่ี 1.1 แผนภูมิแมบ ทการบัญชี สาํ หรบั การจดั ทํา และนําเสนองบการเงิน ทมี่ า (สมาคมนกั บญั ชีและผูส อบบญั ชีรับอนญุ าตแหง ประเทศไทย, 2546, หนา 47) 12 3821302 หลักการบญั ชีเบ้ืองตน (Fundamental Accounting Principles)

สถาบันท่ีเกีย่ วขอ งกับวิชาชพี บัญชี สถาบันทมี่ บี ทบาทเก่ยี วกบั วชิ าชพี บัญชใี นปจจบุ นั ท่สี าํ คญั มีดงั นี้ 1. Financial Accounting Standard Board (FASB) เปนคณะกรรมการตั้งขึ้นโดย AICPA เพ่ือศึกษา และจัดทํามาตรฐานการบัญชี จึงเปนหนวยงานหลักท่ีกําหนดหลักการบัญชีที่รับรองท่ัวไปที่บริษัทในสหรัฐอเมริกาตอง ปฏิบัตติ าม 2. The American Institute of Certified Public Accountants (AICPA) เปนสถาบันทางการบัญชีท่ีชวย สงเสริม และพัฒนาวิชาชีพและมาตรฐานทางการบัญชีและออกมาตรฐานการสอบบัญชี เพ่ือชวยผูสอบบัญชีในการ ตรวจสอบ 3. The American Accounting Association (AAA) เปนสมาคมวิชาชีพบัญชีมีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริม สนับสนุนใหมีการวิจัยคนควา เพ่ือใหเกิดพัฒนาการทางทฤษฎีการบัญชี และปรับปรุงหลักการบัญชี และมาตรฐานการ บญั ชี 4. Asean Federation of Accountants (AFA) เปนสหพันธนักบัญชีแหงอาเซียน ประกอบดวย ประเทศ อินโดนีเซีย มาเลเซยี ฟล ปิ ปน ส สิงคโปร และประเทศไทย มวี ัตถุประสงคเพ่ือศึกษาหลักการบัญชี ปรับมาตรฐานการบัญชี ในกลมุ ประเทศสมาชกิ ใหสอดคลองกัน 5. สภาวิชาชีพบัญชี (Federation of Accounting Professions) มีฐานะเปนนิติบุคคลตาม พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมและพัฒนาวิชาชีพบัญชี โดยทําหนาท่ีกําหนด มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี และมาตรฐานอื่นท่ีเก่ียวกับวิชาชีพบัญชี กําหนดจรรยาบรรณผูประกอบ วิชาชีพบัญชี รับรองปริญญาหรือประกาศนียบัตรในวิชาการบัญชีของสถาบันการศึกษาตาง ๆ เพื่อประโยชนในการรับ สมัครสมาชกิ เปน ตน (สภาวชิ าชพี บัญช,ี 2547, หนา 2-3) จรยิ ธรรมของผูประกอบวิชาชพี บัญชี จริยธรรมเปนเร่ืองพฤติกรรมของคนในทุกอาชีพที่ควรตระหนัก ไมคิดเอารัดเอาเปรียบผูอ่ืนดวยวิธีการ ตา ง ๆ เพือ่ ประโยชนส วนตนและพวกพอ ง สงั คมนนั้ จึงเปน สงั คมแหง ความสนั ติสุข กาญจนา ศรีพงษ (2545, หนา 1-14) ไดอธิบายคําวา จริยธรรม หมายถึง หลักการที่กําหนดความ ถูกตองหรอื ไมถกู ตองของการกระทําอยา งหน่ึงอยา งใด กุลพล พลวัน (2541, หนา 75) ไดอธิบายคําวา จริยธรรม หมายถึง ธรรมท่ีควรปฏิบัติ ความดีความงาม ท่ีควรปฏิบัติ ซ่ึงมีความหมายกวางขวางถึงการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบขอบังคับที่ออกโดยกฎหมายและการปฏิบัติ ตามหลักธรรมที่การปฏิบัติ แมวาจะไมมีกฎหมายบัญญัติไวซึ่งเปนความสํานึกของบุคคลนั้น ๆ เองวาควรปฏิบัติอยางไร ใหเกิดความดีงามแกต นเอง ผูอ น่ื และสังคม ดังนั้น จริยธรรม หมายถึง หลักแหงความประพฤติท่ีถูกตอง หรือหลักแหงการปฏิบัติตนที่ยึดความ ถูกตอ งเปนนสิ ัย วิชาชีพบัญชีเปนหนึ่งในหลาย ๆ วิชาชีพท่ีควรตระหนักถึงความสําคัญในการประกอบวิชาชีพดวย หลักการแหงความถูกตอง เปนธรรม โดยกําหนดเปนจรรยาบรรณไวใหผูประกอบวิชาชีพไดยึดถือเปนหลักในการ ปฏิบัติงานในวิชาชีพของตน และหากประพฤติปฏิบัติผิดจรรยาบรรณจะไดรับโทษตามที่กําหนด สําหรับจรรยาบรรณ 13 3821302 หลกั การบญั ชเี บ้ืองตน (Fundamental Accounting Principles)

ของผูประกอบวิชาชีพบัญชีตามพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 ไดกาํ หนดใหสภาวิชาชีพบัญชีเปนผูจัดทํา โดยมีขอกําหนดอยางนอย 4 เร่ือง (สภาวชิ าชีพบัญช,ี 2547, หนา 14) ดงั นี้ 1. ความโปรง ใส ความเปนอิสระ ความเทย่ี งธรรม และความซอ่ื สัตยสุจรติ 2. ความรู ความสามารถ และมาตรฐานในการปฏิบตั งิ าน 3. ความรับผิดชอบตอผรู บั บริการและการรกั ษาความลับ 4. ความรับผิดชอบตอผูถือหุน ผูเปนหุนสวน หรือบุคคลหรือนิติบุคคล ท่ีผูประกอบวิชาชีพปฏิบัติหนาท่ี ให ดังนั้นจริยธรรมของผูประกอบวิชาชีพบัญชี (profession of accounting ethics) จึงหมายรวมถึง ความ ประพฤติหรือพฤตกิ รรมอนั ถูกตอง หรือเปนธรรม ซ่ึงเกิดจากจิตสํานึกท่ีตองรับผิดชอบตอบุคคลอ่ืนหรือสังคม และเปน พฤติกรรมที่กระทําตามหลักการท่ีกําหนดความถูกตองตามจรรยาบรรณของผูประกอบวิชาชีพบัญชี ตามมาตรฐานการ บัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี หรือตามมาตรฐานอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของซ่ึงไดกําหนดไวตามกฎหมาย เน่ืองจากผูประกอบ วิชาชีพบัญชีไมวาจะปฏิบัติงานในดานการทําบัญชี ดานการวางระบบบัญชี ดานการสอบบัญชี ดานการบัญชีบริหาร ดานการบัญชีภาษีอากร ดานการศึกษาและเทคโนโลยีการบัญชีและบริการเกี่ยวกับการบัญชีดานอ่ืนตามท่ีกําหนดใน กฎกระทรวง ในการปฏบิ ัติงานจะตอ งมน่ั ใจวา ไดทํางานดวยความถูกตอง ซ่ือสัตย และยุติธรรม หากมีแนวปฏิบัติใหเลือก ผูประกอบวิชาชีพบัญชีพึงใชวิจารณญาณโดยสุจริต เพราะผลงานซ่ึงเปนขอมูลทางการบัญชีจะถูกเสนอตอบุคคลท้ัง ภายในและภายนอกกิจการ และมีความหมายตอการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจที่เชื่อถือได นอกจากนั้นยังรวมถึงการรักษา ความลับของขอมูลทางการบัญชีที่นักบัญชีไมควรนําไปใชแสวงหาผลประโยชนตอตนเองหรือทําใหเกิดความเสียหาย ตอ ผูอ ่นื งบการเงนิ งบการเงิน (financial statements) เปนรายงานแสดงขอมูลทางการเงินซึ่งเปนผลผลิตขั้นสุดทายของ กระบวนการจัดทําบัญชี โดยจะมีประโยชนตอผูใชงบการเงินในการตัดสินใจ เชิงเศรษฐกิจ การดําเนินธุรกิจ การคาจําเปนตองทราบผลการดําเนินงานในรอบระยะเวลาหนึ่ง ๆ หรือสําหรับงวดเวลาหน่ึง กิจการมีผลการ ดําเนินงานดีมากนอยเพียงใด และมีฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่งวามีทรัพยสินและหนี้สินประเภทอะไร เปน มลู คา เทา ใด และมเี งินทุนเทา ใด ดังน้ันในการจัดทําบัญชีจําเปนตองกําหนดงวดเวลาบัญชี หรือรอบระยะเวลา บัญชี (accounting period) สําหรับระยะเวลาจะเปนเทาไรข้ึนอยูกับความตองการในการวัดผลการดําเนินงานของ กิจการ เชน 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1 ป ท้ังน้ีมักจะกําหนดตามปปฏิทิน คือ มีรอบระยะเวลา 1 ป นับตั้งแตวันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคม แตหนวยงานของรัฐบาลรอบระยะเวลาบัญชีในการทํางบประมาณแผนดินกําหนด รอบระยะเวลาบัญชี 1 ป นบั ตง้ั แตว นั ที่ 1 ตลุ าคม ถงึ วนั ที่ 30 กนั ยายน ในปถดั ไป เรียกวา ปงบประมาณ อยางไรก็ตาม เม่อื กจิ การกาํ หนดรอบระยะเวลาบัญชีแลว การจัดทํางบการเงินก็จะเปนไปตามเวลาท่ีกําหนดไวเหมือนกันทุก ๆ ป เพ่ือ ประโยชนในการนําขอมูลทางการเงินจากงบการเงินของแตละปมาวิเคราะหเปรียบเทียบกันได ซึ่งจะมีผลตอผูใชงบ การเงนิ ในการนําขอ มูลไปใชตดั สินใจเชงิ เศรษฐกจิ ไดอยา งมีประสิทธิภาพ 14 3821302 หลักการบญั ชเี บอ้ื งตน (Fundamental Accounting Principles)

ความหมายงบการเงิน งบการเงิน หมายถึง “รายงานที่แสดงขอมูลอันเปนผลจากการประกอบธุรกิจของกิจการ ซ่ึง ประกอบดวย งบดุล(เปล่ยี นชอื่ เปน”งบแสดงฐานะการเงิน”) งบกําไรขาดทุน(เปล่ียนช่ือเปน“งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ”) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของ งบกระแสเงินสด หมายเหตุประกอบงบการเงิน งบยอย และคําอธิบายอ่ืนซ่ึง ระบุไวว าเปน สวนหนึง่ ของงบการเงิน” สวนประกอบของงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่1 (ปรับปรุง2552) เร่ือง การนําเสนองบการเงิน กําหนดใหง บการเงนิ ฉบบั สมบรู ณ ประกอบดวย 1. งบแสดงฐานะการเงิน ณ วนั ส้นิ งวด 2. งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สาํ หรับงวด โดยนาํ เสนอได 2 รูปแบบ 2.1 งบเดียว - งบกาํ ไรขาดทนุ เบ็ดเสร็จ (แบบยาว) 2.2 สองงบ - งบเฉพาะกําไรขาดทนุ + งบกาํ ไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ อน่ื (แบบสัน้ ) 3. งบแสดงการเปล่ยี นแปลงสวนของเจาของสาํ หรบั งวด 4. งบกระแสเงนิ สดสาํ หรับงวด 5. หมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งประกอบดวยสรุปนโยบายการบัญชีท่ีสําคัญ ขอมูลท่ีใหคําอธิบาย อ่นื และ 6. งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันส้ินงวด ท่ีนํามาเปรียบเทียบงวดแรกสุดเม่ือกิจการไดนํานโยบายการ บัญชใี หมมาถือปฏิบัตยิ อนหลงั หรอื การปรบั งบการเงินยอนหลัง หรือเมื่อกิจการมีการจัดประเภทรายการในงบการเงิน ใหม การทํางบการเงินทุกงบจะตองแสดงขอมูล ไดแก ช่ือของกิจการที่เสนอรายงานหรือสัญลักษณของกิจการ การระบุวางบการเงินน้ันเปนงบการเงินเด่ียวหรืองบการเงินรวม วันที่ในงบ หรือรอบระยะเวลาของงบท่ีเกี่ยวของ สกุลเงินที่ใช รายงาน และจํานวนหลักที่ใชในการแสดงตัวเลขในงบการเงิน (สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย, 2546, หนา 447) โดยกิจการบางประเภทอาจไมตองจัดทํางบการเงินครบตามองคประกอบ เวนแตงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันสิ้นงวด และงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับงวด ท่ีถือวาเปนงบการเงินท่ีตองจัดทํา และมีความสําคัญตอกิจการทุก ประเภท สําหรับงบกระแสเงินสดเปนงบการเงินท่ีบังคับใชกับบริษัทมหาชนจํากัด (วัฒนา ศิวะเกื้อ, ดุษฎี สงวนสุชาติ, และนนั ทพร พิทยะ, 2548, หนา 17) ในบทนี้จะศึกษาในรายละเอียดเฉพาะเรื่องการจัดทํางบแสดงฐานะการเงิน ณ วันสน้ิ งวด และงบกําไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ สําหรับงวด ซึ่งเปนงบการเงินหลักของธุรกิจ สําหรับงบแสดงการเปลี่ยนแปลง สวนของเจาของ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชีและหมายเหตุประกอบงบการเงินจะกลาวไวเพียงเปนพื้นฐาน สวนรายละเอียดการจดั ทําใหศึกษาในบัญชีชน้ั สูงตอ ไป 15 3821302 หลกั การบัญชีเบ้ืองตน (Fundamental Accounting Principles)

งบแสดงฐานะการเงนิ (Statement of Financial Position) งบแสดงฐานะการเงนิ คอื รายงานทางการเงินท่ีทาํ ขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป เพื่อแสดงใหเห็น ฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่งวามีสินทรัพยและหน้ีสินประเภทอะไร เปนมูลคาเทาใด และมีทุน (สวน ของเจาของ) เปนจํานวนเงินเทาใด” และในการจัดทํางบแสดงฐานะการเงิน จะถือหลักความสัมพันธพื้นฐานจากสมการ บญั ชี “สินทรพั ย = หน้ีสนิ + สวนของเจา ของ” (อาํ นวย ศรสี โุ ข, 2548, หนา 30) ซึ่งมีรายละเอยี ดดังตอ ไปนี้ สินทรัพย (assets) หมายถึง “ทรัพยากรท่ีอยูในการควบคุมของกิจการซ่ึงเปนผลมาจากเหตุการณใน อดีตและกอใหเกิดประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตแกกิจการ สินทรัพยนั้นอาจมีตัวตนหรือไมมีตัวตนก็ได และอาจ เคล่อื นที่ไดห รือเคลอ่ื นที่ไมไดก็ได ซึ่งกิจการไดมาโดยการซื้อ แลกเปล่ียน หรือผลิตข้ึนเอง อันเปนเหตุการณในอดีตและ สินทรัพยนั้นมีความสามารถในการกอใหเกิดกระแสเงินสดทั้งทางตรงและทางออมแกกิจการที่เรียกวา ประโยชน เชงิ เศรษฐกิจในอนาคต” (สภาวิชาชีพบัญชี, 2549, หนา 3) สินทรัพยแบงออกเปน 2 ประเภท คือ สินทรัพยหมุนเวียน และสินทรัพยไมหมุนเวียน (กรมพัฒนาธุรกิจการคา,2546, หนา 17) สินทรัพยจะจัดประเภทเปนสินทรัพยหมุนเวียน เมือ่ สนิ ทรพั ยนน้ั เปนไปตามเงื่อนไขขอ ใดขอหนึง่ ตอไปน้ี 1. คาดวาจะไดรบั ประโยชนหรอื ตงั้ ใจจะขายหรอื ใชภ ายในรอบระยะเวลาดําเนนิ งานตามปกตขิ องกจิ การ 2. มีวตั ถปุ ระสงคห ลักไวเ พื่อคา 3. คาดวา จะไดร บั ประโยชนภายในเวลา 12 เดือนนบั จากวนั ที่ในงบดุล (งบแสดงฐานะการเงิน) 4. เปนเงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสด และไมมีขอจํากัดในการแลกเปล่ียนหรือการใชชําระหน้ีภายใน ระยะเวลาอยา งนอย 12 เดือนนับจากวนั ทใี่ นงบดุล (งบแสดงฐานะการเงิน) สินทรัพยท ีไ่ มเปนไปตามเงอ่ื นไขขา งตน ใหจัดประเภทเปน สินทรพั ยไมหมนุ เวยี น รอบระยะเวลาการดําเนินงาน หมายถึง ระยะเวลาที่เร่ิมต้ังแตไดสินทรัพยมาเพื่อใชในการดําเนินงาน จนกระทั่งไดรับเงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสด หากไมสามารถระบุรอบระยะเวลาการดําเนินงานไดชัดเจน ใหถือ วา ระยะเวลาการดําเนนิ งานมรี ะยะ 12 เดอื น นับจากวันทใ่ี นงบดุล (งบแสดงฐานะการเงนิ ) การแสดงรายการสินทรัพยหมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงิน จะเรียงตามลําดับรายการที่มีสภาพคลอง มากที่สดุ (สามารถเปล่ียนแปลงเปนเงินสดไดง า ย)ไปหารายการทมี่ ีสภาพคลอ งนอ ยทีส่ ุด ดงั น้ี 1.1 สินทรัพยหมุนเวียน (current assets) หมายถึง เงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสด ซ่ึง ไมมีขอจํากัดในการใช กิจการมีวัตถุประสงคหลักท่ีจะถือสินทรัพยไวเพื่อการคา หรือถือไวในระยะสั้น และกิจการคาด วาจะไดรับประโยชนจากสินทรัพยน้ันภายใน 12 เดือน นับจากวันท่ีในงบดุล หรือภายในรอบระยะเวลาดําเนินงาน ตามปกติ หรือกิจการมสี นิ ทรัพยนั้นไวเพ่ือขาย หรือเพื่อนาํ มาใชในการดําเนินงานตามปกติ สินทรัพยที่ไมเปนไปตาม ขอกําหนดขางตนใหจัดประเภทเปนสินทรัพยไมหมุนเวียน (สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศ ไทย, 2546, หนา 450) การแสดงสินทรัพยหมุนเวียนในงบดุลมักจะเรียงลําดับรายการที่เปล่ียนแปลงเปนเงินสดได งา ยมากทส่ี ุดไวก อน ดังนี้ 1.1.1 เงินสด หมายถึง เงินสดในมือ และเงินฝากธนาคารที่ตองจายคืนเม่ือทวงถาม (สภาวิชาชีพบัญชี, 2549, หนา 7) เงินสดในมือรวมถึง เงินเหรียญ (coins) ธนบัตร (currency) เช็คที่ยังไมไดนําฝาก เช็ค เดินทาง (travelers checks) ดราฟตของธนาคาร (bank drafts) และธนาณัติเงินสด (money orders) เงินฝาก ธนาคารถือไดวาเปนเงินสดที่มีไวเพ่ือใชในการดาํ เนินงานในปจจบุ นั 16 3821302 หลกั การบญั ชเี บอ้ื งตน (Fundamental Accounting Principles)

1.1.2 เงินลงทุนระยะส้ันถือเปนรายการเทียบเทาเงินสด (cash equivalents) ที่มีสภาพ คลองสูงพรอมที่จะเปล่ียนเปนเงินสดในจํานวนท่ีทราบไดและมีความเสี่ยงตอการเปลี่ยนแปลงในมูลคานอยหรือไมมี นัยสําคัญ (สภาวิชาชีพบัญชี, 2549, หนา 8) เชน พันธบัตรรัฐบาล (treasury bills) กองทุนตลาดเงิน (money market funds) และตว๋ั เงินคงคลัง (commercial paper) ทม่ี ีอายุใกลถ ึงกาํ หนดไถถ อน (ปกติไมเกนิ 3 เดอื น) 1.1.3 เงนิ ลงทนุ ช่วั คราว หมายถงึ เงินฝากธนาคารประเภทประจํา เงินฝากออมทรัพย หรือหลักทรัพยที่ซื้อจากเงินสดเหลือใชดวยวัตถุประสงคเพ่ือหาดอกผลจากการลงทุนนั้น หลักทรัพยท่ีซ้ือน้ันตองอยูใน ความตองการของตลาดและจะขายเม่ือตองการใชเงินสด ประกอบดวย หลักทรัพยเพื่อคา หลักทรัพยเพื่อขาย เงินลงทุน ท่ัวไป และตราสารหนี้ท่ีจะครบกําหนดภายในหนึ่งป (เมธากุล เกียรติกระจาย, และศิลปพร ศรีจั่นเพชร, 2544, หนา 246 – 247) 1.1.4 ลูกหน้ี (receivable) หมายถึง สิทธิเรียกรองจากบุคคลอื่น ไมวาจะเปนในรูป เงินสด สินคา หรือบริการ ลูกหน้ีท่ีคาดวากิจการจะไดรับชําระเงิน ภายใน 1 ป จัดเปนสินทรัพยหมุนเวียน ลูกหน้ีแบง ออกเปน 2 ประเภท คือ ลูกหนี้การคา (account receivable หรือ trade receivable) และลูกหน้ีอื่น (other receivable หรอื non trade receivable) 1.1.5 ต๋ัวเงินรับ (notes receivable) ตามศัพทบัญชี (สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชี รับอนุญาต, 2538, หนา 68) หมายถึง คําม่ันสัญญาท่ีเปนลายลักษณอักษรโดยปราศจากเง่ือนไขที่บุคคลหนึ่งรับชําระ เงินจํานวนท่ีแนนอนจํานวนหนึ่งใหแกอีกบุคคลหน่ึงภายในเวลาท่ีกําหนด ต๋ัวเงินรับ ไดแก ต๋ัวสัญญาใชเงิน (promissory note) และต๋ัวแลกเงนิ (bill of exchange) 1.1.6 รายไดคางรับ (accrued income) หมายถึง รายไดซึ่งเกิดขึ้นแลว แตยัง ไมไดรับชําระเงิน เชน กิจการไดใหบริการขนสงสินคาแกลูกคาแลว แตยังไมไดรับชําระเงินคาบริการดังกลาวจาก ลกู คา ในวันสนิ้ งวดบัญชจี ะถอื วามรี ายไดคา งรบั เกิดขึน้ แลว 1.1.7 สินคาคงเหลือ (inventories) หมายถึง สินทรัพยที่มีไวเพื่อขายตาม ลักษณะการประกอบธุรกิจโดยปกติสําหรับกิจการซื้อมาขายไป หรืออยูในระหวางกระบวนการผลิต เพ่ือใหเปนสินคา สําเร็จรูปเพื่อขาย หรือมีอยูในรูปของวัตถุดิบหรือวัสดุที่มีไวเพื่อใชในกระบวนการผลิตสินคาสําหรับกิจการท่ีทําการผลิต (สภาวิชาชีพบัญช,ี 2549, หนา 39) 1.1.8 คาใชจายลวงหนา (prepaid expenses) ตามศัพทบัญชี (สมาคมนักบัญชีและ ผูสอบบัญชีรับอนุญาต, 2538, หนา 74) หมายถึง คาใชจายที่จายไปกอนสําหรับสินทรัพยหรือบริการที่จะไดรับ ประโยชนในอนาคตและจะใชหมดไปในระยะเวลาอันสั้น มักจะเกิดขึ้นใน การดําเนินงานตามปกติของกิจการ เชน คา เชาจา ยลวงหนา คา เบี้ยประกนั ภยั จายลวงหนา 1.2 สนิ ทรัพยไมหมุนเวยี น (non current assets) หมายถึง สินทรัพยท่ีไมสามารถเปลี่ยนเปน เงนิ สดไดทันที หรอื ภายในอนาคตอันใกล หรือภายในรอบระยะเวลาดําเนนิ งาน ซ่งึ สินทรัพยไมหมุนเวียนมีดงั นี้ 1.2.1 เงินลงทุนระยะยาว (long – term investment) หมายถึง เงินลงทุนที่กิจการ ต้ังใจจะถือไวเกิน 1 ป ไดแก หุนกู พันธบัตร ซ่ึงกิจการยังมิไดมีจุดมุงหมายท่ีจะเปลี่ยนเปนเงินสดทันทีในขณะใด ขณะหน่ึง ซึ่งเงินลงทุนระยะยาวจะหมายรวมถึง ตราสารทุนที่จัดประเภทเปนหลักทรัพยเผื่อขาย เงินลงทุนทั่วไป และ 17 3821302 หลักการบัญชีเบอื้ งตน (Fundamental Accounting Principles)

ตราสารหน้ที ี่จดั ประเภทเปนหลักทรัพยเพื่อขาย และตราสารหน้ีที่จะถือจนครบกําหนด (สภาวิชาชีพบัญชี, 2549, หนา 46) 1.2.2 อสังหาริมทรัพยเพ่ือการลงทุน (investment property) หมายถึง อสังหาริมทรัพยที่ ถอื ครองเพอ่ื หาประโยชนจ ากรายไดค า เชา หรือจากการเพมิ่ ขึน้ ของมลู คาของสนิ ทรัพย 1.2.3 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ (property ,plant and equipment) หมายถึง ทรัพยสินท่ีมี ตัวตนที่กิจการมีไวเพ่ือใชประโยชนในการผลิต ใชในการจําหนายสินคา ใหบริการ ใหผูอื่นเชา ใชในการบริหารงาน กิจการไดท รัพยสินดงั กลา วมาดวยการซื้อหรอื สรางข้ึนเอง โดยมีความตั้งใจวา จะใชประโยชนจากทรัพยสินนั้นตอเน่ือง ตลอดไป ไมต งั้ ใจท่ีจะมีไวเ พ่ือจําหนาย 1.2.4 สินทรัพยไมมีตัวตน (intangible assets) หมายถึง สินทรัพยที่ไมเปนตัวเงินที่ สามารถระบุได และไมมีรูปราง (สภาวิชาชีพบัญชี, 2549, หนา 37) ซึ่งเปนสินทรัพยที่กิจการถือไวเพื่อใชในการผลิต หรือจําหนายสนิ คา หรอื ใหบริการเพ่ือใหผูอ่ืนเชา หรือเพ่ือวัตถุประสงคในการบริหารงาน สิทธิเรียกรองตามกฎหมาย เชน ลขิ สิทธ์(ิ copyrights) สิทธิบัตร(patents) เคร่ืองหมายการคา(trademarks) สัมปทาน (franchises) เคร่ืองหมายการคา (Trademarks)คาความนิยม (goodwill) สิทธิการเชา (lease hold) เปนตน บันทึกสินทรัพยไมมีตัวตน ณ วันที่ได รับมาโดยใชหลกั ราคาทนุ 1.2.5 สินทรพั ยภาษเี งินไดรอการตัดบญั ชี 1.2.6 สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น (other non – current assets) เปนสินทรัพยที่กิจการ สามารถนาํ ไปใชใหเกดิ ประโยชนในการพฒั นากระบวนการผลิต การดําเนินงานท่มี ีระยะยาว ซึ่งเปน ทั้งสินทรพั ยที่มีตัวตน และสนิ ทรัพยไ มมีตัวตน แตไ มไดจ ัดไวใ นประเภทสินทรัพยที่ไดกลาวมาแลวขางตน หนี้สิน (liabilities) หมายถึง “ภาระผูกพันในปจจุบันของกิจการ ภาระผูกพันดังกลาวเปนผลของ เหตุการณในอดีต ซ่ึงการชําระภาระผูกพันน้ันคาดวาจะสงผลใหกิจการตองสูญเสียทรัพยากรท่ีมีประโยชนเชิง เศรษฐกิจ” (สภาวิชาชีพบัญชี, 2549, หนา45) หนี้สิน หรือ ภาระผูกพันในปจจุบันของกิจการเกิดจากหนาที่และ ความรับผิดชอบของกิจการท่ีกระทาํ การตามปกติของการดําเนินงานตามประเพณีการคา ทําใหเกิดเจาหน้ีหรือเจาหน้ี การคา ถาเกิดจากการกูยืมเงิน เรียกวา เจาหน้ีเงินกู ซ่ึงทําในรูปสัญญาเงินกู หรือตั๋วสัญญาใชเงิน ถาเปนหนี้ประเภท ต๋ัวเงิน เรียกวา ตั๋วเงินจาย นอกจากน้ันเปนภาระผูกพันท่ีเกิดจากคาใชจายท่ียังไมไดจาย เรียกวา คาใชจายคางจาย หนสี้ นิ แบงเปน 2 ประเภท ดังนี้ หนสี้ ินหมนุ เวียนและหนีส้ นิ ไมหมุนเวยี น (กรมพฒั นาธรุ กิจการคา , 2546, หนา 18) 2.1 หน้ีสินหมุนเวียน (current liabilities) หมายถึง หนี้สินที่ถึงกําหนดชําระภายในระยะเวลา 12 เดือนนับจากวันที่ในงบดุล (งบแสดงฐานะการเงิน) และกิจการคาดวาจะชําระหนี้สินคืนภายในระยะเวลา ดําเนินงานปกติ หนีส้ ินจะจัดประเภทเปนหนีส้ นิ หมนุ เวียน เมือ่ หนสี้ ินน้นั เปนไปตามเง่ือนไขขอ ใดขอหนง่ึ ตอ ไปนี้ 1. คาดวา จะมีการชาํ ระภายในรอบระยะเวลาดาํ เนินงานตามปกติ 2. มวี ตั ถุประสงคหลกั ไวเ พอ่ื คา 3. ถงึ กาํ หนดชาํ ระภายใน 12 เดือนนบั จากวันทีใ่ นงบแสดงฐานะการเงิน(งบดุล) 4. กิจการไมมีสิทธิอันปราศจากเง่ือนไขใหเลื่อนการชําระหนี้ออกไปอีกไมนอยกวา12 เดือนนับจากวันท่ีในงบแสดง ฐานะการเงิน(งบดลุ ) หนีส้ นิ ท่ีไมเปนไปตามเงอื่ นไขขา งตนใหจ ดั ประเภทเปน หน้สี นิ ไมห มุนเวียน รายการที่จดั เปน หนีส้ นิ หมุนเวียนไดแก 18 3821302 หลกั การบัญชีเบ้ืองตน (Fundamental Accounting Principles)

2.1.1 เงินเบิกเกินบัญชี และเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (bank overdrafts and short – term loan) หมายถึง จํานวนเงินท่ีผูฝากเปนหนี้ธนาคาร อันเกิดจากการส่ังจายเงินเกินกวา จํานวนเงินท่ีฝากไว และหน้ีสินที่เกิดจากการกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินไมวาโดยวิธีใดซ่ึงจะตองชําระเงินคืนใน ระยะเวลาสนั้ 2.1.2 เจาหน้ีการคาและเจาหนี้อ่ืน (trade and other payables) เจาหนี้การคา หมายถึง เงินท่ีกจิ การคางชําระคาสินคาหรือบริการที่ซื้อมาเพื่อขายหรือใชในการผลิตหรือ ใชในการบริการตามปกติ และต๋ัวเงินจายที่กิจการออกใหเ พ่อื ชําระคา สนิ คา หรือบรกิ าร เจาหน้ีอื่น หมายถึง เจาหน้ีอ่ืนท่ีไมใชเจาหน้ีการคา เชน รายไดรับลวงหนา (unearned revenue) คาใชจ ายคางจาย (accrued expenses) 2.1.3 สว นของหนี้ระยะยาวที่ถึงกําหนดภายในหนงึ่ ป 2.1.4 เงินกูยืมระยะสั้น หมายถึง เงินกูยืมระยะสั้นจากบุคคล หรือกิจการท่ี เก่ียวของกัน เชน การกูยืมจากบริษัทยอยและบริษัทรวม และการกูยืมระยะสั้นอื่น เชน ต๋ัวเงินจาย การกูเงินมักจะอยู ในรปู ของตัว๋ สัญญาใชเงิน และการใชต๋วั เงินจายเพ่ือเปนคําม่ันสัญญาจะชําระเงินจํานวนหน่ึงที่แนนอนใหแกบุคคลอีก บคุ คลหนึง่ ในเวลาท่กี ําหนด เพอ่ื เปน หลักประกันในการชาํ ระหนท้ี เ่ี กิดจากการซ้อื สนิ คาหรือบริการ 2.1.5ภาษีเงินไดคางจาย (tax payables) หมายถึง คาใชจายภาษีเงินไดนิติบุคคล คางจาย 2.1.6 ประมาณการหน้ีสินระยะสั้น (short-term provisions) หมายถึง หน้ีสินที่คาดวา จะถึงกําหนดชําระภายในหน่ึงปนับจากวันส้ินรอบระยะเวลารายงาน และมีความไมแนนอนเกี่ยวกับระยะเวลาและ จํานวนเงินทีต่ อ งจา ยชาํ ระ 2.1.7หน้ีสินหมุนเวียนอ่ืน (other current liabilities) หมายถึง หน้ีสินหมุนเวียนอ่ืน นอกเหนือไปจากทีก่ าํ หนดไวข า งตน 2.1.8 หน้ีสินทเี่ กีย่ วขอ งโดยตรงกับสินทรพั ยไ มห มนุ เวยี นท่ถี อื ไวเพือ่ ขาย 2.2 หนี้สินไมหมุนเวียน (non – current liability) หมายถึง หนี้สินที่มีระยะเวลาการชําระเงินคืนเกิน กวาระยะเวลา 12 เดือน นับจากวันท่ีในแสดงฐานะการเงิน(งบดุล) หรือเกินกวารอบระยะเวลาการดําเนินงาน ตามปกติของกิจการ ไดแก เงินกูยืมระยะยาว หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ประมาณการหนี้สินระยะยาว สวนของเจาของ (owners’ equities) หมายถึง “สวนไดเสียคงเหลือในสินทรัพยหลังจากการหักหนี้สิน ทั้งสิ้นออกแลว” (สภาวิชาชีพบัญชี, 2549, หนา 21) จากความหมายของสวนของเจาของสามารถสรุปในรูปสมการ ได ดงั น้ี สว นของเจาของ = สินทรัพย - หน้สี ิน การแสดงสวนของเจาของในงบดุลจะแสดงตามรปู แบบของกจิ การดังน้ี กิจการเจาของคนเดียว สวนของเจาของ ประกอบดวย ผลรวมของเงินท่ีเจาของนํามาลงทุน เงินถอนทุน ผลกําไรหรือขาดทุน ซงึ่ จะแสดงในงบแสดงฐานะการเงนิ ไดด ังนี้ 19 3821302 หลกั การบญั ชเี บอื้ งตน (Fundamental Accounting Principles)

สว นของเจาของ XX ทุน XX บวก กาํ ไรสทุ ธิ (หรือหกั ขาดทนุ สทุ ธิ) XX XX หัก ถอนใชส วนตัว XX รวมสว นของเจาของ หา งหุนสวน สวนของเจาของ เรยี กวา สวนของผูเปนหุนสวน ประกอบดวย ผลรวมของเงินลงทุนของผูเปนหุนสวนแต ละคนที่จดทะเบียนนํามาลงไว ถามีการเพิ่มทุนหรือถอนทุนจะแสดงไวในทุน และกําไรขาดทุนสวนที่ยังไมแบงสรร ซ่ึง จะแสดงในงบแสดงฐานะการเงนิ ไดด งั นี้ สว นของผูเปน หุนสวน ทนุ ของผูเ ปน หุนสว น : ทุน ก XX ทุน ข XX ทุน ค XX XX กําไร (ขาดทนุ )สุทธทิ ีย่ ังไมแ บง XX รวมสวนของผเู ปนหุนสวน XX บริษทั จาํ กัด สวนของเจา ของ คอื สว นของผูถอื หนุ (shareholder’s equity)ประกอบดว ย ทุนเรือนหุน สว นเกินมูลคา หนุ กําไรสะสม และองคประกอบอ่นื ของสว นของผูถอื หุน ซึ่งจะแสดงในงบแสดงฐานะการเงินไดดงั น้ี สวนของผถู อื หุน ทนุ เรือนหุน ทุนจดทะเบียน XX ทนุ ท่ชี าํ ระแลว XX สวนเกิน (ต่ํากวา)มลู คา หุน XX กําไร(ขาดทนุ )สะสม จัดสรรแลว ทุนสํารองตามกฎหมาย XX อน่ื ๆ XX XX ยังไมจ ัดสรร XX XX องคประกอบอื่นของสว นของผถู ือหนุ XX รวมสวนของผูถือหนุ XX 20 3821302 หลักการบัญชเี บอ้ื งตน (Fundamental Accounting Principles)

การจดั ทาํ งบแสดงฐานะการเงิน สามารถจัดทาํ ได 2 แบบ คอื แบบบัญชี และแบบรายงาน แบบบัญชี (account form) หรือแบบตัว T (T – account) เปนแบบท่ีแยกแสดงรายการออกเปน 2 ดาน ดานซายแสดงรายการสินทรัพย ดานขวาแสดงรายการหน้ีสินและสวนของเจาของ การจัดทํางบแสดงฐานะ การเงินแบบบญั ชมี ขี น้ั ตอนดังนี้ 1.1 เขยี นชอื่ กิจการ งบแสดงฐานะการเงินและวันที่จดั ทําขอมลู ไวตรงกลางหนา กระดาษแยกแตละบรรทดั 1.2 เขียนหนว ยเงินตราไวด า นขวามอื ของหนา กระดาษ 1.3 ดานซายแสดงรายการสินทรัพยเรียงลําดับตามสภาพคลองของสินทรัพย โดยเริ่มดวยสินทรัพย หมุนเวยี น และสนิ ทรัพยไมห มุนเวียน ตามลาํ ดบั 1.4 ดานขวาแสดงรายการหน้ีสินและสวนของเจาของโดยเร่ิมจากหน้ีสินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน และสว นของเจา ของ ตามลาํ ดับ 1.5 รวมยอดเงินดานซาย (ยอดรวมสินทรัพย) และ รวมยอดเงินดานขวามือ (ยอดรวมหน้ีสินและ สว นของเจาของ) ซ่ึงตองเทา กนั ท้งั สองดา น ตวั อยางที่ 2.1 ตอไปนเ้ี ปนตัวอยางการแสดงงบแสดงฐานะการเงินแบบบัญชีหรอื แบบตัวที ของกจิ การประเภท เจา ของคนเดยี ว รานดารากร งบแสดงฐานะการเงิน ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 25X1 สนิ ทรัพย หนส้ี ินและสว นของเจาของ สนิ ทรัพยหมุนเวยี น หนีส้ นิ หมนุ เวยี น เงินสดและเงินฝากธนาคาร เงนิ ลงทุนชว่ั คราว 228,000 เงนิ เบิกเกินบัญชีธนาคาร 158,000 ลกู หน้ีการคา 345,000 หักคา เผ่อื หน้สี งสยั จะสูญ 240,000 เจา หนี้การคา 220,000 สินทรัพยหมนุ เวียนอืน่ 18,000 รวมสินทรพั ยห มุนเวียน 56,000 ต๋ัวเงนิ จา ย 25,000 สนิ ทรัพยไมห มนุ เวยี น 150,000 2,000 54,000 ดอกเบีย้ คางจา ย ทดี่ ิน 3,000 อาคาร 25,000 เงนิ กรู ะยะยาวถงึ กาํ หนดชําระในหนึ่งป 919,000 หกั คาเสื่อมราคาสะสม-อาคาร อปุ กรณ 547,000 เงนิ กยู ืมระยะส้ัน 300,000 หักคา เสอ่ื มราคาสะสม-อปุ กรณ 50,000 พันธบัตรรฐั บาล หน้ีสนิ หมุนเวียนอน่ื 350,000 สทิ ธิบตั ร 1,269,000 280,000 รวมหนี้สินหมนุ เวยี น 450,000 หน้สี ินไมห มนุ เวียน 55,000 395,000 เงินกูย มื ระยะยาว 144,000 หนี้สินไมห มนุ เวียนอ่ืน 48,000 96,000 รวมหน้ีสนิ ไมหมุนเวยี น 250,000 65,000 21 3821302 หลกั การบัญชเี บอ้ื งตน (Fundamental Accounting Principles)

สินทรพั ยไมห มุนเวยี นอนื่ 22,000 สว นของเจาของ 400,000 รวมสินทรัพยไมห มนุ เวียน 1,108,000 ทุน 75,000 475,000 รวมสินทรัพย บวก กาํ ไรสุทธิ 89,000 หัก ถอนใชสวนตัว 386,000 1,655,000 รวมหนส้ี นิ และสว นของเจาของ 1,655,000 แบบรายงาน (report form) เปน แบบทีแ่ สดงรายการเปนหมวดหมู เรยี งรายการสนิ ทรัพย หนี้สนิ และ สวนของเจา ของ ตามลาํ ดับ โดยมขี ัน้ ตอนการจดั ทาํ งบแสดงฐานะการเงนิ ไดดังน้ี 2.1 เขยี นชื่อกิจการ งบแสดงฐานะการเงนิ และวันท่ที จี่ ัดทาํ ขอ มูลไวตรงกลางหนากระดาษแยกแตล ะบรรทัด 2.2 เขยี นหนวยเงนิ ตราไวด า นขวามือของหนา กระดาษ 2.3 เขยี นคําวา สินทรัพย กลางหนากระดาษและแสดงรายการสินทรพั ยเ รยี งตามลาํ ดบั สภาพคลอง โดยเร่มิ จากสินทรพั ยห มุนเวียน สินทรัพยไ มหมุนเวียน รวมยอดแตละประเภทของสนิ ทรัพย และยอดรวมของสินทรัพย ทัง้ สิน้ 2.4 เขยี นคําวา หนีส้ นิ และสวนของเจาของ ตรงกลางหนากระดาษ และแสดง รายการเรียงตามหนี้สิน หมุนเวียน หนี้สินไมห มุนเวยี นและสว นของเจา ของ ตามลําดับ รวมยอดหนส้ี ินและสว นของเจาของ ซง่ึ ตองเทา กับยอด รวมของสินทรัพยท้งั สิน้ ตวั อยา งท่ี 2.2 ตอไปน้เี ปน ตัวอยา งการแสดงงบแสดงฐานะการเงินแบบรายงานของกิจการเจา ของคนเดียว รา นดารากร งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25X1 สนิ ทรัพยหมุนเวียน สินทรัพย 228,000 เงนิ สดและเงินฝากธนาคาร 240,000 เงินลงทุนช่วั คราว 56,000 ลกู หน้ีการคา 2,000 54,000 หัก คาเผือ่ หน้ีสงสยั จะสูญ 25,000 สนิ ทรพั ยหมนุ เวียนอ่ืน 450,000 547,000 รวมสินทรพั ยห มุนเวียน 55,000 280,000 สินทรพั ยไ มห มนุ เวยี น ทดี่ นิ 395,000 อาคาร หัก คา เสอื่ มราคาสะสม – อาคาร 22 3821302 หลักการบัญชเี บ้ืองตน (Fundamental Accounting Principles)

อุปกรณ 144,000 96,000 หัก คา เสอื่ มราคาสะสม – อปุ กรณ 48,000 250,000 พันธบัตรรัฐบาล 65,000 สิทธิบัตร 22,000 สนิ ทรัพยไ มหมุนเวียนอน่ื 1,108,000 รวมสินทรัพยไ มหมุนเวียน 1,655,000 รวมสนิ ทรัพย 158,000 หนส้ี ินและสว นของเจา ของ 345,000 220,000 หนส้ี ินหมนุ เวียน 18,000 25,000 เงนิ เบกิ เกินบัญชีธนาคาร 150,000 เจา หน้กี ารคา 3,000 919,000 ตั๋วเงินจา ย 300,000 ดอกเบ้ยี คา งจา ย 50,000 350,000 เงนิ กูระยะยาวถึงกําหนดชําระในหนึ่งป 1,269,000 เงินกูยืมระยะสั้น 386,000 1,655,000 หนีส้ นิ หมนุ เวียนอน่ื รวมหนี้สินหมุนเวยี น หนีส้ นิ ไมหมุนเวยี น เงนิ กยู ืมระยะยาว หน้สี นิ ไมหมุนเวียนอนื่ รวมหน้สี ินไมห มุนเวยี น รวมหนส้ี ิน สว นของเจา ของ ทุน 400,000 บวก กําไรสุทธิ 75,000 475,000 หกั ถอนใชส ว นตัว 89,000 รวมหน้สี ินและสวนของเจา ของ งบกําไรขาดทนุ เบ็ดเสร็จ (Statement of Comprehensive Income) งบเฉพาะกําไรขาดทุน หมายถึง รายงานทางการเงินที่ทําขึ้นเพ่ือแสดงผลการดําเนินงานของกิจการ สาํ หรับงวดเวลาหน่ึง เพ่ือสรุปใหเห็นวาเม่ือเปรียบเทียบรายไดกับคาใชจายของงวดเวลานั้นแลว จะมีผลกําไร เสมอตัว หรือ ขาดทุนเทาใด (งบเฉพาะกําไรขาดทุนคืองบกําไรขาดทุนเดิม) งบเฉพาะกําไรขาดทุนจะนําไปแสดงเปนสวนหน่ึง ของงบกาํ ไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ 23 3821302 หลักการบญั ชีเบ้อื งตน (Fundamental Accounting Principles)

รายได – คา ใชจาย = กาํ ไร (ขาดทุน) สาํ หรบั ป การแสดงงบเฉพาะกําไรขาดทุน สามารถแสดงได 2 รูปแบบ คือ การแสดงงบเฉพาะกําไรขาดทุนแสดง คาใชจายตามหนาท่ี และงบเฉพาะกําไรขาดทุนแสดงคาใชจายตามลักษณะของคาใชจาย โดยหากกิจการนําเสนองบ เฉพาะกําไรขาดทุนแสดงคาใชจายตามหนาท่ีกิจการจะตองเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมเก่ียวกับลักษณะของคาใชจายใน หมายเหตุประกอบงบการเงนิ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หมายถึง รายการรายไดและคาใชจาย (รวมถึง การปรับปรุงการจัด ประเภทรายการใหม) ซง่ึ ไมอ นญุ าตใหรบั รใู นงบเฉพาะกาํ ไรขาดทุน โดยมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ อืน่ องคป ระกอบของกําไรขาดทุนเบด็ เสรจ็ อนื่ ประกอบดว ย 1. การเปลีย่ นแปลงในสวนเกินทุนจากการตรี าคาสนิ ทรัพย 2. ผลกาํ ไรและขาดทนุ จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยตามโครงการผลประโยชน พนักงาน 3. ผลกาํ ไรและขาดทนุ จากการแปลงคา งบการเงนิ ของการดําเนินงานในตา งประเทศ 4. ผลกาํ ไรและขาดทนุ จากการวัดมูลคา สินทรพั ยทางการเงนิ เผอ่ื ขาย 5. สวนของผลกําไรขาดทุนที่มีประสิทธิผลจากเคร่ืองมือปองกันความเส่ียงในการปองกันความเส่ียงใน กระแสเงนิ สด รายได (Revenues หมายถึง “กระแสเขาของประโยชนเชิงเศรษฐกิจ (กอนหักคาใชจาย) ในรอบ ระยะเวลาบัญชีซึ่งเกิดข้ึน จากกจิ กรรมตามปกตขิ องกจิ การ เมื่อกระแสเขาน้ันสงผลใหสวนของเจาของเพ่ิมข้ึน ท้ังน้ีไม รวมถงึ เงินลงทุนที่ไดรับจากผูมีสวนรวมในสวนของเจาของ” (สภาวิชาชีพบัญชี 2549, หนา 61) นอกจากรายไดตาม นิยามศัพทแลว รายไดตามแมบทการบัญชีไดรวมถึง “รายการกําไรและรายไดที่เกิดจากการดําเนินกิจกรรมตามปกติ ของกจิ การ รายไดด ังกลาว ไดแ ก รายไดจ ากการขาย รายไดคาธรรมเนียม รายไดดอกเบ้ีย รายไดเงินปนผล และรายไดคา เชา” (สภาวิชาชพี บญั ชี, 2549, หนา 22) สําหรับการรับรูรายได กิจการควรรับรูรายไดเมื่อประโยชน เชิงเศรษฐกิจในอนาคตเพ่ิมข้ึน เน่ืองจาก การเพิม่ ขนึ้ ของสินทรัพยหรอื การลดลงของหน้สี ินและเมื่อกิจการสามารถวัดคาของประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตได อยางนาเช่ือถือ หรืออีกนัยหน่ึง คือ การรับรูรายไดจะเกิดขึ้นพรอมกับการรับรูสวนที่เพิ่มขึ้นของสินทรัพยหรือสวนที่ ลดลงของหนี้สิน เชน สินทรัพยสุทธิจะเพ่ิมข้ึน เมื่อกิจการขายสินคาหรือใหบริการ หรือหนี้สินจะลดลง เมื่อเจาหน้ี ยก หนีใ้ ห และกาํ หนดเกณฑก ารรับรรู ายไดจะรบั รเู ม่ือเกดิ ขึ้นแลว ใหกิจการรับรูรายไดเฉพาะรายการที่มีความแนนอนเพียงพอ และสามารถวดั คา ไดอยางนาเชือ่ ถือ (สภาวชิ าชพี บัญชี, 2549, หนา 26) รายไดแ บง เปน 2 ประเภท ดังนี้ 1.1 รายไดจากการขายหรือการใหบริการ (revenues from sales or revenues from services ) หมายถึง รายไดท่ีเกิดขึ้นจากการดําเนินงานตามปกติของกิจการ โดยแยกแสดงเปนรายไดหลักแตละประเภท เชน รายไดจากการขายสินคา รายไดจากการใหบรกิ าร 1.2 รายไดอ่ืน (other revenue) หมายถึง รายไดอันมิไดเกิดจากการดําเนินงานตามปกติของกิจการ เชน ผลกําไรจากการขายเงินลงทุน ผลกําไรจากการขายที่ดนิ อาคาร อปุ กรณ 24 3821302 หลกั การบัญชีเบอ้ื งตน (Fundamental Accounting Principles)

คาใชจาย (Expenses) หมายถึง “ตนทุนสวนที่หักออกจากรายไดในระอบระยะเวลาการดําเนินงาน หนึ่ง” (สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย 2538, หนา 45) และหมายความรวมถึง รายการ ขาดทุนและคาใชจายที่เกิดจากการดําเนินกิจกรรมตามปกติของกิจการ คาใชจายดังกลาว ไดแก ตนทุนขาย คาแรงงาน คาเส่ือมราคา เปนตน คาใชจายมักอยูในรูปกระแสออกหรือการเสื่อมคาของสินทรัพย เชน เงินสด และ รายการเทียบเทาเงินสด สินคาคงเหลอื ทีด่ นิ อาคารและอปุ กรณ (สภาวิชาชพี บัญช,ี 2549, หนา 23) ดังน้ัน คาใชจาย จึงหมายถึง ตนทุนท่ีใชไปเพื่อใหเกิดรายได อันเกิดจากการดําเนินกิจกรรมตามปกติ ของกิจการในรูปกระแสออกหรือการลดคาของสินทรัพยห รอื การเพ่มิ ขึน้ ของหน้ีสิน อนั สง ผลใหส วนของเจาของลดลง สําหรับการรับรูคาใชจายตามแมบทการบัญชีกําหนดให กิจการควรรับรูคาใชจายในงบกําไรขาดทุน เมื่อประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตลดลง เน่ืองจากการลดลงของสินทรัพย หรือการเพ่ิมขึ้นของหน้ีสิน และเมื่อ กิจการสามารถวัดคาของประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตไดอยางนาเชื่อถือ อีกนัยหนึ่งการรับรูคาใชจายจะเกิดข้ึน พรอ มกบั การรับรสู วนทเี่ พิม่ ขนึ้ ของหนีส้ นิ หรอื สว นท่ลี ดลงของสนิ ทรพั ย เชน การตัง้ คาแรงคางจาย หรือการตัดคาเส่ือม ราคาของอปุ กรณ การรับรูคาใชจายในงบกําไรขาดทุน ใหใชเกณฑความเกี่ยวพันโดยตรงระหวางตนทุนท่ีเกิดขึ้นกับรายได ที่ไดจากรายการเดียวกัน เกณฑนี้ เรียกวา การจับคูรายไดและคาใชจาย ซึ่งกําหนดใหเกิดการรับรูรายไดพรอม กับคาใชจายที่เกิดขึ้นจากรายการ หรือเหตุการณทางบัญชีเดียวกัน เชน กิจการจะรับรูตนทุนขายพรอมกับรายไดที่ เกิดจากการขายสินคา เมื่อกิจการคาดวาประโยชนเชิงเศรษฐกิจของรายการจะเกิดในหลายรอบระยะเวลาบัญชี และคาใชจายที่เกิดข้ึนไมสัมพันธโดยตรงกับรายได กิจการควรรับรูคาใชจายนั้นในงบกําไรขาดทุนตามเกณฑการปน สวนอยางเปนระบบ และสมเหตุสมผล กรณีการรับรูคาใชจายเก่ียวกับการใชสินทรัพย เชน อาคาร อุปกรณ คาความ นิยม สิทธิบัตร เครื่องหมายการคา เปนตน คาใชจายดังกลาวเรียกวา คาเส่ือมราคาหรือคาตัดจําหนาย กิจการควรรับรู คาใชจายในงบกําไรขาดทุนทันทีท่ีรายจายน้ันไมกอใหเกิดประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคต หรือเม่ือประโยชนเชิง เศรษฐกิจในอนาคตสว นนนั้ ไมเขาเกณฑการรับรูเปนสินทรพั ยในงบดลุ อีกตอ ไป (สภาวชิ าชพี บญั ช,ี 2549, หนา 26-27) 1. ตน ทุนขาย หรอื ตน ทุนการใหบริการ(cost of the sale of goods and the rendering opf services) 2. คาใชจายในการขาย (selling expenses) เปนคาใชจายท่ีเกิดข้ึนเกี่ยวของโดยตรงกับการขาย เชน คา โฆษณา คา นายหนา เงินเดอื นพนกั งานขาย คา ขนสง เปนตน 3. คาใชจายในการบริหาร (administrative expenses) เปนคาใชจายทั่วไปที่เกิดขึ้นในการบริหารกิจการ เชน เงินเดอื นฝา ยบรหิ าร คาเชา คา เสื่อมราคา หน้สี งสัยจะสูญ เปน ตน 4. คาใชจายอ่ืน (other expenses) คาใชจายนอกเหนือจากที่กลาวมาขางตน เชน ผลขาดทุนจากการ จาํ หนา ยสนิ ทรพั ย ผลขาดทนุ จากการหยดุ งานของพนักงาน 5. ตนทุนทางการเงิน (finance cost) เปนคาใชจายท่ีเกิดขึ้นเนื่องจากการที่กิจการตองจัดหาเงินทุนมา ดาํ เนนิ งาน เชน ดอกเบย้ี เงนิ กู คา ธรรมเนยี มธนาคาร การจดั ทํางบกําไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ รปู แบบการจดั เรียงรายการใน งบกาํ ไรขาดทนุ เบ็ดเสรจ็ มี 2 วธิ ี คือ 1. แสดงคาใชจายตามลักษณะของคาใชจาย (by nature) ในบทนี้ไมไดนําเสนอตัวอยางไว นักศึกษาจะ ไดศกึ ษารายละเอยี ดจากวิชาการบัญชขี นั้ กลางในลําดับตอไป 25 3821302 หลักการบญั ชีเบอ้ื งตน (Fundamental Accounting Principles)

2. แสดงคา ใชจ ายตามหนาที่ (by function) 2.1. วิธแี สดงยอดข้ันเดยี ว (Single – Step Form) 2.2. วธิ แี สดงยอดหลายขั้น (Multiple – Step Form) แบบแสดงยอดข้ันเดียว (Single Step) ในแบบน้ี กิจการจะรวมรายไดท้ังหมดไวดวยกันและ คาใชจ ายท้ังหมดไวดวยกัน และคาํ นวณหากําไรสุทธขิ องกิจการในตอนทายของ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ แบบข้ันตอน เดียว ดงั ตวั อยางตอ ไปนี้ (แสดงการนําเสนอกําไรขาดทนุ เบด็ เสร็จ –บางสวน และ แสดงคา ใชจ า ยตามหนาท)่ี รายได xx รายไดจากการขายหรือการใหบริการ xx รายไดอ นื่ xx รวมรายได คา ใชจ าย (xx) ตนทนุ ขายหรอื ตนทนุ การใหบ รกิ าร (xx) คา ใชจายในการขาย (xx) คา ใชจา ยในการบรหิ าร (xx) คา ตอบแทนผูบ ริหาร (xx) คา ใชจายอื่น (xx) รวมคาใชจ า ย xx กําไร (ขาดทนุ ) กอนตน ทุนทางการเงนิ และภาษีเงนิ ได (xx) ตน ทนุ ทางการเงนิ xx กําไร (ขาดทุน) กอ นภาษเี งนิ ได (xx) ภาษีเงินได xx กาํ ไร (ขาดทุน) สุทธสิ าํ หรบั ป แบบแสดงยอดหลายข้ัน (Multiple Step) โดยแสดงยอดกําไรหลายข้ัน ตามลําดับดังน้ี กําไรข้ันตน กําไรกอนคาใชจาย กําไรกอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได กําไรกอนภาษีเงินได และกําไรสุทธิสําหรับป โดย แสดงการนําเสนอกําไรขาดทนุ เบด็ เสร็จ –บางสวน แสดงคา ใชจ ายตามหนา ท่ี –แบบหลายขนั้ ไดดงั นี้ รายไดจากการขายหรือการใหบริการ xx หกั ตน ทนุ ขายหรอื ตน ทุนการใหบ รกิ าร (xx) กาํ ไร(ขาดทุน)ข้นั ตน xx รายไดอื่น (xx) กาํ ไร (ขาดทุน) กอ นคา ใชจ า ย xx คา ใชจายในการขาย (xx) 26 3821302 หลักการบญั ชเี บือ้ งตน (Fundamental Accounting Principles)

คาใชจา ยในการบรหิ าร (xx) คาตอบแทนผบู รหิ าร (xx) คา ใชจ า ยอน่ื (xx) กําไร (ขาดทนุ ) กอนตน ทนุ ทางการเงินและภาษีเงนิ ได xx หกั ตนทนุ ทางการเงิน (xx) กําไรกอนภาษีเงนิ ได xx หัก ภาษเี งินได (xx) กาํ ไร (ขาดทนุ ) สทุ ธสิ าํ หรับป xx (ทีม่ า : กรมพฒั นาธุรกิจการคา กระทรวงพาณชิ ย) งบกาํ ไรขาดทุนเบ็ดเสรจ็ งบกาํ ไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ (แบบส้นั ) หนวย : บาท 25X2 25X1 1. กําไรขาดทุนเบด็ เสร็จอื่น 1.1 สว นเกนิ ทุนจากการตรี าคาสนิ ทรพั ย 1.2 สินทรัพยท างการเงินเผ่อื ขาย 1.3. ------------------------------------ รวมรายการที่ยงั ไมรบั รใู นงบกําไรขาดทุน 2. กําไร (ขาดทนุ ) เบ็ดเสร็จรวมสาํ หรับป 3. ภาษเี งินไดเ กี่ยวกับองคประกอบของงบกําไรขาดทนุ เบ็ดเสร็จอน่ื 4. กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสาํ หรับป ในกรณที ีก่ ิจการเลือกแสดงงบกําไรขาดทนุ เบ็ดเสรจ็ สทุ ธิหลงั ภาษี ตองเปด เผยภาษเี งินไดที่เกี่ยวของกบั แตละองคป ระกอบของกาํ ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงินดว ย บริษัท............ งบเฉพาะกาํ ไรขาดทุน จําแนกคา ใชจ ายตามหนาที*่ -แบบหลายขน้ั สําหรบั ระยะเวลา 1 ป สน้ิ สุดวันท่ี 31 ธนั วาคม 25x2 หนวย : บาท 25X2 25X1 รายไดจากการขายหรอื การใหบรกิ าร ตน ทนุ ขายหรอื ตนทนุ การใหบรกิ าร กําไร(ขาดทนุ )ขัน้ ตน รายไดอืน่ กาํ ไร(ขาดทนุ )กอนคา ใชจา ย 27 3821302 หลักการบัญชเี บอ้ื งตน (Fundamental Accounting Principles)

คาใชจา ยในการขาย คาใชจ ายในการบริหาร คา ใชจ า ยอืน่ รวมคาใชจ า ย กําไร (ขาดทนุ ) กอนตนทุนทางการเงินและภาษเี งินได ตนทุนทางการเงนิ กําไร (ขาดทุน) กอนภาษเี งินได ภาษเี งนิ ได กําไร (ขาดทุน) สทุ ธิ *กรณีท่ีกิจการนําเสนองบเฉพาะกําไรขาดทุน แบบจําแนกคาใชจายตามหนาที่ กิจการจะตองเปดเผยขอมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับคาใชจาย ตามลักษณะของคาใชจ ายในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน ตามท่กี าํ หนดในมาตรฐานการบญั ชี บรษิ ทั ............ งบเฉพาะกําไรขาดทุน จาํ แนกคา ใชจ า ยตามลกั ษณะของคา ใชจ าย สาํ หรับระยะเวลา 1 ป สิ้นสดุ วันท่ี 31 ธนั วาคม 25x2 หนว ย : บาท 25X2 25X1 รายได รายไดจ ากการขายหรือการใหบ รกิ าร รายไดอ ื่น ดอกเบ้ียรับ รวมรายได คาใชจ าย การเปลี่ยนแปลงในสินคาสาํ เรจ็ รปู และงานระหวางทํา งานทก่ี จิ การทําและถอื เปนรายจายฝา ยทนุ (สินทรพั ย) วตั ถุดบิ และวัสดุสนิ้ เปลืองใชไป คาใชจายพนกั งาน คา เสื่อมราคาและคาตัดจาํ หนา ย ขาดทนุ จากการดอยคาของสินทรพั ย คา ใชจา ยอ่นื รวมคาใชจ าย กําไร (ขาดทุน) กอ นตน ทุนทางการเงินและภาษเี งนิ ได ตนทนุ ทางการเงนิ กาํ ไร (ขาดทนุ ) กอนภาษเี งนิ ได ภาษีเงินได กาํ ไร (ขาดทนุ ) สุทธิ 28 3821302 หลักการบัญชเี บื้องตน (Fundamental Accounting Principles)

งบแสดงการเปล่ยี นแปลงในสวนของเจา ของ งบแสดงการเปล่ียนแปลงในสวนของเจาของ (statement of changes in equity) เปนงบที่แสดงใหเห็น ถึงการเปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของระหวางตนงวดกับปลายงวด โดยสะทอนใหเห็นถึงกําไรและขาดทุนทั้งหมดท่ีเกิด จากการดําเนินงานของกิจการในระหวางงวด ซึ่งหากกิจการไมจัดทํางบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของ กิจการสามารถจัดทาํ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จแทนก็ได (กรมพฒั นาธุรกจิ การคา, 2546, หนา 16) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสว นของเจาของในรูปแบบบริษัท เรียกวา งบแสดงการเปล่ียนแปลงในสวน ของผูถือหุน ในรูปแบบหางหุนสวน เรียกวา งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของผูเปนหุนสวน และในรูปแบบกิจการ เจา ของคนเดยี ว เรียกวา งบแสดงการเปล่ยี นแปลงในสวนของเจา ของ (กาญจนา ศรพี งษ, 2545, หนา 2 – 9) ดังนั้น งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของ เปนงบแสดงรายละเอียดของการเปล่ียนแปลง ทุกรายการในสวนของเจาของระหวางตนงวดกับปลายงวด ซ่ึงแสดงใหเห็นถึงการเพิ่มข้ึน หรือลดลงของสินทรัพยสุทธิ หรอื ความมง่ั คัง่ ของกจิ การ และสามารถแสดงใหเหน็ ถึงกําไร และขาดทุนทั้งหมดที่เกิดจากการดําเนินงานของกิจการ ในระหวางงวดบัญชี หากไมรวมรายการที่เกี่ยวกับผูเปนเจาของ เชน เงินลงทุน และเงินปนผล นอกจากนั้นกิจการ สามารถจัดทาํ งบกําไรขาดทุนแบบเบด็ เสรจ็ แทนการจัดทาํ งบแสดงการเปลีย่ นแปลงในสว นของเจาของได ตอ ไปน้ีเปนตวั อยา งงบแสดงการเปล่ียนแปลงในสว นของผถู ือหุน บรษิ ทั …………….จํากัด หนวย: บาท งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของผถู อื หุน สําหรับป สนิ้ สุดวนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25X2 หมายเหตุ ทุน สว นเกิน ผลกําไร ผลตา ง กําไร รวม เรอื นหนุ มลู คา หนุ (ขาดทนุ ) จากการ (ขาดทุน) ทยี่ งั ไม แปลง สะสม เกดิ ขึ้นจรงิ คางบ การเงิน ยอดคงเหลือตนงวด 25X0 ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชี ผลสะสมจากการแกไ ขขอผิดพลาด ยอดคงเหลือท่ีปรับปรุงแลว ผลกาํ ไร(ขาดทนุ )ท่ียงั ไมเกิดขน้ึ จรงิ ผลกําไรจาการตีราคาสินทรัพย เงินลงทุนเผ่อื ขาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน รวมรายได(คาใชจาย)ท่ีรับรูในสวนของผูถอื หุน กําไรสุทธปิ ระจํางวด ป25X0 รวมรายได( คาใชจาย)ทรี่ ับรูสาํ หรบั งวด จา ยปนผล เพ่มิ (ลด)ทุน ยอดคงเหลอื ปลายงวด 25X0 ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงนโยบายการบัญชี ผลสะสมจากการแกไขขอ ผดิ พลาด 29 3821302 หลักการบญั ชเี บอื้ งตน (Fundamental Accounting Principles)

ยอดคงเหลอื ทป่ี รับปรุงแลว ผลกาํ ไร(ขาดทุน)ท่ียังไมเ กดิ ขน้ึ จรงิ ผลกําไรจาการตีราคาสินทรัพย เงินลงทุนเผ่ือขาย ผลตา งจากการแปลงคา งบการเงิน รวมรายได( คาใชจ าย)ท่ีรับรใู นสวนของผูถ ือหุน กาํ ไรสุทธปิ ระจาํ งวด ป25X1 รวมรายได( คา ใชจ าย)ท่รี ับรูสาํ หรับงวด จา ยปนผล เพมิ่ (ลด)ทุน ยอดคงเหลือ ปลายงวด 25X1 (ทมี่ า : กรมพฒั นาธุรกจิ การคา กระทรวงพาณชิ ย) งบกระแสเงนิ สด งบกระแสเงินสด (cash flow statement) เปนงบที่แสดงใหเห็นถึงการเคลื่อนไหวของเงินสดของกิจการ วากิจการไดรับเงินสดมาจากแหลงใดบางและใชเงินสดไปในทางใดบาง (กรมพัฒนาธุรกิจการคา, 2546, หนา 16) ตาม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 (สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย, 2546, หนา 108) ไดให คํานิยาม กระแสเงินสดไววา “กระแสเงินสด หมายถึง การไดมาและใชไปของเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด” และไดกําหนดใหกิจการตองจัดทํางบกระแสเงินสด โดยถือเปนงบหนึ่งของงบการเงินที่เสนอในแตละรอบระยะเวลา บัญชี เพื่อเปนการใหขอมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนของเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดของกิจการ โดย จําแนกกระแสเงินสดท่ีเกิดขึ้นจากกิจกรรมดําเนินงาน (operating activities) กิจกรรมลงทุน (investment activities) และกิจกรรมจัดหาเงิน (financing activities) ดังนั้น งบกระแสเงินสด หมายถึง รายงานทางการเงินที่แสดงการไดมา และใชไปของเงินสด และรายการเทียบเทาเงินสดของกิจการในระหวางงวดบัญชีหนึ่ง โดยแสดงกระแสเงินสดรับ (cash inflows) และกระแสเงินสดจาย (cash outflows) จากกิจกรรมดําเนินงาน กิจกรรมลงทุนและกิจกรรมจัดหาเงิน งบกระแส เงนิ สดจงึ ประกอบดวยกิจกรรม 3 กจิ กรรม ซ่ึงมรี ายละเอียดและวธิ กี ารจัดทํางบกระแสเงินสด ดังน้ี 1. กิจกรรมดําเนินงาน หมายถึง กิจกรรมหลักท่ีกอใหเกิดรายไดของกิจการ และ กิจกรรมอื่นที่มิใชกิจกรรมลงทุนหรือกิจกรรมจัดหาเงิน ซึ่งเปนกระแสเงินสดที่กิจการสามารถนํามาใชจาย โดยไม ตองพึ่งพาการจัดหาเงินจากแหลงเงินภายนอก เชน เงินสดรับจากการขายสินคาและการใหบริการ เงินสดจายในการ ซือ้ สนิ คาและบรกิ าร เปนตน 2. กิจกรรมลงทุน หมายถึง การซ้ือ และจําหนายทรัพยสินระยะยาว และเงินลงทุนอื่น ซ่ึงไมรวมอยูในรายการเทียบเทาเงินสดท่ีกอใหเกิดรายได และกระแสเงินสดรับในอนาคต เชน เงินสดจายเพ่ือซื้อที่ดิน อาคาร และอปุ กรณ สินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดที่ไดรับจากการขายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน เปน ตน 3. กิจกรรมจัดหาเงิน หมายถึง กิจกรรมท่ีมีผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในขนาดและ องคประกอบของสว นผูเปน เจา ของ และสว นกยู ืมของกจิ การ เชน เงินสดไดรับจากการออกหุนทุน การออกพันธบัตรหุน กู เงนิ กยู ืม เงินสดจา ยเพื่อชาํ ระเงนิ กูยืม เปนตน 30 3821302 หลกั การบัญชีเบ้ืองตน (Fundamental Accounting Principles)

ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 กําหนดใหกิจการสามารถแสดงกระแสเงินสดจากกิจกรรม ดาํ เนินงานได 2 วธิ ี คอื วิธีทางตรง หรอื วธิ ีทางออ ม ตัวอยา งท่ี 2.3 ตอไปนี้เปน ตวั อยา งการแสดงงบกระแสเงนิ สดโดยวิธีทางตรง หนวย : บาท บริษทั วทิ ยา จํากัด งบกระแสเงินสด 256,100 สําหรับป ส้นิ สุดวนั ท่ี 31 ธันวาคม พ.ศ. 25X1 (160,000) กระแสเงนิ สดจากกิจกรรมการดําเนนิ งาน (78,000) เงินสดรับจากลูกคา 860,000 18,100 เงนิ สดรับจากเงินปนผล 120,000 50,000 เงนิ สดจายแกเจาหนี้ (355,000) 68,100 เงนิ สดจายในการดําเนินงาน (159,400) เงนิ สดจายคา ดอกเบ้ีย (62,700) เงนิ สดจายคา ภาษี (146,800) เงนิ สดรับสุทธิจากกจิ กรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกจิ กรรมลงทนุ 80,000 (30,000) เงินสดรบั จากการขายเครอ่ื งจกั ร (210,000) ซ้อื เงินลงทนุ ระยะส้ันเพิ่ม ซ้อื ทด่ี นิ เพ่ิม 100,000 เงินสดสุทธใิ ชไปในกจิ การลงทนุ 30,000 กระแสเงินสดจากกิจการจัดหาเงนิ (8,000) เงนิ สดจากการเพ่มิ ทนุ หนุ บรุ มิ สิทธิ์ (200,000) เงนิ สดรับจากการขายหุนทุนซอ้ื คนื จายคืนตัว๋ เงนิ ระยะยาว จา ยเงินปนผล เงินสดสทุ ธิใชไปในกจิ กรรมจดั หาเงนิ เงินสดสุทธิเพิ่มข้ึน เงินสด ณ วันท่ี 1 มกราคม 25X1 เงินสด ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 25X1 ที่มา (สมาคมนกั บญั ชแี ละผสู อบบญั ชีรบั อนญุ าต, 2546, หนา 126-127) 31 3821302 หลกั การบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles)

ตวั อยา งที่ 2.4 ตอ ไปนี้เปน การแสดงงบกระแสเงนิ สดโดยวธิ ีทางออ ม บริษัท วทิ ยา จํากัด งบกระแสเงนิ สด สําหรับป สน้ิ สุดวันท่ี 31 ธันวาคม พ.ศ. 25X1 หนว ย: บาท 320,100 กระแสเงนิ สดจากกิจกรรมการดําเนนิ งาน (64,000) กําไรสุทธิ 256,100 ปรบั กระทบกาํ ไรสุทธเิ ปน เงินสดรับ (จาย) จากกิจกรรมดําเนนิ งาน (160,000) คา เสื่อมราคา / รายจา ยตดั จาย 57,200 (78,000) 18,100 เบย้ี ประกนั จา ยลว งหนา ลดลง 4,800 50,000 68,100 วัสดุสํานักงานลดลง 2,300 เจา หนก้ี ารคา เพิ่มข้ึน 18,000 ภาษเี งินไดคางจายเพิ่มขึ้น 13,200 คา ใชจ ายคางจา ยเพิ่มข้ึน 6,000 สว นลดเจา หน้ีหุนกูตัดจา ย 12,500 ลูกหนีก้ ารคาเพ่ิมข้ึน (20,000) สนิ คาคงเหลือเพิ่มขึ้น (48,000) กําไรจากการขายเงนิ ลงทุนระยะยาว (85,000) กําไรจากการขายเครื่องจกั ร (25,000) เงินสดสุทธจิ ากกิจกรรมดาํ เนนิ งาน กระแสเงินสดจากกจิ กรรมลงทนุ เงินสดรับจากการขายเคร่อื งจกั ร 80,000 ซื้อเงินลงทนุ ระยะสัน้ เพม่ิ ขึน้ (30,000) ซ้อื ทด่ี ินเพิม่ (210,000) เงินสดสทุ ธิใชไปในกจิ กรรมลงทุน กระแสเงนิ สดจากกจิ กรรมจดั หาเงนิ เงนิ สดรับจากการเพม่ิ หุนบุริมสิทธ์ิ 100,000 เงนิ สดรบั จากการขายหุนทุนซ้อื คืน 30,000 ชาํ ระคนื ตว๋ั ระยะยาว (8,000) จายเงินปนผล (200,000) เงินสดสทุ ธใิ ชไปในกจิ กรรมจดั หาเงิน เงินสดสทุ ธิเพิม่ ขนึ้ เงนิ สด ณ วนั ท่ี 1 มกราคม 25X1 เงินสด ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 25X1 32 3821302 หลักการบญั ชเี บอ้ื งตน (Fundamental Accounting Principles)

ขอ มลู กระแสเงนิ สดเปด เผยเพิ่มเตมิ เงนิ สดจา ยระหวา งป ดอกเบ้ียจาย 62,700 ภาษเี งินได 146,800 ทมี่ า (สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชรี ับอนญุ าตแหง ประเทศไทย, 2546, หนา 132-133) การจัดทํางบกระแสเงินสดตามวิธีทางตรงจะใหขอมูลท่ีดี เพราะแสดงรายการเงินสดรับและจายของ รายการในงบกําไรขาดทุนโดยตรง อันเปนประโยชนตอการประเมินความสามารถของกิจการท่ีจะไดเงินสดมาจาก กิจกรรมการดําเนินงานเพ่ือใชจายในกิจการ สวนวิธีทางออมคํานวณงายกวา แสดงใหเห็นความแตกตางระหวางกําไร สุทธิกับกระแสเงินสดสุทธิจากการดําเนินงานและขอมูลระหวางงบกระแสเงินสดกับงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และงบ แสดงฐานะการเงนิ หมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินที่จะตองแสดงขอมูลไวทายงบการเงิน ซง่ึ ให รายละเอียดมากกวา ที่ปรากฏในงบการเงิน ทงั้ นีเ้ ปนการปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชี ฉบบั ท่ี 35 โดยมีรายละเอยี ดที่ จะศึกษาตอไปดังนี้ 1. นโยบายการบัญชี ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 39 (สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับ อนุญาตแหงประเทศไทย, 2546, หนา 142) ไดนิยามศัพทคําวา นโยบายการบัญชี (accounting policy) หมายถึง “หลักการ โดยเฉพาะหลักเกณฑ ประเพณีปฏิบัติ กฎเกณฑ หรือวิธีปฏิบัติที่กิจการใชในการจัดทําและนําเสนอ งบการเงนิ ” โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้ 1.1 การกําหนดนโยบายบัญชีฝายบริหารของกิจการตองเปนผูกําหนดโดยเลือกใช นโยบายบัญชีท่ีทําใหงบการเงินเปนไปตามขอกําหนดทุกขอในมาตรฐานการบัญชีและการตีความทุกประการของ คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชี ในกรณีที่มาตรฐานการบัญชีมิไดระบุถึงขอกําหนดที่เปนเฉพาะไว หรือในกรณีที่ไมมี มาตรฐานการบัญชีเฉพาะ หรือไมมีการตีความจากคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชี ฝายบริหารสามารถปฏิบัติได ดงั นี้ 1.1.1 กรณีที่มาตรฐานการบัญชีมิไดระบุถึงขอกําหนดที่เปนการ เฉพาะไว ฝายบริหารตองกําหนดนโยบายการบัญชีท่ีทําใหงบการเงินใหขอมูลท่ีเกี่ยวของกับการตัดสินใจของผูใชงบ การเงินและเช่อื ถอื ได โดยขอ มลู ตอ งมีลักษณะดงั น้ี 1) แสดงผลการดาํ เนนิ งาน และฐานะทางการเงนิ ของกิจการ 2) สะทอนใหเห็นถึงเน้ือหาเชิงเศรษฐกิจมากกวารูปแบบทางกฎหมายของราชการ และ เหตุการณของบญั ชี 3) มีความเปนกลาง และปราศจากความลําเอียง 4) มีความระมัดระวัง 5) มคี วามครบถว นทกุ กรณที มี่ ีนยั สาํ คัญ 33 3821302 หลักการบัญชเี บ้อื งตน (Fundamental Accounting Principles)

1.1.2 กรณีที่ไมมีมาตรฐานการบัญชีเฉพาะ หรือ ไมมีการตีความ จากคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชี ฝายบริหารตองใชดุลยพินิจเพื่อกําหนดนโยบายการบัญชีท่ีจะใหขอมูลอันเปน ประโยชนตอผใู ชง บการเงินของกจิ การ ซึง่ ฝายบริหารควรคาํ นึงถึงเรื่องตอ ไปน้ี 1) ขอกําหนดและแนวทางในมาตรฐานการบัญชีที่ถือปฏิบัติ สําหรับเร่ืองท่ีมีลักษณะ คลา ยกนั หรอื เก่ยี วของกับเรอ่ื งทก่ี าํ ลังพิจารณา 2) คํานิยามการรับรูรายการ และเกณฑการวัดคา สําหรับสินทรัพย หน้ีสิน รายไดและ คา ใชจ า ย ซ่งึ กาํ หนดไวในแมบ ทการบญั ชี 3) ประกาศของหนวยงาน หรือองคกรอื่นที่มีหนาท่ีออกขอกําหนด และวิธีปฏิบัติที่ ยอมรบั กันในอุตสาหกรรมน้นั หากวิธปี ฏิบัตดิ งั กลาวสอดคลองกับขอ 1) และ 2) 2. หมายเหตุประกอบงบการเงิน (footnotes to financial statement) หมายถึง ขอมูลที่แสดงไว ทายงบการเงินอยางเปนระบบ รายการแตละรายการในงบดุล งบกําไรขาดทุนและ งบกระแสเงินสดตองอางอิง ขอมลู ท่เี กยี่ วของในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงินไดโ ดยมรี ายละเอยี ดดังนี้ 2.1 การจัดทาํ หมายเหตุประกอบงบการเงิน ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 35 กําหนดวา หมาย เหตุประกอบงบการเงินของกิจการ “ตองแสดงขอมูลเกี่ยวกับเกณฑการจัดทํางบการเงินและนโยบายการบัญชีท่ี เลือกใชกับรายการและเหตุการณทางการบัญชีท่ีสําคัญ ตองเปดเผยขอมูลตามท่ีมาตรฐานการบัญชีกําหนด และตอง ใหขอมูลเพิ่มเติมที่ไมไดแสดงอยูในงบการเงิน แตเปนขอมูลที่จําเปน เพ่ือใหงบการเงินนั้นแสดงไดถูกตองตามท่ีควร” (สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย, 2546, หนา 460) สําหรับการแสดงขอมูลในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินประกอบดวย คําอธิบายและการวิเคราะหรายละเอียดของจํานวนเงินที่แสดงในงบดุล งบกําไร ขาดทุน งบกระแสเงินสด และงบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของ รวมท้ังขอมูลเพิ่มเติม เชน หน้ีสินท่ีอาจ เกดิ ขึ้น ภาระผกู พัน คดีทต่ี อ งชาํ ระคา เสยี หาย การเพิม่ ทุน การลดทนุ เปนตน 2.2 การเปดเผยขอมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงินตองเปดเผยขอมูลตามลําดับอยางเปนระบบ เพื่อใหผูใชง บการเงินเขาใจและสามารถเปรยี บเทยี บงบการเงินระหวางกิจการไดดงั น้ี 2.2.1 ขอ มลู ทีร่ ะบวุ างบการเงนิ ของกิจการไดจ ดั ทาํ ขึน้ ตามมาตรฐานการบญั ชี 2.2.2 เกณฑก ารวัดคา และนโยบายการบัญชี 2.2.3 รายละเอียดประกอบรายการแตละบรรทัดตามลําดับท่ีแสดงในงบการเงิน และ ตามลําดับของงบการเงิน 2.3 การเปด เผยขอ มูลอ่นื รวมทั้ง 1) ขอ จํากัดตา ง ๆ ในสทิ ธทิ ม่ี อี ยูเหนอื ทรพั ยส ิน 2) หลกั ประกนั หนี้สนิ 3) วิธีการที่ใชปฏิบัติสําหรับโครงการเงินบําเหน็จบํานาญและ เงินกองทุนสํารอง เลี้ยงชีพ 4) สนิ ทรพั ยห รือหนี้สินท่อี าจจะเกิดขึน้ และใหร ะบุจํานวนเงนิ ถาสามารถทาํ ได 5) จํานวนเงนิ ที่ผกู พนั ไวแ ลว สาํ หรบั รายจายประเภททนุ ในอนาคต 6) ภาระผกู พนั และขอ มลู ทางการเงินอ่นื 7) ขอ มลู ท่ีมไี มใ ชขอมลู ทางการเงิน (หากจําเปน ) 34 3821302 หลักการบัญชีเบ้อื งตน (Fundamental Accounting Principles)

อยางไรก็ตามขอมูลเก่ียวกับเกณฑการจัดทํางบการเงินและนโยบายการบัญชีที่เลือกใช อาจแยกออกจาก หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ และแสดงไวเปน สว นประกอบหน่ึงของงบการเงิน ผใู ชง บการเงนิ งบการเงินเปนการเสนอขอมูลทางการเงินที่มีแบบแผน จัดทําขึ้นเพื่อมีวัตถุประสงคในการใหขอมูล เกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลดําเนินงาน และกระแสเงินสดของกิจการซึ่งเนนประโยชนตอผูใชงบการเงินในการตัดสินใจ เชงิ เศรษฐกจิ ผูใชงบการเงิน ไดแก บุคคลและหนว ยงานตาง ๆ ทเ่ี กยี่ วของดังน้ี 1. ฝายบริหารหรือฝายจัดการ ใชขอมูลทางการเงินเพื่อชวยใหการบริหารงานเปนไป อยางมี ประสิทธิภาพ โดยนาํ ขอ มูลไปใชในเรือ่ งดงั ตอ ไปนี้ 1.1 การวางแผน (planning) จากขอมูลในงบการเงินสามารถนําไปกําหนดเปาหมายและ วธิ กี ารดําเนนิ งาน เพ่ือใหการบรหิ ารบรรลตุ ามเปา หมายทว่ี างไว 1.2 การตัดสินใจ (decision making) ขอมูลที่เก่ียวกับตนทุนจะชวยในการตัดสินใจไดวา กิจการจะขายสนิ คา ในราคาเทาไรจงึ จะเหมาะสม 1.3 การควบคุม (controlling) เปนการใชขอมูลจากงบการเงินมาประกอบการ พิจารณาการควบคมุ กํากบั การดาํ เนินงานวาไดบรรลุผลตามท่ีเปา หมายทวี่ างไวห รือไม 2. บุคคลภายนอกกิจการ ซ่ึงนอกจากจะไดประโยชนจากขอมูลทางการเงินของกิจการ ผลการ ดําเนินงาน และการใชจายเงินของกิจการแลวยังสามารถใชขอมูลเพื่อวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน สภาพคลองของ กจิ การ ความสามารถในการทํากําไร ความสามารถในการชําระหน้ี เพ่ือประกอบการตัดสินใจในการลงทุนหรือใหกูยืม เปนตน บคุ คลภายนอก ไดแก เจา หนี้ ผถู ือหนุ ผสู นใจที่จะลงทนุ ในกิจการ หรอื สาธารณะชนทัว่ ไป 3. หนวยงานของราชการ เชน กรมพัฒนาธุรกิจการคา กรมสรรพากร หรือหนวยงานราชการที่ นอกเหนือจากหนวยงานทม่ี หี นา ทกี่ าํ กับดแู ลธรุ กจิ บางประเภทโดยเฉพาะตามกฎหมาย สรปุ การบัญชีเกิดข้ึนมาพรอมกับการประกอบธุรกิจการคาต้ังแตกอนคริสตกาล จนกระท่ังในศตวรรษท่ี 14 ปรากฏหลักฐานที่สมบูรณวามีการบันทึกบัญชีตามหลักการบัญชีคูที่เมืองเจนัว ประเทศอิตาลี มีชาวอิตาเลียนชื่อ ฟรา ลู กา ปาซิโอลิ ไดเขียนหลักการบัญชีคูไวในหนังสือคณิตศาสตร โดยใชพีชคณิตเปนพ้ืนฐานวา สินทรัพยเทากับหน้ีสิน บวกสวนของเจาของ และผลรวมดานเดบิตเทากับเครดิต สําหรับการบัญชีในประเทศไทยปรากฏหลักฐานมีการตรา พระราชบัญญัติลักษณะเขาหุนสวนและบริษัทรัตนโกสินทรศก 130 (พ.ศ. 2455) กําหนดใหบริษัทตองจัดทําบัญชี และมีผูสอบบัญชีตรวจสอบ การทําบัญชีเปนสวนหน่ึงของการบัญชี โดยการทําบัญชีจะครอบคลุมในเรื่องการจดบันทึกรายการทาง การเงิน การจําแนกขอมูลท่ีจดบันทึกออกเปนหมวดหมูและสรุปผลจัดทํางบการเงินตามที่วางระบบบัญชีไว แตการ บัญชีจะครอบคลุมในเรื่องตาง ๆ ทก่ี วางกวา คอื นอกจากจะทําบัญชีแลวยังสามารถออกแบบและวางระบบบัญชี การ วเิ คราะหแ ละแปลความหมายขอมูลของงบการเงินและตรวจสอบบัญชี เปนตน 35 3821302 หลักการบัญชีเบ้อื งตน (Fundamental Accounting Principles)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook