Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วัฒนธรรมคู่ชีวิต ปลูกจิตเพื่อปฏิบัติตน

วัฒนธรรมคู่ชีวิต ปลูกจิตเพื่อปฏิบัติตน

Published by duangdao2558, 2021-07-30 09:35:06

Description: วัฒนธรรมคู่ชีวิต ปลูกจิตเพื่อปฏิบัติตน

Search

Read the Text Version

วฒั นธรรมและประเพณีไทย อัญชัญ ฉิมมาฉุย คบ.คม(บรหิ ารกาศกึ ษา)



ความรูเ้ บ้อื งตน้ เกีย่ วกับวัฒนธรรม  คาว่าวัฒนธรรมมีรากศัพท์มาจากภาษาละตนิ วา่ cultura ภาษาอังกฤษใช้ คาว่า culture ไทยไดบ้ ญั ญตั ิคาวา่ ” วัฒนธรรม ” ข้นึ ใช้เมอื่ พทุ ธศกั ราช 2483 ในสมยั รัฐบาลจอมพล ป . พิบลู สงคราม โดยศาสตราจารย์ พลตรี พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหม่ืนนราธิป พงศป์ ระพนั ธ์ คร้ังแรกทรงบัญญตั ิ คาว่า “ พฤทธิธรรม ” ข้ึนใช้ก่อน เมือ่ ทรงเหน็ ว่าไม่เปน็ ท่นี ยิ มใชจ้ ึงทรงเปล่ยี นไปใช้คาว่า วฒั นธรรม ซึง่ เปน็ คาท่มี ี ความไพเราะและมคี วามหมายสอดคลอ้ งกับวชิ าภาษาอังกฤษ คาน้ีจึงเป็นทย่ี อมรบั และใช้กัน อย่างแพรห่ ลายและยังใชอ้ ยูจ่ นถึงทกุ วนั นี้

ความหมาย วฒั นธรรม คือสง่ิ ทีม่ นษุ ย์สรา้ งขน้ึ คดิ ข้ึน กาหนดขนึ้ บญั ญตั ิข้ึน โดยไม่ได้กระทาตามสัญชาตญาณ เพือ่ ใชใ้ นสังคม ของตน อีกท้งั วัฒนธรรมจะปรากฏในรูปของระบบความคิด (Thinking) การกระทา (Doing) และการมีอยู่ (Having) ซึ่งลว้ นเป็นสิง่ ที่มนษุ ยส์ ร้างขึ้นและปรงุ แต่งข้นึ

ขอบเขตของวัฒนธรรม (Cultural Area) วัฒนธรรมโลก วัฒนธรรมโลก คือ ปฏญิ ญาสากลวา่ ด้วยสิทธมิ นษุ ยชน ประกอบดว้ ยสทิ ธิพ้นื ฐานสาคญั 6 ประการ คือ  1. สิทธิในการตดั สินใจดว้ ยตนเอง  2. สทิ ธใิ นการป้องกันไมใ่ หม้ ีการเลอื กปฏบิ ัติ ทางเผา่ พันธ์แุ ละสีผวิ  3. สทิ ธิสตรี  4. สทิ ธเิ ยาวชน

วฒั นธรรมโลก  5. หา้ มมกี ารเกณฑ์แรงงาน หรอื แรงงานบังคับ  6. สทิ ธมิ นุษยชนในการบริการ ความยุตธิ รรม การคุ้มครอง ผตู้ ้องหา จองจาหรอื กักขัง ท้งั 6 ประการนล้ี ้วนเก่ยี วโยงกบั วิถชี ีวิต คนทุกเผา่ พันธุ์ ท่ีแตกต่างทางเชือ้ ชาติ ศาสนา ความเชื่อ ฯลฯ ซ่งึ เปน็ เรอื่ ง มาตรฐานสังคมมนษุ ย์ มนษุ ยท์ ่เี ปน็ สมาชิกในประชาคมโลก จะตอ้ งประพฤติ ปฏิบตั ิร่วมกนั

วัฒนธรรมชาติ  วัฒนธรรมชาติ เปน็ ความหลากหลายของเผา่ ชน ท่ีแตกตา่ งทางสีผิว หนา้ ตา ความเชื่อ ประเพณี และวิถี ชีวติ รวมท้ังการผสมผสานรูปแบบในการดารงชพี ที่อยู่ ร่วมกันในสังคม ตอ้ งประพฤตใิ นบางอยา่ งร่วมกันโดยมี กฎหมาย กฎกระทรวง ระเบียบท่ีพงึ ปฏิบตั ิต่อกนั และมี องค์กรของรัฐเป็นกาลงั ดแู ลเฝ้าระวังใหส้ มาชกิ ในชนชาติ ต้องปฏิบัติร่วมกัน

วัฒนธรรมทอ้ งถิน่ ( หรือวฒั นธรรมพ้นื บ้าน )  วัฒนธรรม พน้ื บา้ น คือ รูปแบบการดาเนนิ ชีวติ เผ่าชน ต่างๆ ทอี่ าศัยรวมกนั ในประเทศ แตม่ ีลกั ษณะหนา้ ตา สีผวิ เผ่าพันธ์ุ การดารงชีพ ศาสนา ความเชอื่ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณีที่แตกต่างกัน แตอ่ าศัยอย่รู ว่ มกันในประเทศใด ประเทศหน่ึงมีความหลากหลาย แตม่ ีรูปแบบการดารงชีพ และเอกลักษณ์ใกลเ้ คยี งกัน

องค์ประกอบของวฒั นธรรม มี 4 ประการ  1. มีแนวคดิ (concept) หรอื ปรชั ญา (philosophy) อนั มี ทมี่ าจากความเชอื่ เร่อื งปราปรา สภาวะแวดลอ้ มทเ่ี ป็นเหตุเปน็ ผล หรือมี หลักการ หลกั วชิ าการเป็นฐานรองรับ แตส่ ว่ นมากจะมีทมี่ าจากศาสนา และธรรมชาติ หรอื เรยี กว่าองค์มติ  2. มีสัญลักษณ์ (symbols) คอื ส่ิงทีส่ ่ือความหมายใหเ้ กิดความ เข้าใจซ่ึงกันและกันได้ เช่น ภาษา ท่าทาง การแตง่ กาย เคร่อื งหมาย รูปภาพ ทานอง จังหวะ กิริยา ระบบตวั เลข และรวมถงึ วัตถสุ ่ิงของท่ี มนุษย์สร้างขน้ึ หรือเรยี กวา่ องค์วตั ถุ

องค์ประกอบของวฒั นธรรม  3. มกี ารจดั ระเบียบ (organization) วัฒนธรรมหน่วยหนง่ึ เกิด จากการรวมตัวของลกั ษณะทางวฒั นธรรมอย่างเปน็ ข้นั ตอน การรวมตวั กนั อาศัยระเบียบแบบแผนกากับ ซึง่ รวมถึงการจดั ระเบียบโครงสรา้ ง การควบคุมใหอ้ ย่ใู นภาวะปกติ และกาหนดแบบแผนของพฤติกรรมเปน็ มาตรฐาน ทกุ คนในสงั คมรับรรู้ ว่ มกนั บางครง้ั เรยี กว่า องค์การ  4. มีการใชป้ ระโยชน์ (Usage) มกี ารนามาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนแ์ ก่ สังคมและผปู้ ฏบิ ัติ แสดงออกในรูปของพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น พธิ ีบวช พิธี ไหวค้ รู รวมถึงการทาตามประเพณีในสังคม บางครงั้ เรียก องค์พิธี

ประเภทของวฒั นธรรม  (1) วฒั นธรรมทเี่ ปน็ วตั ถุ (Material Culture) หมายถงึ วฒั นธรรมด้านรูปธรรม เป็นวัฒนธรรมท่ี สามารถสมั ผัสได้มรี ูปรา่ ง หรอื เปน็ สิ่งของต่าง ๆ ทม่ี นษุ ย์ ประดิษฐ์ขนึ้ มาใชใ้ นการดารงชวี ติ เชน่ บ้านเรือน อาหาร เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ ยารักษาโรค เป็นตน้

ประเภทของวฒั นธรรม  (2) วฒั นธรรมทีไ่ มใ่ ช่วัตถุ (Non – material Culture) หมายถึง วัฒนธรรมด้านนามธรรมเป็น วัฒนธรรมทีไ่ ม่สามารถสัมผสั ได้ ได้แก่ ภาษา ถ้อยคาที่ใช้พดู ความคิด คา่ นยิ ม ประเพณี ความเช่อื ถือท่มี นุษยย์ ึดถอื เกีย่ วกับ ศาสนา ลัทธิทางการเมอื ง วัฒนธรรมประเภทนี้ บางครั้งรวมเอา กตกิ าการแขง่ ขันกีฬา ความชานาญของผ้เู ลน่ หรือผแู้ ข่งขนั แนวความคิดเก่ียวกบั ยทุ ธวธิ ขี องผู้แขง่ ขันรวมทัง้ พฤติกรรมท่ี เป็นท่มี าของผู้แข่งขนั และผ้ดู ูแลการแข่งขนั ไวด้ ว้ ย และมารยาท ทางสังคม

ความสาคญั ของวฒั นธรรม  1. วฒั นธรรมคมุ้ ครองคนและคมุ้ ครองสังคม  2. วัฒนธรรมกาหนดบรรทัดฐาน หรอื แนวทางในการอยู่ ร่วมกนั ของมนษุ ย์ ๆ มีวัฒนธรรมจึงมรี ะเบียบแบบแผนในการ ดาเนนิ ชวี ิต เพ่ืออยู่ร่วมกนั อยา่ งสันติสขุ  3. วฒั นธรรมสร้างเอกลักษณใ์ หแ้ ก่สงั คม  4. วัฒนธรรมสรา้ งสรรค์ ส่งเสริมค่านิยม หลอ่ หลอม บุคลกิ ภาพของสมาชิกของสังคม  5. วัฒนธรรมทาให้เกิดความมัน่ คงของชาติ

ท่มี าของวฒั นธรรมไทย วัฒนธรรมไทยมที ี่มาจากปจั จัยต่าง ๆ ดังน้ี  1) ส่งิ แวดล้อมทางภูมศิ าสตร์  (2) ระบบการเกษตรกรรม  (3) ค่านยิ ม (Values)  (4) การเผยแพร่ทางวัฒนธรรม (Cultural Diffusion)

ส่งิ แวดลอ้ มทางภูมศิ าสตร์  เนอ่ื งจากสังคมไทยมีลักษณะทางดา้ นภมู ศิ าสตร์เป็นทีร่ าบ ลุ่มและอดุ มสมบูรณ์ดว้ ยแม่น้าลาคลอง คนไทยได้ใช้น้า ในแมน่ ้าลาคลองในการเกษตรกรรมและการอาบ กนิ ทา ใหเ้ กิด “ ประเพณีลอยกระทง ” “ ประเพณีแขง่ เรอื ”

ระบบการเกษตรกรรม  สังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม (Agrarian Society) กลา่ วคือ ประชากรร้อยละ 80 ประกอบ อาชีพเกษตรกรรม ชวี ิตผกู พันกับระบบการเกษตรกรรม เปน็ ที่มาของวัฒนธรรมไทยหลายประการ เช่น ประเพณี ขอฝน ประเพณลี งแขก และการละเลน่ เต้นการาเคียว เปน็ ต้น

คา่ นิยม (Values)  กลา่ วได้ว่า “ ค่านิยม ” มคี วามเกย่ี วพนั กับวัฒนธรรม อยา่ งใกล้ชิดและ “ ค่านิยม ” บางอยา่ งได้กลายมาเป็น “ แกน ” ของวัฒนธรรมไทย กลา่ วคือ วถิ ชี วี ิตของคนไทย โดยสว่ นรวม มเี อกลักษณ์ซึง่ แสดงออกถึงอิสระภาพและ เสรภี าพ เช่น ค่านยิ มเคารพอาวโุ ส,ความออ่ นนอ้ มถอ่ ม ตน, กตญั ญกู ตเวที ฯลฯ

การเผยแพร่ทางวัฒนธรรม  การเผยแพร่ทางวัฒนธรรม (Cultural Diffusion) คอื การท่ปี ระเทศตา่ ง ๆ สง่ หน่วยเผยแพรว่ ัฒนธรรมเข้ามา โดยตรง หรือการที่ชาวไทยได้ไปใช้ชีวติ อยใู่ น ต่างประเทศอาจโดยไปศึกษาเลา่ เรียนหรอื ไปทางานเมือ่ กลบั มาแลว้ ก็นาวฒั นธรรมนน้ั มาเผยแพร่ วฒั นธรรมของ สงั คมอืน่ ซงึ่ ไดเ้ ผยแพร่เข้ามาในสงั คมไทยก็คอื

ประเภทของวฒั นธรรมไทย  ตามพระราชบญั ญัตวิ ัฒนธรรมไทยแห่งชาติ พ . ศ . 2485 แบ่งวัฒนธรรมได้ 4 ประเภท ดังนี้ (1) คติธรรม (Moral Culture) เป็นวัฒนธรรมท่ี เก่ยี วกับหลกั ของการดาเนนิ ชวี ิตในสงั คม และส่วนใหญ่เปน็ เรอื่ งของจติ ใจ โดยเนน้ ทางด้านคณุ ธรรม ศีลธรรม เพราะถอื ว่า เป็นส่งิ ที่จาเปน็ ของชวี ติ มนษุ ย์เราทุกคน ถ้าหากขาดวัฒนธรรม ทางด้านคติธรรมแลว้ จะทาให้มนษุ ยท์ ี่ไมส่ มบูรณ์อย่ใู นสังคม ไดด้ ้วยความลาบากเข้ากับคนอนื่ ไดย้ าก

ประเภทของวัฒนธรรมไทย  (2) เนติธรรม (Legal Culture) เปน็ วฒั นธรรมที่ เกย่ี วกบั กฎหมาย กฎเกณฑ์ของสงั คม ถา้ หากประชาชนในสงั คม ทุกคนต่างยึดมน่ั ในขนบธรรมเนียมประเพณี มีคุณธรรมและมี ศีลธรรม กฎหมายนัน้ ก็คงไม่จาเปน็ ตอ่ การนามาใช้ปกครอง สังคม

ประเภทของวัฒนธรรมไทย  (3) วตั ถธุ รรม (Material Culture) เปน็ วฒั นธรรมที่ เกี่ยวกบั วัตถุเคร่อื งมือเครื่องใชต้ า่ ง ๆ ในการดารงชีวิต เช่น เก่ียวกบั การกนิ ดอี ยดู่ ี มีเคร่ืองน่งุ ห่ม บ้านเรือน ยารักษาโรค โบราณวตั ถุ โบราณสถาน ศลิ ปวัตถุ สงิ่ ของทเ่ี ป็นสาธารณ สมบตั ิ เพื่อการประกอบอาชพี เป็นการเพมิ่ พูนรายไดย้ กฐานะ ความเปน็ อยขู่ องตนเองใหส้ ูงขนึ้

ประเภทของวัฒนธรรมไทย  (4) สหธรรม (Social Culture) เปน็ วัฒนธรรมทาง สงั คม ซ่ึงรวมถึงคุณธรรมตา่ ง ๆ ทท่ี าให้มนุษย์เราอยรู่ ่วมกนั อย่างผาสุกถ้อยทถี อ้ ยอาศยั กัน รวมทง้ั ระเบียบมารยาททพี่ ึง ปฎบิ ตั ติ อ่ กนั ในสงั คมทกุ ชนดิ ทุกรูปแบบอย่างเหมาะสมถูกตอ้ ง เช่น มารยาทในการรบั แขก มารยาทในการรบั ประทานอาหาร การไปงานมงคลทุกชนิด การทาตนให้เปน็ ผรู้ ้จู ักกาลเทศะ

เอกลักษณข์ องวฒั นธรรมไทย  (1) ความรักอสิ รภาพหรือความเปน็ ไท  (2) การเป็นตัวของตวั เองหรือปจั เจกบุคคลนิยม  (3) ความรสู้ ึกมกั น้อย สันโดษ และพอใจในสิง่ ที่มีอยู่  (4) การทาบญุ และการประกอบการกศุ ล  (5) การหาความสุขจากชีวิต  6) การเคารพเชือ่ ฟงั อานาจ  (7) ความสุภาพออ่ นโยนและเอือ้ เฟื้อเผื่อแผ่  (8) ความโอ่อา่

ประเพณไี ทย

ประเพณไี ทย

ประเพณไี ทย

ความหมายของประเพณไี ทย ประเพณี เปน็ ส่ิงท่มี นุษย์กาหนดขน้ึ เพ่อื สวัสดภิ าพของมนุษย์เอง ชีวติ สังคม จะไมส่ งบเรยี บร้อย ถ้าไม่มีประเพณหี นนุ หลัง ประเพณี ของสงั คมมิใช่ เปน็ ส่งิ แน่นอนคงทต่ี ายตวั หรอื เปล่ยี นแปลงไม่ได้ ตรงกนั ขา้ มประเพณี เกิดขน้ึ ไดแ้ ละสลายตวั ได้เมือ่ สภาพแวดลอ้ มของสังคมเปลยี่ นแปลงไป ความรู้ ความเขา้ ใจในธรรมชาติกวา้ งขวางขนึ้ การประดษิ ฐ์คิดคน้ ทา วิทยาศาสตร์กวา้ งขวางข้นึ มกี ารตดิ ต่อกบั สังคมอ่ืนมวี ิธกี ารแตกตา่ งไป ความต้องการและโอกาสทจ่ี ะทาให้ชวี ติ สุขสบาย จาตอ้ งแสวงหาวิธใี หม่ ให้สอดคล้องกบั สภาพแวดล้อมเม่อื เป็นท่ียอมรบั กจ็ ะกลายเปน็ ประเพณี ใหม่ วิธีการเดิมหรอื ประเพณีเดิมก็สลายตัวไป การปรบั ปรงุ เพือ่ ให้ เหมาะสมกับสภาพสังคม ทาใหป้ ระเพณีเปลยี่ นแปลงได้

ประเภทของประเพณี แบ่งประเพณีออกเป็น 3 ประเภท (1) จารีตประเพณหี รอื กฎศลี ธรรม (Mores) (2) ขนบประเพณีหรือสถาบัน ( Institution ) (3) ธรรมเนียมประเพณีหรอื ประเพณีนยิ ม ( Convention )

จารีตประเพณหี รอื กฎศีลธรรม (Mores)  หมายถงึ ประเพณที ที่ ุกคนจะต้องปฏบิ ตั ติ าม ถา้ คนใดฝา่ ฝนื งดเวน้ ไม่ กระทาถือว่าเป็นความผดิ และชัว่ จารีตประเพณเี กี่ยวข้องกบั ศลี ธรรมของ คนสว่ นรวมในสังคม และทเี่ ห็นได้ในสงั คมไทย ไดแ้ ก่ การแสดงความ กตัญญกู ตเวทที ลี่ กู ควรมีตอ่ บดิ า มารดาเมื่อทา่ นแกเ่ ฒ่า เปน็ หน้าทขี่ องลูก จะพึงเลี้ยงดู ถา้ ลูกไมด่ ูแลสังคมจะลงโทษว่าเปน็ คนอกตัญญู ถือเปน็ ความชั่วไม่มีใครอยากคบด้วย จารีตประเพณหี รือกฎศลี ธรรมของแตล่ ะ สังคมยอ่ มไม่เหมือนกันสงั คมไทยเห็นวา่ มคี วามสัมพันธ์ทางเพศกัน ก่อนแต่งงานเป็นการผดิ จารตี ประเพณีแตช่ าวสวีเดนเห็นว่าเป็นเรอื่ ง ธรรมดา

ขนบประเพณหี รอื สถาบนั ( Institution )  คือ ประเพณที ่วี างระเบียบแบบแผนไว้โดยตรงเช่นเดยี วกบั กฎหมาย หรือขอ้ บังคับตา่ ง ๆ ซ่ึงวางเป็นระเบียบพธิ ีการไว้แจ้งชัด หรือให้รกู้ นั เอง โดยไมไ่ ดว้ างเป็นระเบยี บแบบแผนไว้ว่า ควรจะประพฤตปิ ฏิบตั กิ ัน อย่างไร

ธรรมเนียมประเพณหี รอื ประเพณีนิยม ( Convention )  หมายถงึ แนวทางปฏบิ ตั ติ ่าง ๆ ในการดาเนินชวี ติ ประจาวนั ทป่ี ฏิบตั ิกนั จนเคยชนิ เป็นปกตวิ สิ ยั เปน็ เรื่องเกยี่ วกับสถานการณธ์ รรมดาสามัญทีไ่ ม่ มคี วามสาคัญมากมายตอ่ สวัสดภิ าพหรือความจาเป็นของสงั คม หรอื เปน็ เรอื่ งที่ทุกคนปฏิบตั ิอยทู่ ว่ั ๆ ไปจนเป็นนสิ ยั หรอื มาตรฐานทว่ั ไปใน สงั คมนัน้ ธรรมเนยี มประเพณีมกี าเนดิ มาโดยไมม่ ผี ู้ใดทราบหรอื สนใจ สบื ประวตั ทิ ่ีแน่นอน เช่น จะแต่งกายอยา่ งไร จะต้อนรบั เพอ่ื นฝูงอยา่ งไร ผลู้ ะเมิดถูกลงโทษอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการหรอื ทางออ้ มแตไ่ ม่รุนแรงหรือ จรงิ จังอยา่ งใด เชน่ อาจถูกซุบซิบนินทาหรือหวั เราะเยาะ เป็นตน้

ประเพณที ี่สาคญั ของไทย 1. ประเพณเี กี่ยวกับครอบครวั 2. ประเพณีท่ีเก่ยี วกับสงั คมหรอื เทศกาล 3. รฐั พิธแี ละพระราชพิธี

ประเพณเี ก่ยี วกับครอบครัว  การทาบญุ ตกั บาตรมมี าต้งั แต่โบราณ ไดแ้ ก่ การตักบาตรประจาวันตอน เชา้ ตกั บาตรในวันเกดิ วันเทศกาล หรือวันทกี่ าหนดทาบญุ เป็นพิเศษ เช่น ทาบุญเปดิ ตกึ สานักงาน ฯลฯ การทาบุญตักบาตร ใหป้ ระโยชน์ 3 ทางคอื  - เป็นบุญกุศลของผตู้ กั บาตร  - ฝกึ ฝนใหเ้ ป็นคนเสยี สละและแบ่งปนั  - เป็นการสงเคราะห์ตอ่ ภิกษุ สามเณร

ประเพณีเก่ยี วกบั ครอบครวั

ประเพณเี กี่ยวกับครอบครวั  การทาบญุ เลย้ี งพระ การทาบุญเลยี้ งพระตามปกติมักจะทาในโอกาส สาคัญๆ เชน่ ครบรอบวันเกิด ขน้ึ บ้านใหม่ เปิดสานกั งานใหม่ ส่งท้ายปี เก่ารบั ปีใหม่ จะต้องมกี ารจัดโตะ๊ หมู่บชู า อาสนะสงฆ์ ในพิธนี จี้ ะมีการ อาราธนาศลี พระสงฆ์จะให้ศีล อาราธนาพระปริต พระสงฆ์เจริญพระ พทุ ธมนต์  การบวช ชายที่มอี ายุ 7 ปขี ึน้ ไป ชาวพุทธจะบวชเณร ซ่งึ เรียกว่า “ บรรพชา ” เมื่ออายุได้ 20 ปี ก็จะอุปสมบทเปน็ พระภิกษุ การบวชเปน็ การศึกษาพระธรรมคาสัง่ สอนของพระพทุ ธเจ้า และสบื ต่อ พระพทุ ธศาสนา ซึง่ พระภกิ ษุจะยดึ ถือศีล 227 ข้อ

ประเพณที เ่ี กีย่ วกับสงั คมหรือเทศกาล ประเพณที ีเ่ กยี่ วกับสังคมหรือเทศกาล เปน็ ประเพณที ่ีจัดกันอยเู่ ปน็ ระยะตลอดปีและกระจายอย่ตู ามท้องถ่ิน จงั หวัดและภาคตา่ งๆ ทั่ว ประเทศ

ประเพณที ี่เก่ยี วกับสงั คมหรือเทศกาล

รฐั พิธแี ละพระราชพิธี  รฐั พธิ ี เปน็ งานพิธีของชาติที่รัฐบาลเป็นผู้ที่จัดทาขน้ึ โดยมวี ตั ถุประสงค์เฉพาะ ตามลกั ษณะของงาน รฐั พิธีทีก่ าหนดไวเ้ ปน็ ประจาตามปฏิทนิ หลวงไดแ้ ก่ -รฐั พธิ ีถวายราชสกั การะสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ณ พระบรมราชานุสาวรีย์ - รฐั พิธีวันระลกึ มหาจกั รี - รัฐพิธีถวายบงั คมพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยูใ่ น อภลิ กั ขติ สมยั คลา้ ยวนั สวรรคต - รฐั พธิ ีวนั พระราชทานรฐั ธรรมนญู และถวายสักการะพระราชานุสาวรยี ์ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยู่หัว - รฐั พิธวี ันพระเจา้ ตากสินมหาราช - รัฐพธิ ีเปดิ ประชุมรัฐสภา

พระราชพธิ ี หมายถึง พิธีทพี่ ระมหากษตั ริย์ทรงปฏบิ ัตพิ ระราชกรณยี กจิ ตามกาหนดที่เปน็ แบบแผนราชประเพณที มี่ ีมาแต่โบราณ หรือทรงมี พระราชดาริใหจ้ ัดทาข้นึ พระราชพิธที ก่ี าหนดไวเ้ ป็นงานประจา ปใี นปฏทิ ินหลวง รชั กาลที่ 9 มดี งั น้ี - พระราชพธิ ีข้ึนปใี หม่ - พระราชพธิ ีสงั เวยพระปา้ ย - พระราชพิธีเปลี่ยนเคร่อื งทรงพระพทุ ธมหามณีรัตนปฏิมากร 3 ฤดู - พระราชพิธีบวงสรวงพระสยามเทวาธริ าช - พระราชพิธีสงกรานต์ - พระราชพธิ ีกุศลทักษณิ านปุ ทาน และพระราชพิธฉี ตั รมงคล - พระราชพธิ ีมาฆบชู า

- พระราชพธิ ีพืชมงคลและจรดพระนังคลั แรกนาขวญั - พระราชพิธที รงบาเพ็ญพระราชกุศลวันวสิ าขบูชา - พระราชกศุ ลวนั ถวายพระเพลิงพระพุทธเจา้ - พระราชกศุ ลทกั ษณิ านปุ ทาถวายพระบรมอัฐิสมเด็จพระบรมพระราช ชนกและวันสวรรคตพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทร์รมหาอานันทมหดิ ล - พระราชพิธีทรงบาเพญ็ พระราชกุศลอุปสมบทนาคหลวง

- พระราชพิธีบาเพญ็ พระราชกุศลเน่ืองในวนั อาสาฬหบชู าและเทศกาล เข้าพรรษา - พระราชพธิ ีเฉลมิ พระชนมพรรษาสมเดจ็ พระนางเจา้ พระบรมราชินีนาถ - พระราชพิธีสารท - พระราชพิธีบาเพ็ญพระราชกศุ ลถวายผ้าพระกฐิน - พระราชพธิ ีบาเพ็ญพระราชกศุ ลวันปิยะมหาราช - พระราชพิธเี ฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว

วฒั นธรรมประเพณภี าคเหนอื

วฒั นธรรมภาคเหนอื

วฒั นธรรมดา้ นการแตง่ กายภาคเหนอื

วฒั นธรรมดา้ นอาหารภาคเหนอื

วฒั นธรรมด้านการแสดง

วฒั นธรรมประเพณี

 เรอื นไทยภาคเหนอื

วัฒนธรรมภาคเหนือ วฒั นธรรมของคนไทยภาคเหนือ พ้นื ที่ทางภาคเหนอื ของประเทศไทย มอี าณาเขตติดกบั ประเทศพมา่ จีน และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทางด้านการปกครอง ภาคเหนอื ประกอบด้วย จงั หวัดตา่ ง ๆ 15 จังหวัด คือ พษิ ณุโลก พิจิตร กาแพงเพชร ตาก สุโขทยั แพร่ นา่ น อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ ลาปาง ลาพนู เชยี งใหม่ เชียงราย พะเยา และแมฮ่ ่องสอน ทั้ง 15 จังหวดั นีแ้ มจ้ ะรวมกันเรียกว่าภาคเหนอื ก็ยังมลี กั ษณะเฉพาะท่ีต่างกันอยู่บ้าง เช่น กลมุ่ พิษณุโลก พิจิตร สุโขทัย กาแพงเพชร มักเรียกว่าภาคกลางตอนบน เพราะวัฒนธรรมมี สว่ นคลา้ ยกับภาคกลาง จังหวัดแมฮ่ ่องสอนมีวัฒนธรรมท่มี ลี กั ษณะเปน็ กลุ่มไทยใหญ่ผสม กับพม่า เพชรบูรณ์ ลกั ษณะโน้มไปทางภาคอีสาน ท่ีเปน็ กลุม่ วัฒนธรรมภาคเหนือจริง ๆ คือ จงั หวัดลาปาง ลาพูน เชยี งใหมเ่ ชียงราย พะเยา กลุ่มจังหวัดดังกลา่ วนี้เรียกวา่ คนเมือง หรือ ยวน หรอื ไทยยวนซ่ึงหมายถึงโยนก สว่ นจังหวดั แพร่ และนา่ น ก็มีลักษณะของตัวเอง เชน่ เดียวกัน

ชาวเหนอื ส่วนใหญ่มอี าชพี ทานา ทาไร่ การทานาสว่ นใหญ่จะเป็นนาดา คนเหนือปลูก ข้าวเหนียวกนั เป็นส่วนใหญ่ เพราะบริโภคข้าวเหนียว ข้าวเหนยี วมีคณุ ภาพดี ออ่ นและ นมิ่ นา่ รับประทาน ข้าวพันธ์ท่มี ีชอ่ื เสยี ง คือ ขา้ วสันปา่ ตอง และยังปลูกพชื ไรอ่ ่นื ๆ เชน่ หอม กระเทียม ถ่วั ยาสูบ เปน็ ตน้ มีอาชพี ทาสวนก็เป็นทีน่ ยิ มกัน โดยเฉพาะทาสวน ลาไย และล้นิ จี่ ยงั มีอาชพี อีกอย่างหน่ึงซ่ึงเปน็ วัฒนธรรมของชาวเหนอื คือ การทา เมยี่ ง ชาวเหนอื ชอบกินหมากและอมเมย่ี ง โดยเอาใบเมยี งทเี่ ป็นส่วนใบออ่ นมาหมักให้ มรี สเปร้ยี วอมฝาด เมอ่ื หมกั นานไดท้ ี่ เวลาจะเอาใบเมี่ยงมาอม ก็ผสมเกลือเม็ดหรือของ กนิ อนื่ แล้วแต่ชอบนอกจากการอมเมยี่ ง คนลา้ นนาทัง้ หญิงและชายจะสูบบุหรี่ทมี่ วน ด้วยใบตองกลว้ ย มวนหนึ่งขนาดเท่านิ้วมอื และยาวเกือบคืบ ชาวบ้านเรียกบุหรี่ชนดิ น้ี วา่ “ขี้โย” หรอื “บหุ รข่ี โ้ี ย” ทีน่ ยิ มสบู เน่ืองมาจากอากาศหนาวเยน็ การสูบบุหรีท่ าให้ รา่ งกายอบอุ่นขึ้นและชาวเหนอื ยังประกอบอาชีพอน่ื อาจเรยี กไดว้ ่าเป็นหัตถกรรมหรือ อุตสาหกรรมในครัวเรอื นก็ได้ คือ ผหู้ ญิงจะทอผ้าเมื่อเสรจ็ จากการทานา นอกจากนั้น ยังมีการแกะสลัก การทาเครื่องเงิน เครอื่ งเขนิ และการทาเคร่ืองเหลก็ เปน็ ต้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook