Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรูปแบบ LPG3 (1+2)

แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรูปแบบ LPG3 (1+2)

Published by Aisara Deemak, 2021-09-01 08:38:37

Description: แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรูปแบบ LPG3 (1+2)

Search

Read the Text Version

แนวทาง การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา สำนักงำนเขตพื้นทีก่ ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำลำปำง เขต 3 สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พื้นฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร

สำนกั งำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศึกษำประถมศึกษำลำปำง เขต 3 สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพนื้ ฐำน กระทรวงศึกษำธกิ ำร

LPG3 (1+2) ข คำนำ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ได้จัดทำ คู่มือการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาโดยการมีสว่ นรว่ ม ในรูปแบบ LPG3(1+2) Model ซ่งึ มรี ายละเอียดขัน้ ตอนการดำเนนิ การอย่างครบถ้วน โดยบริหารจัดการศึกษา และพัฒนาคุณภาพการศึกษา 4 ระดับ ได้แก่ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับกลุ่ม เครือข่าย ระดับสถานศึกษา และระดับห้องเรียน เพื่อการขับเคลื่อนยกระดับคุณภาพการศึกษา และยกระดับ คุณภาพการศึกษาด้านการอ่าน การเขียนภาษาไทย ของนักเรียน จึงจำเป็นต้องรวมพลังทุกภาคส่วนเข้ามาต่อยอด และมีส่วนรว่ มในการขับเคลอื่ น เพ่ือให้เกดิ ความยัง่ ยนื ในโอกาสต่อไป

LPG3 (1+2) ก สารบญั หนา้ 1 เรอื่ ง 1 กรอบแนวทางการดำเนินงาน 2 1. บทนำ 3 2. กระบวนการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของเขตพืน้ ที่การศึกษาดว้ ยรปู แบบ LPG3 (1+2) 11 3. กระบวนการมีส่วนร่วมพัฒนาคุณภาพการศึกษา 4 ระดับ 12 4. การจัดการเรียนรู้ แบบ Active Learning 5. เอกสารอ้างองิ

1 แนวทางการพฒั นาคุณภาพการศึกษาโดยการมสี ่วนรว่ ม ในรูปแบบ LPG3 (1+2) กรอบแนวทางการดำเนนิ งาน 1.บทนำ นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ม่งุ มัน่ ในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็น “การศึกษาขั้นพื้นฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ” มุ่งเน้นความปลอดภัยในสถานศึกษา ส่งเสริมโอกาสทางการ ศึกษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียม และบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ (สำนักงานคณะกรรมการศึกษา ข้ันพนื้ ฐาน. (2563) ดา้ นคุณภาพ 1. สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทกั ษะการเรียนรู้และทักษะที่จำเป็นของโลกใน ศตวรรษที่ 21 อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองในระบบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข มีทศั นคติท่ีถกู ต้องต่อบา้ นเมือง 2. พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง นวัตกรรม วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยดี ิจทิ ัล และภาษาต่างประเทศ เพ่อื เพ่ิมขดี ความสามารถในการแข่งขนั และการเลือก ศกึ ษาตอ่ เพ่ือการมงี านทำ 3. ปรับหลักสูตรเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะหลักที่จำเป็นในแต่ละ ระดบั จดั กระบวนการเรยี นรู้แบบลงมือปฏิบตั จิ ริง รวมทั้งส่งเสริมการจัดการเรยี นรทู้ ่สี ร้างสมดุลทุกด้านส่งเสริม การจดั การศึกษาเพือ่ พฒั นาพหปุ ัญญา พัฒนาระบบการวดั และประเมินผลผู้เรยี นรทกุ ระดบั 4. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นครูยุคใหม่ มีศักยภาพในการจัดการเรียนการ สอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดี มึความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ดิจิทลั มีการพัฒนาตนเองทางวชิ าชีพอยา่ งตอ่ เน่ือง รวมท้ังมจี ิตวญิ ญาณความเปน็ ครู

2 2. กระบวนการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา ด้วยรูปแบบ LPG3 (1+2) แนวทางการพฒั นาสำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 3

3 3. กระบวนการมสี ่วนรว่ มพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 4 ระดับ รูปแบบการขับเคลอ่ื นคุณภาพการศกึ ษา LPG3(1+2) Model สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 เป็นองค์กรการบริหารการศึกษา ซึ่งมีโรงเรียนในสังกัด จำนวน 81 โรงเรียน การจัดการศึกษาพบว่า ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ในรอบ 3 ปีที่ผ่านมามีคะแนนเฉลี่ยยังไม่เป็นท่ีพอใจ และผลการประเมินการอ่านการเขียน พบว่ายังมีนักเรียน ที่ยังอ่าน เขียนไม่คล่อง ส่งผลกระทบต่อความ น่าเชื่อถือ ความมั่นใจของผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน สังคมที่มีต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งถือเป็น ปัญหาดา้ นการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 จำเป็นต้องรวมพลังทุก ภาคสว่ นเขา้ มาตอ่ ยอดและมีส่วนร่วมในการขบั เคล่ือนยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สงู ข้ึน LPG3(1+2) Model หมายถึง LPG3(1+2) Model หมายถึง รูปแบบการขับเคลื่อนคุณภาพ การศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ที่ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) Learning Organization องค์การแห่งการเรียนรู้ 2) Participation การมีส่วนร่วม 3) Good Governance หลักธรรมาภิบาล 4) คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา(ก.ต.ป.น.) 5) คณะอนุกรรมการ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา ดา้ นวิชาการ (อ.ก.ต.ป.น.ด้านวิชาการ) 6) คณะอนุกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ด้านบูรณการยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศึกษา (อ.ก.ต.ป.น.ด้านบรู ณการยุทธศาสตร์การพฒั นาคุณภาพการศึกษา) รายละเอียดดงั น้ี L : Learning Organization หมายถึง องค์การแห่งการเรยี นรู้ P : Participation หมายถงึ การมีสว่ นร่วม G : Good Governance หมายถงึ หลักธรรมาภบิ าล 1 : คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา (ก.ต.ป.น.) 2 : (1) คณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ด้านวิชาการ (อ.ก.ต.ป.น.ด้านวิชาการ) (2) คณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา ดา้ นบูรณการ ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา (อ.ก.ต.ป.น.ดา้ นบรู ณการยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา) เป้าหมายการพัฒนา 1. จดั การศกึ ษาใหน้ ักเรียนอ่านออกเขียนได้ทุกคน 2. จัดการศึกษาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT สูงกว่าค่าเฉล่ยี ระดับชาติ ได้แก่ ผลการทดสอบ NT ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 คะแนนเฉลย่ี ร้อยละเพ่ิมขนึ้ ไมน่ ้อยกว่า 3 ผลการทดสอบ O-NET ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละเพ่มิ ข้ึนไม่น้อยกว่า 3

4 กลยุทธ์การพัฒนา กลยุทธ์การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาแบบมีส่วนร่วม ดำเนินการโดย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ศึกษานิเทศก์ ประธานเครือข่าย ผู้บริหารสถานศึกษา ประธานกรรมการสถานศึกษา ถอดบทเรียน ประชุมปฏิบัติการยกร่าง วิพากษ์ และสร้าง รูปแบบการดำเนินงาน LPG3(1+2) กำหนดกิจกรรมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับรูปแบบการดำเนินงานทั้ง 4 ระดับ ได้แก่ เขตพ้ืนท่ี เครอื ขา่ ย สถานศึกษา ห้องเรียน ประกอบด้วย กลยุทธท์ ่ี 1 ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นให้สงู กว่าค่าเฉลี่ยระดับชาติ 1. ประชุมคณะทำงานระดับเขตพื้นที่วเิ คราะหผ์ ลสัมฤทธิ์เปรียบเทียบกบั ระดับประเทศ กำหนด เป้าหมายยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ ป.3 ป.6 ม.3 และให้เครือข่าย สถานศึกษากำหนดเป้าหมายใหส้ อดคล้องกัน 2. จัดกิจกรรมทำพธิ ีลงนามในบนั ทึกขอ้ ตกลงประชุมประธานกรรมการสถานศึกษา สร้างความ เข้าใจการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา นำเสนอแนวทางการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาต่อองค์กร ภาครัฐ เอกชนใหเ้ ข้ามามสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา 3. จัดทำรูปแบบ แนวทางคู่มือการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาระดับเขตพื้นที่ เครือข่าย สถานศกึ ษา และหอ้ งเรียน และกลยุทธใ์ นการขับเคลื่อน 4. ส่งเสริมสนับสนุนงบประมาณในการขับเคลื่อนแก่เครือข่ายสนับสนุนเครื่องมือการจัดสอบ Pre O–NET NT พัฒนาบุคลากรโดยบรู ณาการโครงการ/กจิ กรรม จัดกิจกรรมคดิ เลขเรว็ ท่องสูตรคูณ อาขยาน ทุกวัน ท่องคำคล้องจอง พดู บทสนทนาภาษาอังกฤษก่อนเรยี นทุกวนั เขียนเร่อื งจากภาพ เขยี นสรปุ ความ ทุกวัน นิเทศ ตดิ ตาม และจดั เวทแี ลกเปลี่ยนเรียนรู้โรงเรียนทป่ี ระสบผลสำเร็จ 5. พิจารณาความชอบโดยยึดคุณภาพผลสัมฤทธ์ิ O-NET NT และใหเ้ ครือข่ายมีส่วนร่วมในการ พิจารณาตามสัดส่วนบุคลากรในเครือข่ายยกย่องเชิดชูเกียรติเครือข่าย สถานศึกษา ครูและบุคลากร ที่มีผลงาน ดเี ดน่ ประสบผลสำเรจ็ ส่งเสริมให้บุคลากรเข้ารว่ มประชุม อบรม สมั มนา เรยี นร้งู านทางวิชาการในระดับตา่ งๆ กลยุทธท์ ่ี 2 การพฒั นาการอา่ น การเขียนภาษาไทย 1. เป้าหมาย : นักเรยี นทกุ คนอา่ นออกเขยี นได้ 2. การสร้างความตระหนัก : ประชมุ ระดบั เขตพื้นท่ีจัดทำบันทึกข้อตกลงจัดประชุมช้ีแจงครูทุก ระดบั ช้ัน ผปู้ กครอง นักเรียน ระดับหอ้ งเรยี นสรา้ งขอ้ ตกลงกบั นักเรยี น 3. จัดทำรูปแบบ แนวทางคู่มือการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาระดับเขตพื้นที่ เครือข่าย สถานศึกษาและห้องเรยี น และกลยทุ ธ์ในการขับเคลื่อน 4. นำส่กู ารปฏิบตั ิ : พัฒนาบุคลากรดา้ นเทคนิควิธีการสอนการอ่านออกเขียนไดร้ ะดับเครือข่าย คัดกรองนักเรียนท่อี า่ นไม่ออกเขยี นไมไ่ ด้ จัดแยกเด็กตามกลมุ่ จดั ทำขอ้ มลู สารสนเทศจดั หาสื่อ/ผลิตส่ือพฒั นาการ อ่านการเขียนที่หลากหลาย จัดกิจกรรมเสริมทักษะการอ่านการเขียนประเมินความก้าวหน้าด้าน การอ่านการเขียน

5 อย่างต่อเนื่อง นำข้อมูลมาพัฒนานักเรียนจัดกิจกรรมซ่อม/เสริมนักเรียนรายกรณีเขียนตามคำบอกหรือประโยค สั้นๆ ทกุ วนั นิเทศติดตาม คัดกรองนักเรยี นทีอ่ า่ นไม่ออกเขยี นไมไ่ ด้ จัดแยกเด็กตามกลุม่ 5. การกระตุ้นพัฒนาอย่างต่อเนื่อง : จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โรงเรียน ครู ที่ประสบความสำเร็จ/ ต้นแบบ การอ่านออกเขียนได้ และยกย่องเชิดชูเกียรติจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือ PLC (สร้างชุมชนแห่งการเรียนร)ู้ ระดับสถานศึกษา ยกยอ่ งชมเชยนักเรยี นท่ีมีผลการอา่ นการเขยี นดีเด่น แนวทางการขับเคลอื่ นคณุ ภาพการศึกษา ในการขบั เคลอื่ นคณุ ภาพการศกึ ษา ปีการศึกษา 2563 ยดึ แนวทาง 2 ขอ้ ดังน้ี บันทึกข้อตกลงข้อที่ 1 จะจดั การศกึ ษาให้นกั เรยี นมคี ุณภาพการศึกษาสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับชาติ (13) บนั ทึกขอ้ ตกลงขอ้ ท่ี 2 จะจดั การศกึ ษาให้นักเรยี นอา่ นออกเขียนได้ทุกคน (10) บันทึกข้อตกลงข้อที่ 1 จะจดั การศึกษาให้นักเรยี นมีคุณภาพการศกึ ษาสงู กว่าค่าเฉลย่ี ระดับชาติ (13) หมายถึง การจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการของนักเรียน โดยเฉพาะ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ประถมศึกษาปที ่ี 6 และชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ตามแนวทางที่กำหนดไว้ ท้งั ในระดับเขตพน้ื ที่ เครอื ข่าย สถานศึกษา หอ้ งเรียน รวมจำนวน 13 ข้อ บนั ทกึ ข้อตกลงข้อที่ 2 จะจัดการศกึ ษาใหน้ ักเรยี นอ่านออกเขยี นได้ทุกคน (10) หมายถงึ การ จดั กิจกรรมพัฒนาความสามารถด้านการอ่านออกเขียนได้แก่นักเรียนทุกคน ตามแนวทางที่กำหนดไว้ท้ังในระดับ เขตพ้ืนที่ เครอื ข่าย สถานศึกษา หอ้ งเรียน รวมจำนวน 10 ข้อ แนวทางการขบั เคลื่อนคุณภาพการศกึ ษาตามบนั ทกึ ข้อตกลง 2 ขอ้ ของแตล่ ะระดบั บนั ทึกข้อตกลงขอ้ ท่ี 1 จะจดั การศกึ ษาใหน้ กั เรียนมีคณุ ภาพการศกึ ษาสงู กว่าคา่ เฉลี่ยระดบั ชาติ (13) ระดบั เขตพืน้ ท่ี 1. กำหนดเปา้ หมายขับเคล่ือนคณุ ภาพการศึกษา 2. สร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา 3. เสริมสร้างขวัญกำลังใจครูดี มีเกยี รติ มศี ักดศิ์ รี มเี วทแี ลกเปล่ียนเรียนรู้

6 ระดับเครอื ขา่ ย 4. กำหนดเปา้ หมายขับเคล่ือนคณุ ภาพการศึกษา ระดบั เครอื ขา่ ย 5. สรา้ งวัฒนธรรมคุณภาพในเครือขา่ ย พึ่งพาโรงเรยี นในเครือข่ายเดียวกนั สรา้ งขวัญกำลังใจบุคลากรทด่ี ี ระดับสถานศึกษา 6. ศึกษาข้อมูลนักเรยี นรายบุคคล รขู้ ้อมูลคุณภาพนักเรียนรายช้นั รายวิชา กำหนดเป้าหมายพัฒนา 7. มีรูปแบบการขับเคลือ่ นคุณภาพการศึกษาอยา่ งน้อย 1 วิธี 8. มีกัลยาณมิตรนเิ ทศ ให้ขวัญกำลงั ใจครูทุกคน และร่วมวางแผนจดั กิจกรรมสอนเสริม ระดับหอ้ งเรียน 9. คดั กรองนักเรียนอยา่ งต่อเนื่องและนำผลมาออกแบบแก้ปัญหา 10. วิเคราะห์ผลการสอนทร่ี ับผิดชอบเปรยี บเทยี บปีทผี่ ่านมา บอกจดุ เด่นจุดดอ้ ยได้ 11. ศึกษาโครงสร้างแบบทดสอบระดบั ชาติให้เข้าใจอยา่ งลึกซง้ึ 12. สอนเสริมโดยยึดมาตรฐาน ตวั ชวี้ ดั รปู แบบขอ้ สอบ และใช้เครือขา่ ยครู 13. หารูปแบบวธิ ีการสอนเน้นผู้เรยี นเห็นคณุ คา่ ของการเรยี นรู้อย่างมคี วามสุข และใหข้ วัญกำลังใจ บนั ทกึ ขอ้ ตกลงขอ้ ท่ี 2 จะจัดการศึกษาใหน้ กั เรียนอา่ นออกเขยี นได้ทุกคน (10) ระดับเขตพืน้ ที่ 1. กำหนดเป้าหมายให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้ทุกคน และเสริมแรงให้ขวัญกำลังใจโรงเรียน ครูทีป่ ระสบความสำเร็จ ระดับเครือข่าย 2. กำหนดเป้าหมายให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้ทุกคน และยกย่องเชิดชูเกียรติ ให้กำลังใจ โรงเรยี นท่อี ่านออกเขยี นได้ 100 % ระดบั สถานศกึ ษา 3. ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้นำการส่งเสริมให้นักเรียนการอ่านออกเขียนได้ทุกคน ภายใน ปีการศึกษา 2563 4. ยกย่องครู/หอ้ งเรยี นที่สามารถจดั การเรยี นรูใ้ ห้นักเรียนอ่านออกเขยี นไดท้ ุกคนเป็นห้องเรียน ต้นแบบประจำโรงเรยี น ระดับห้องเรียน 5. คัดกรองนักเรยี นดา้ นการอา่ น/การเขยี นตามความเหมาะสมแตล่ ะระดบั ชน้ั 6. จัดทำขอ้ มูลนกั เรียนเพ่อื ส่งเสริมการอ่าน การเขยี นรายคน รายกลมุ่ 7. จดั กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน การเขียน คำพ้ืนฐานแต่ละระดบั ชั้น ด้วยสื่อ วิธกี ารทีห่ ลากหลาย

7 อย่างจริงจัง 8. คดั แยกเด็ก เดก็ เก่ง:สง่ เสริมสู่ความเปน็ เลศิ ด้านการอ่านการเขยี น เด็กท่มี ปี ญั หา : ซอ่ มเสริม 9. ประเมินการอา่ นการเขียน โดยมีผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาเป็นประธานเพื่อประเมินความสำเร็จ 10. จดั เวทีแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ตามรปู แบบทเี่ หมาะสม กจิ กรรมการพฒั นาตามบนั ทึกข้อตกลงแต่ละข้อ บันทกึ ข้อตกลงข้อที่ 1จะจัดการศกึ ษาให้นักเรยี นมคี ณุ ภาพการศกึ ษาสงู กวา่ ค่าเฉล่ียระดับชาติ ระดบั เขตพื้นท่ี ระดับเครือข่าย ระดบั สถานศกึ ษา ระดับหอ้ งเรยี น 1. วเิ คราะหผ์ ลสมั ฤทธิ์ เปรียบเทยี บกบั 1. วิเคราะหผ์ ลสัมฤทธ์ิ 1. จดั ทำข้อมูลนักเรียน 1. คัดกรองและจัดทำ ระดบั ประเทศ 2. ประชุมคณะทำงาน ทางการเรียนของ รายช้นั รายบคุ คล ราย ขอ้ มูลนักเรยี น กำหนดเปา้ หมายร่วมกนั ในการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ เครือข่ายและโรงเรยี นใน สาระการเรยี นรู้ รายบคุ คล/รายสาระ ป.3 ,ป.6 ,ม.3 3. จดั ทำรูปแบบแนวทาง เครือข่าย 2. กำหนดเปา้ หมายการ การเรียนรู้ และคมู่ ือการขับเคลื่อน คณุ ภาพการศึกษา 2. กำหนดเปา้ เหมายผล ยกผลสมั ฤทธิ์ ชัน้ ป.3 , 2. วิเคราะห์ผล 4. ทำบันทกึ ข้อตกลงใน การพัฒนา สมั ฤทธิ์ทางการเรยี นช้ัน ป.6,ม.3 ให้สอดคล้องกบั การสอบระดับชนั้ เรียน 5. ประชมุ ประธานกลุ่ม เครอื ข่ายสถานศึกษา ป.3,ป.6,ม.3 ให้ เขตพื้นที่ ระดับโรงเรียน ผู้บรหิ ารสถานศึกษา, ก.ต.ป.น และ อ.ก.ต.ป.น. สอดคล้องกับเขตพน้ื ท่ี 3. จัดกิจกรรมประชมุ ระดบั ชาติ เปรียบเทยี บ 6. เสนอแนวทาง การขับเคลื่อนคุณภาพ 3. จัดกิจกรรมยกระดบั สร้างความตระหนักกบั กบั ปีทีผ่ ่านมา บอก การศึกษา และให้ สถาบนั อุดมศึกษาเข้ามา ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ครู ผ้ปู กครอง ชุมชน จดุ เด่น/จดุ ดอ้ ย มสี ว่ นรว่ มในการจัด การศึกษา ระดบั เครือขา่ ย 4. ทำบันทึกลงนามใน 3. ออกแบบการจัด 4. จดั ทำข้อมลู ครูท่ีมี บนั ทกึ ข้อตกลง กิจกรรมใหส้ อดคล้อง ความรูค้ วามสามารถ ขบั เคลอ่ื นคณุ ภาพ กบั ความเหมาะสมกบั เฉพาะทางแต่ละกลมุ่ การศึกษา นกั เรยี นแตล่ ะคน สาระการเรียนรู้ 5. จดั ทำรปู แบบ 4. ศกึ ษาโครงสรา้ ง 5. จดั กิจกรรม สอน นวตั กรรมพัฒนา แบบทดสอบระดับชาติ เสรมิ โดยใชค้ รู ทีม่ ี คณุ ภาพการศึกษาระดบั ใหเ้ ขา้ ใจอย่างชดั เจน ความสามารถเฉพาะทาง โรงเรยี น 5. จัดหา/จดั ทำ 6. จัดทำแผนพฒั นา แบบทดสอบทตี่ รงกับ คณุ ภาพการศึกษาระดับ รูปแบบ มาตรฐาน โรงเรยี น ตัวบ่งช้ีการทดสอบ ระดับชาติ

8 บนั ทกึ ข้อตกลงข้อท่ี 1 (ต่อ) ระดับเขตพืน้ ที่ ระดับเครือข่าย ระดบั สถานศกึ ษา ระดับหอ้ งเรียน 7. สง่ เสริมสนบั สนุน 6. จดั โรงเรียนท่ปี ระสบ 7. จัดหางบประมาณ 6. กำหนดปฏิทิน งบประมาณใน ผลสำเรจ็ เปน็ ศูนย,์ สนับสนุนกจิ กรรมสอน การสอนเสรมิ และฝึก การขบั เคลื่อนแก่เครือข่าย ต้นแบบ,เปน็ พเ่ี ลีย้ ง เสรมิ ทักษะการทำข้อสอบ 8. สนับสนนุ เครอื่ งมอื การ ช่วยเหลอื โรงเรยี นใน 8. กำกบั นิเทศติดตาม 7. หารปู แบบ เทคนิค จัดสอบ Pre O–NET, NT เครอื ข่าย ความกา้ วหน้าในการ วธิ ีการสอนที่จะทำให้ 9. พัฒนาบุคลากรโดย 7. นเิ ทศติดตามโรงเรยี น พฒั นาของครู โดยใชส้ อื่ นกั เรยี นบรรลุเป้าหมาย บูรณาการโครงการ/ ในเครือข่าย เทคโนโลยีหรือวิธีการที่ ท่กี ำหนด กิจกรรม 8. จดั สอบ Pre O–NET เหมาะสม 8. สรุปเน้ือหาทุกกลมุ่ 10. นเิ ทศตดิ ตามรว่ มกบั ,NT กอ่ นสอบจรงิ อย่าง 9. ส่งเสริมบคุ ลากรเขา้ สาระการเรียนร้ตู าม เครอื ข่าย น้อย 2 ครัง้ พัฒนาตนเองตามความ มาตรฐานตวั ชว้ี ัด และ 11. จัดเวทแี ลกเปลยี่ น 9. พัฒนาบคุ ลากรให้ตรง ตอ้ งการ มอบหมายใหน้ กั เรียน เรียนรโู้ รงเรียนที่ประสบ กับความต้องการจำเป็น 10. ผบู้ ริหารและครูจัด ไปศกึ ษาเป็นการบา้ น ผลสำเรจ็ ของเครือขา่ ย กิจกรรม PLC ทุกสัปดาห์ 9. จัดกจิ กรรมคิดเลขเร็ว 12. พิจารณาความชอบโดย 10. คณะกรรมการ 11. สร้างขวัญกำลงั ใจแก่ ทอ่ งสตู รคูณ อาขยาน ยดึ คณุ ภาพผลสัมฤทธ์ิ บรหิ ารเครือข่ายมี ครทู ีม่ ผี ลงานดีเดน่ ความ ทุกวนั O-NET, NT อำนาจในการ เหมาะสม 10. ท่องคำคล้องจอง และใหเ้ ครือข่ายมีสว่ นร่วม พจิ ารณากลั่นกรอง 12. ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติ พดู บทสนทนา ในการพิจารณาตาม ความชอบในส่วนของ ครู บคุ ลากร ทีม่ ีผลงาน ภาษาองั กฤษก่อนเรยี น สัดสว่ นบุคลากรใน เครือข่ายและประธาน ดีเดน่ เปน็ แบบอยา่ ง ทุกวัน เครอื ข่าย เครอื ข่ายเป็นกรรมการ 11. เขียนเร่ืองจากภาพ 13. ยกย่องเชิดชูเกยี รติ กล้นั กรองในระดับเขต เขียนสรปุ ความ ทุกวนั เครือข่าย สถานศึกษา ครู 11. ยกย่องเชิดชูเกยี รติ 12. ยกย่องชมเชย และบคุ ลากรท่มี ีผลงาน โรงเรยี น ครู บุคลากร นกั เรยี นที่มผี ลการเรยี น ดเี ดน่ ประสบผลสำเร็จ ท่มี ผี ลงานดเี ดน่ ประสบ ดเี ดน่ 14. ส่งเสรมิ ให้บุคลากรเข้า ผลสำเร็จระดับเครอื ขา่ ย 13. ให้โอกาสนกั เรยี นที่ รว่ มประชมุ อบรม มผี ลการเรยี นดเี ดน่ ไป ศกึ ษาแหล่งเรยี นรู้ตาม สัมมนา เรียนรงู้ านทาง ความเหมาะสม วิชาการในระดับต่างๆ

9 กิจกรรมดำเนนิ งานตามบันทกึ ข้อตกลงแต่ละข้อ บันทึกข้อตกลงข้อที่ 2 จะจดั การศกึ ษาให้นักเรยี นอา่ นออกเขยี นได้ทุกคน ระดับเขตพ้นื ท่ี ระดบั เครือขา่ ย ระดบั สถานศึกษา ระดบั หอ้ งเรยี น 1. ประชุมจดั ทำบนั ทึก 1. จัดประชุมชแ้ี จง ครู 1. ทำบันทึกข้อตกลงกบั 1. สร้างขอ้ ตกลงกับ ขอ้ ตกลง ทกุ ระดับชนั้ ครู ผู้ปกครอง นกั เรยี น นักเรยี น 2. นิเทศตดิ ตาม รว่ มกบั 2. พฒั นาบคุ ลากรด้าน ชีแ้ จงสร้าง 2. คดั กรองนักเรยี นที่ เครือข่ายภาคเรยี นละ เทคนคิ วิธกี ารสอน การ ความตระหนัก อ่านไม่ออกเขียนไมไ่ ด้ 1 ครั้งเปน็ อย่างน้อย อา่ นออกเขียนไดร้ ะดบั 2. นิเทศติดตามแบบ จัดแยกเดก็ ตามกล่มุ 3. ประเมินการอ่านออก เครือข่าย กลั ยาณมติ ร โดยใช้ 3. จดั ทำข้อมลู เขยี นได้ ภาคเรยี นละ 3. นเิ ทศติดตามโรงเรยี น/ เครอื่ งมือท่ีสอดคล้องกบั สารสนเทศ 1 ครั้ง ชั้นเรยี น ภาคเรยี นละ 1- มาตรฐานตัวช้ีวดั กลุ่ม 4. จัดหาสื่อ/ผลติ สอ่ื 4. จดั เวทแี ลกเปลย่ี น 2 คร้ัง สาระการเรยี นรู้ พัฒนาการอ่านการเขยี น เรยี นรู้ โรงเรียน ครู ที่ 4. จัดเวทีแลกเปลยี่ น ภาษาไทยและจุดเน้น ทหี่ ลากหลาย ประสบความสำเรจ็ / เรยี นร้เู ทคนคิ วิธีการสอน 3. มอบใหน้ กั เรียนอา่ น 5. จดั กิจกรรมเสรมิ ตน้ แบบ การอ่านออก ทีป่ ระสบผลสำเรจ็ ระดับ หนังสือใหผ้ ู้ปกครองฟัง ทักษะการอ่านการเขยี น เขยี นได้ และยกย่องเชิด เครือข่าย และเซน็ รับรองทุกวัน/ 6. ประเมนิ ความกา้ วหนา้ ชเู กยี รติ 5. ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติ ครู ทกุ ระดับชน้ั ด้านการอ่านการเขยี น 5. เผยแพรผ่ ลงาน โรงเรยี น ท่ีประสบ 4. ยกย่องเชิดชเู กยี รติ อย่างต่อเนอ่ื ง นำข้อมูล เทคนิค วิธกี ารนวตั กรรม ผลสำเรจ็ ดา้ นการอา่ น ครูท่ีมผี ลการสอนดเี ดน่ / มาพัฒนานักเรียน ทปี่ ระสบผลสำเร็จผา่ น ออกเขยี นได้ ห้องเรียนต้นแบบ 7. จดั กจิ กรรมซ่อม/เสรมิ ส่ือต่างๆ 5. จัดเวทแี ลกเปล่ยี น นักเรยี นรายกรณี เรียนรู้ หรือ PLC (สร้าง 8. เขียนตามคำบอก ชมุ ชนแห่ง การ ประโยคสั้นๆทกุ วัน เรียนรู)้ ระดับ 9. ยกยอ่ งชมเชยนกั เรียน สถานศกึ ษา ท่ีมีผลการอ่านการเขียน ดเี ดน่

10 รายละเอยี ดและเกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพนักเรยี นตามเปา้ หมายที่กำหนด 1. คุณภาพการศึกษาสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับชาติ หมายถึง ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน ของนักเรียนทุกโรงเรียนในสังกัด ปีการศึกษา 2563 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับชาติ คือ ผลการ ทดสอบ NT ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 3 ผลการทดสอบ O-NET ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 และมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 คะแนนเฉลี่ยร้อยละเพิ่มข้ึนไมน่ ้อยกวา่ 3 2. การอา่ นออกเขียนได้ หมายถึง การอ่านออก อ่านรูเ้ รอื่ ง และเขียนได้ รายละเอียด ดงั น้ี อา่ นออก หมายถงึ การอา่ นคำ ประโยคหรือข้อความสั้น ๆ ท่ีเปน็ คำในวงคำศัพท์ในแต่ละระดับชั้น ปี ทงั้ ท่เี ป็นคำทมี่ ีความหมายโดยตรงหรือคำที่มีความหมายโดยนยั ทีใ่ ช้ในชีวิตประจำวัน โดยวธิ ีการอ่านออกเสยี ง อ่านรู้เรื่อง หมายถึง การอ่านคำ ประโยคหรือข้อความสั้น ๆ ที่เป็นคำในวงคำศัพท์ในแต่ละ ระดับชั้นปี ทั้งที่เป็นคำที่มีความหมายโดยตรงหรือคำที่มีความหมายโดยนัยที่ใช้ในชีวิตประจำวัน โดยสามารถบอก ข้อคิดที่ได้จากการอ่าน ร้อยแก้ว ร้อยกรอง สำหรับเด็ก (เป็นข้อความง่ายๆ) จับใจความจากเรื่องที่อ่าน ตอบคำถาม จากเรื่องที่อ่าน บอกความหมายของเครื่องหมายสัญลักษณ์ที่สำคัญที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน คาดคะเนจากเรื่องที่ อา่ นและสรุปความรู้ข้อคิดจากเรื่องท่ีอ่านได้อย่างสมเหตุสมผล เขียนได้ หมายถึง การเขียนคำ ประโยค หรือข้อความสั้นๆ ที่สามารถสื่อความได้อย่างสมเหตุ สมผลโดยการใช้คำ ประโยค ข้อความในวงคำศัพท์ที่กำหนดในแต่ละระดับชั้นที่ใช้ในชีวิตประจำวัน โดยสามารถ เขยี นคำ ประโยค หรือข้อความง่ายๆ ท่ีใชใ้ นชวี ิตประจำวนั เพอ่ื การสือ่ สารไดส้ อดคล้อง สรา้ งสรรค์ และสมเหตสุ มผล หมายเหตุ การประเมนิ การอ่านออกเขียนได้ พจิ ารณาตามความเหมาะสมของแต่ละระดับชั้น และ ศักยภาพของแต่ละบุคคล กรณีเด็กพิเศษให้ประเมินพัฒนาการตามความสามารถแต่ละบุคคล ไม่เทียบกับเกณฑ์หรือ เด็กปกติท่วั ไป จากการศึกษารูปแบบ LPG3(1+2) ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 สรุปได้ว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 รวมพลังทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมใน การขับเคลื่อนยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้น โดยใช้รูปแบบการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาของสำนักงานเขต พนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ท่ีประกอบด้วย 6 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ 1) Learning Organization องค์การ แห่งการเรียนรู้ 2) Participation การมีส่วนร่วม 3) Good Governance หลักธรรมาภิบาล 4) คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) 5) คณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ การศึกษา ด้านวิชาการ (อ.ก.ต.ป.น.ด้านวิชาการ) 6) คณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ การศึกษา ด้านบูรณการยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศึกษา (อ.ก.ต.ป.น.ด้านบูรณการยุทธศาสตร์การพัฒนา คณุ ภาพการศึกษา)

11 4. การจดั การเรยี นรู้ แบบ Active Learning การจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning ในปัจจุบันซึ่งเป็นยุคของการปฏิรูปการเรียนการสอน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการปฏิรูป การศึกษานั้น ผู้สอนจะต้องมีการพัฒนาตนเองและมีการเตรียมความพร้อมสำหรับการเรียนการสอนในรูปแบบ Active learning อยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเรียนการสอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งผู้เรียน เป็นเด็กสิ่งที่ต้องเน้นและปลูกฝังให้มากที่สุด คือ ความรับผิดชอบต่อการเรียน และการพัฒนาและสร้างนิสัยใน การเขา้ ชัน้ เรยี นอย่างเสมอ ทั้งนถี้ า้ เรามุง่ หวังให้ผู้เรยี นมีสภาพการเรยี นรู้แบบ Active ผู้สอนเองก็จะต้อง Active ไปด้วยเช่นกัน จึงจะเกิด Active Learning แต่จะเกิดขึ้นได้ก็ต้องมี Active Teaching ด้วยเช่นกัน (สำนักงาน คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2546) เมื่อผู้เรียนและผู้สอนมีความพร้อมมีการเตรียมตัว ทั้งฝ่ายก็จะเกิด สภาพการเรียนการสอนที่ Active learning ข้ึนมาได้ การกำหนดการเรียนรู้แบบ Active learning เป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นถึงความคิดที่แตกต่างของ ผู้เรียน เราจะเห็นวา่ รูปแบบการเรียนการสอนทผี่ ู้สอนใช้มากท่ีสุด คือ การพดู และนักเรยี นเป็นผู้ฟัง แต่การเรียน การสอนในลักษณะนี้จะไม่สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้จากการเรียนในห้องเรียนไปปฏิบัติได้ดี ดังนั้น ผู้สอนต้องสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมทำหน้าที่เพื่อช่วยให้ผูเ้ รียนเขา้ ใจและเกิดเป็นแสงไฟแหง่ การเรียนรู้ ของผ้เู รียนเป็นสำคัญ ตอ้ งใหผ้ ูเ้ รยี นเป็นศนู ย์กลางของการเรยี นร้แู บบ Active learning ทงั้ นีผ้ ู้สอนจำเป็นตอ้ งหา กลยทุ ธ์ตา่ งๆ ทส่ี ามารถดึงดูดใจใหผ้ ู้เรยี นเกดิ กระบวนการเรียนรู้อยา่ งน่าสนใจ และเทคนิคต่างๆ ทีใ่ ชใ้ นการเรยี น การสอนเพอ่ื ให้เกิดประโยชนม์ ากท่สี ุด ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียนไม่ว่าจะเป็นการจัดกิจกรรมรายบุคคล กิจกรรมคู่ กิจกรรมกลุ่ม กจิ กรรมกลุ่มโครงงานรว่ มกนั การจดั กิจกรรมควรต้องมีการวางแผน ตั้งวตั ถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย จัดกิจกรรมเมื่อไร อย่างไร ที่สำคัญกุญแจสู่ความสำเร็จในการจัดกิจกรรมนั้น จะต้องอาศัยความคิดสร้างสรรค์ หรอื กลวธิ ใี หมๆ่ พัฒนากจิ กรรมการเรียนรู้ โดยเริ่มจากกลุ่มเล็กๆ ใช้เวลาในชว่ งสัน้ ๆ โดยควรแจง้ วัตถปุ ระสงคต์ ั้ง วันแรกให้ผู้เรยี นทราบชัดเจนและเริม่ กิจกรรมตั้งแต่ต้นเทอม จัดบรรยากาศในห้องเรียนใหน้ กั เรียนน่ังเปน็ ค่หู รอื เป็นกลุ่มโดยมีสมาชิกที่มีความสามารถหลากหลาย การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เอื้อต่อสภาพแวดล้อม คำนึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล วิเคราะห์ปัญหาในการเรียนรู้แล้วนำมาแก้ปัญหาหรือพัฒนา ซึ่งจะส่งผลต่อผู้เรยี น ให้มพี ฒั นาการ การเรยี นรทู้ ด่ี ขี นึ้ ทนั ต่อสภาวะโลกปัจจบุ ันที่มกี ารเปล่ยี นแปลงในหลายๆ ด้านอยา่ งรวดเรว็

12 กิจกรรมพืน้ ฐานทสี่ ำคญั สำหรับการเรียนการสอนแบบ Active learning ในชน้ั เรียนน้ันล้วนอยู่ บนพ้ืนฐานของทักษะตอ่ ไปนี้ 1. การพูดและการฟงั เมื่อผู้เรียนได้พูดในหัวข้อใดหวั ข้อหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นการตอบคำถามของผู้สอนหรือ การอธิบาย เรื่องใดเรื่องหนึ่งให้เพื่อนร่วมชั้นฟัง ผู้เรียนได้ฝึกเรียบเรียงและประมวลความรู้ที่ตนได้ศึกษาและเรียนรู้ในชั้น เรียนเข้าด้วยกันเมื่อผู้เรียนฟังการบรรยาย ผู้สอนควรม่ันใจว่าเป็นการฟังที่มีความหมาย นั่นคือ ผู้สอนต้องม่นั ใจ ว่าผเู้ รยี นจะสามารถเช่อื มโยงระหวา่ งสิง่ ทผี่ เู้ รียนรูอ้ ย่แู ลว้ กับสง่ิ ท่ี ผู้เรียนกำลังฟัง ในการบรรยายแต่ละครั้ง ผู้เรียนต้องการเวลาระยะหนึ่งในการทำความเข้าใจ และเรียบเรยี งข้อมูลท่ีได้จากการฟัง อีกประเด็นที่น่าสนใจ คือ ผู้เรียนตอ้ งการเหตุผลของการฟัง วิธีการง่ายๆ ที่ ผู้สอนจะกระตนุ้ ความสนใจของผู้เรียนได้ ผู้สอนอาจใช้วิธตี ั้งคำถามที่จุดประกายความสนใจใคร่รู้ของผู้เรียนก่อน เรมิ่ การบรรยาย ผเู้ รยี นจะเกิดความสงสยั อยากคน้ หาคำตอบ เพือ่ ให้ไดค้ ำตอบนน้ั ผู้เรยี นจะใหค้ วามสนใจในส่ิง ที่ผู้สอนจะบรรยายต่อไป หรือผู้สอนอาจมอบหมายงานล่วงหน้า ให้ผู้เรียนอธิบายหัวข้อใดหัวข้อหนึ่งที่ผู้สอน กำลังจะบรรยายแก่เพื่อนร่วมชั้นหลังจบการบรรยาย ผู้เรียนจะให้ความสนใจในเนื้อหาที่ผู้สอนจะบรรยาย ประมวลผลและเรียบเรียงเนื้อหาของการบรรยายภายในระยะเวลาที่จำกัด และสื่อสารให้เพื่อนร่วมชั้นได้เข้าใจ ในสง่ิ ทตี่ นเองเขา้ ใจ 2. การเขยี น เช่นเดียวกับการฟังและการพูด การเขียนคือกระบวนการท่ีผู้เรียนประมวลข้อมูลที่ตนเองมอี ยู่ และถา่ ยทอดออกมาด้วยสำนวนภาษาของตนเอง การฝึกทักษะการเขยี นเหมาะกบั ผู้เรียนที่ชอบเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง ทักษะการเขียนถูกใช้ได้ผลดีมากกับชั้นเรียนขนาดใหญ่ ในขณะที่ การมอบหมายงานกลุ่มย่อยหรือการจับคู่เป็น กจิ กรรมท่ไี ม่ค่อยเหมาะสมนกั เพราะผู้เรียนทกุ คนอาจไมไ่ ด้มสี ่วนร่วมในงานเขียนของกล่มุ 3. การอ่าน โดยปกติแล้ว ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ผ่านการอ่านได้ดี แต่ผู้เรียนมักจะขาดการได้รับคำแนะนำ เพื่อการอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรมเพื่อส่งเสริม Active learning เช่น การทำสรุปหรือโน้ตตรวจสอบ ความเขา้ ใจ จะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นสรปุ แนวคิดรวบยอดจากการอ่านและพัฒนาความสามารถในการจับใจความสำคัญได้ 4. การสะท้อน ในห้องบรรยายทั่วๆไป ผู้สอนจะจบการพูดบรรยายที่ดำเนินมาอย่างต่อเนื่องเมื่อใกล้จะหมด เวลาบรรยายแล้ว ขณะนั้น ผู้เรียนจะเริ่มเก็บอุปกรณ์การเรยี นและเดินไปหอ้ งบรรยายรายวิชาถัดไป ในบางคร้ัง ผู้เรียนก็ไม่ได้ซึมซับความรู้จากการบรรยายที่เพิ่งจบลงเลย เพราะผู้เรียนไม่มีเวลาได้ถ่ายทอดในสิ่ง ที่เพิ่งเรียนรู้ โดยเชื่อมโยงเข้ากับส่ิงที่รู้อยู่แล้วหรือได้นำความรู้ที่ได้ศึกษามานั้นไปใช้ ดังนั้น การให้ผู้เรียนได้หยุดเพื่อคิดหรือ

13 ถ่ายทอดความรู้ของตนผา่ นการสอนหรือตวิ เพ่ือนรว่ มชัน้ หรือตอบคำถามต่างๆ ทเ่ี กี่ยวข้องกับเรื่องน้ันๆ เป็นวิธีท่ี งา่ ยท่สี ุดในการกระตุ้นความสนใจของผู้เรยี น กิจกรรมเพื่อส่งเสริม Active Learning ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในชั้นเรียนใดๆ ก็คือกิจกรรมที่ พฒั นาทกั ษะท่ผี ู้เรยี นยังขาดความชำนาญอยู่ อยา่ งไรกด็ ี ในบางกิจกรรม ผู้สอนสามารถช่วยพัฒนาทักษะหลายๆ ด้านไปพร้อมๆ กันได้ ดงั น้นั การที่ผู้สอนให้ความสำคัญต่อการวางแผนการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม Active Learning ในระหวา่ งภาคการศึกษาจึงเป็นเรอื่ งทีส่ ำคัญยง่ิ ลกั ษณะสำคัญของการจัดการเรียนการสอนแบบ Active learning ได้แก่ 1. เป็นการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสใหผ้ ้เู รียนมีสว่ นรว่ มในกระบวนการเรียนรู้สูงสุด 2. ผูเ้ รยี นเรยี นรู้ความรับผดิ ชอบร่วมกนั การมีวินยั ในการทำงาน การแบง่ หนา้ ที่ ความรบั ผดิ ชอบ 3. เปน็ กระบวนการสรา้ งสถานการณ์ให้ผู้เรยี นอา่ น พูด ฟงั คิดอย่างล่มุ ลึก ผู้เรยี นจะเป็นผู้ จดั ระบบการเรยี นรู้ด้วยตนเอง 4. เปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นบูรณาการข้อมลู ข่าวสาร หรือสารสนเทศ และหลักการความคดิ รวบยอด 5. ผูส้ อนจะเปน็ ผู้อำนวยความสะดวกในการจดั การเรียนรู้ เพื่อใหผ้ ้เู รยี นเปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ิด้วยตนเอง 6. ความรเู้ กิดจากประสบการณ์ การสรา้ งองค์ความร้แู ละการสรุปทบทวนของผู้เรียน การบริหารจดั การเม่อื ใชก้ ารเรยี นการสอนแบบ Active learning 1. พจิ ารณาจุดประสงค์ เน้อื หา ที่ต้องการให้ผูเ้ รยี นเรยี นรู้ 2. ออกแบบกิจกรรมทีช่ ว่ ยสง่ เสริมให้ผู้เรียนไดเ้ รยี นรู้ได้อยา่ งแท้จริง 3. ใชก้ ิจกรรมการเรียนเชิงรุก เพอ่ื กระต้นุ ให้ผเู้ รียนเรียน 4. ประเมินผลการเรียนอยู่เสมอ เพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนเรียนรอู้ ะไรบา้ งและมปี ระเด็นใดที่ ผู้เรียนยงั สงสยั 5. หลีกเลีย่ งการสอนเพือ่ ให้ครบใหท้ นั รีบเร่ง เพราะจะทำให้ผเู้ รียนไม่อยากเรยี น ตัวอยา่ งกจิ กรรมเพ่ือส่งเสริม Active Learning 1. Active Reading เป็นวิธที ี่ให้แต่ละคนอา่ นบทความแลว้ แลกเปลีย่ นความคิดเก่ยี วกับสงิ่ ท่ีได้อ่านกับเพอ่ื น นำมา เขยี นแผนผังมโนทศั น์ (Concept Map) ลงในกระดาษโปสเตอร์เพ่ือท้ากิจกรรม Walk Gallery ตอ่ ไป

14 2. Brainstorming กำหนดหัวข้อและเวลา จากนน้ั แบง่ กลุ่มผเู้ รยี นร่วมกันอภิปรายเพ่ือหาข้อสรุปของกลุ่ม แล้วทุก คนนำเสนอแนวคิดของตนและบนั ทกึ ทุกแนวคิดทม่ี ผี ู้นำเสนอ 3. Agree & Disagree Statement ผู้สอนตั้งคำถาม โดยมีตัวเลือกให้ผู้เรียนว่าเหน็ ดว้ ยหรือไม่ อย่างไร เช่น อาจใช้ไม้ปิงปองทีม่ ีสี 2 ด้านต่างกันเป็นอุปกรณ์ช่วยตอบ แล้วเลือกผู้ตอบในแต่ละกลุ่มให้อธิบาย หลังจากนั้นจึงอภิปรายแลกเปลี่ยน เรียนร้รู ว่ มกันท้งั ชนั้ เรียน 4. Carousel กำหนดหัวเรื่อง แล้วแบ่งเป็นหัวข้อย่อยที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน แบ่งกลุ่มผู้เรียนให้ได้จำนวน กลมุ่ เทา่ กบั จำนวนหวั ข้อย่อย จากนัน้ เขยี นหวั ข้อย่อยๆ ลงบนกระดาษโปสเตอรแ์ ลว้ ติดไวร้ อบๆ ห้อง แต่ละกลุ่ม ระดมความคิดและเขียนลงในกระดาษโปสเตอร์เมื่อครบ 2-3 นาทีเปลี่ยนไประดมความคิดหน้าโปสเตอร์ถัดไป โดยอา่ นแนวคดิ ของกลมุ่ ก่อนหน้า ถา้ เห็นดว้ ยให้ใส่เคร่ืองหมายถูกและเพิ่มส่ิงท่ีคดิ เหน็ แตกต่าง จากนั้นสรุปส่ิงท่ี ได้เรียนรู้รว่ มกนั 5. Concept Map ลักษณะคล้ายการเขียน Mind Map แต่การเขียนแผนผังมโนทัศน์จะแสดงแนวคิดและใช้ คำเชอื่ มโยงระหว่างแนวคดิ 6. Gallery Walk กำหนดหัวข้อเรื่อง เขียนแนวคิด วิธีการ ลงบนกระดาษโปสเตอร์แล้วติดไว้รอบๆ ห้อง เพื่อให้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างการเดินชมผลงาน 7. Jigsaw ผสู้ อนเลอื กเนือ้ หาทแ่ี บ่งเป็นสว่ นๆ 3-4 ชนิ้ แบ่งผู้เรยี นเป็นกลุ่มๆ โดยมสี มาชกิ ในกลุ่มเท่าๆ กนั กับเนื้อหา (Home group) สมาชิกแต่ละคนเลือกเนื้อหาที่ตนสนใจแล้วไปร่วมกับสมาชิกจากกลุ่มอื่น(Expert group) เพ่ือศกึ ษา ท้าความเขา้ ใจหรือหาคา้ ตอบรว่ มกันในกลมุ่ จากน้นั กลบั ไปสอนท่กี ลุ่มเดมิ ของตนจนครบถ้วน 8. Problem/Project-based Learning หรือ Case Study ใช้เรื่องจริงหรือปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในชุมชน บ้าน โรงเรียน หรือที่เกิดขึ้นกับบุคคลใด บุคคลหน่ึง เพื่อให้นักเรียนคิดวิเคราะห์และหาทางแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยการบูรณาการความรู้ที่ได้เรียนกับประสบการณ์ ตรงหรือสืบเสาะหาความรู้เพม่ิ เติม 9. Role Playing การแสดงบทบาทสมมุติเป็นวิธีการสอนที่ให้ผู้เรียนได้ฝึกการแสดงออกตามสถานการณ์ที่ กำหนดให้เพอ่ื เปน็ ประสบการณ์ทีจ่ ะน้าไปแก้ไขปัญหาและสถานการณจ์ ริงในชวี ิต ผเู้ รียนได้เรียนรู้การแสดงออก

15 ฝึกวางแผนการท้างานร่วมกัน เข้าใจความรู้สึกและพฤติกรรมทั้งของตนเองและของผู้อื่น เช่น การทำกิจกรรม “คุก๊ กคี้ าเฟ่” ผ้สู อนจะกำหนดบทบาทแล้วเขยี นไว้ในกระดาษ ใหผ้ ูเ้ รียน 6 คน จับฉลากเลอื กวา่ จะแสดงบทบาท ใด โดยไม่ให้ปรึกษากัน แล้วให้แสดงบทบาทสมมติตามบทบาทที่ตนเองได้รับ หลังจากนั้นจะตั้งคำถามและให้ ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นว่า ผู้แสดงแต่ละคนทำหน้าที่อะไร และทำหน้าที่นั้นได้ดีหรือไม่ มีจุดใดต้องแก้ไขหรือ ปรบั ปรุง เป็นต้น 10. Think – Pair – Share ผู้สอนเป็นผู้ตั้งคำถามให้ผู้เรียนคิดหาคำตอบด้วยตนเอง หลังจากนั้นจึงอภิปรายแลกเปลี่ยน ความคดิ เหน็ กันกับเพือ่ นในชั้นเรยี น 11. Predict – Observe – Explain จำลองสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะเรียนรู้ โดยผู้เรียนเขียนทำนายสิ่งที่น่าจะเกิดขึ้น สังเกตและบันทึกผล อธิบายสิ่งที่สังเกตได้อาจทำการทดลอง สำรวจหรือค้นคว้าเพิ่มเติมได้ และนำเสนอผลงาน กลมุ่ หน้าช้นั เรยี น เป็นตน้ 12. Clarification Pause เม่ืออธบิ ายถึงประเด็นที่สำคัญ ผู้สอนควรใหเ้ วลาผ้เู รียนตกผลึกความคิด และเปิดโอกาสให้ผู้เรียน ซักถามหากต้องการคา้ อธบิ ายเพ่ิมเติม (ผู้สอนควรจะเดินไปรอบๆ ห้อง เพราะผู้เรยี นมักไม่กลา้ ถามหน้าชน้ั เรียน) 13. Card Sorts ผู้สอนจัดเตรียมบัตรคำ/บัตรภาพไวใ้ ห้ผู้เรียนจัดกลุม่ บัตรภาพนั้นๆ และต้องอธิบายเกณฑ์ที่ใช้ จดั กลมุ่ ให้เพ่ือนและผู้สอนฟัง และอภปิ รายร่วมกนั ในชนั้ เรียน 14. Chain Note ผูส้ อนเตรยี มคำถาม/ข้อความที่เกย่ี วข้องกบั เน้อื หาท่ตี ้องการไว้ โดยอาจพมิ พ์ลงบนกระดาษ A4 แลว้ ให้ผเู้ รียนแต่ละคนตอบคำถามหรอื ข้อความนนั้ ๆ เพียง 1-2 ประโยค จากน้นั ส่งตอ่ กระดาษแผนนนั้ ให้เพื่อนที่ นั่งถัดไปเพื่อช่วยกันตอบคำถามนั้นให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น สามารถใช้ก่อนเรียนหรือหลังเรียนได้และควรส่งกระดาษ แผน่ นน้ั กลับในทิศทางเดิม เพ่ือให้ผูท้ ี่เขยี นกอ่ นได้อ่านความเหน็ ทั้งหมดดว้ ย 15. Team - pair - solo เทคนิคการทำเปน็ กลุม่ ทำเป็นคู่ และทำคนเดียว เป็นเทคนิคทีผ่ ู้สอนกำหนดปัญหาหรอื งานให้ แล้วนักเรียนทำงานร่วมกันทั้งกลุ่มจนงานสำเร็จ จากนั้นจะแยกทำงานเป็นคู่จนงานสำเร็จ สุดท้ายผู้เรียนแต่ละ คนแยกมาทำเองจนสำเร็จไดด้ ้วยตนเอง 16. Students’ Reflection เป็นการให้ผ้เู รียนไดส้ ะท้อนความคิด อาจจะให้ผู้เรยี นสรุปสิ่งท่ีไดเ้ รียนรูใ้ นคาบเรียน เสนอแนะ เกี่ยวกบั การเรยี น ถามคำถามท่ยี งั สงสัย หรอื ให้ผ้เู รยี นคน้ คว้าเพิม่ เติมเก่ียวกบั สิ่งที่เรยี น เช่น

16 - Know – Want – Learned เมื่อเริ่มต้นบทเรียน ให้ผู้เรียนเขียนสิ่งที่รู้และสิ่งที่อยากรู้ เกี่ยวกับเนอ้ื หาทจี่ ะเรยี น เมือ่ จบบทเรียน ให้ผเู้ รยี นเขยี นสรปุ ส่ิงทไ่ี ด้เรียนรู้ - Got – Need และ Exit Ticket เมื่อจบบทเรียน ให้ผู้เรียนเขียนสิ่งที่ได้เรียนรู้อาจเป็นการสรุป ร่วมกนั หน้าช้นั เรียน และวางแผนกิจกรรมการเรยี นจากสิง่ ท่ีอยากรู้เพ่มิ เติม - Diary/ Journal Note เขยี นสรปุ สงิ่ ทไ่ี ด้เรยี นรู้ ค้าถามทยี่ ังสงสยั และความรู้ ความในใจ 17. Simultaneous round table เทคนิคนี้เหมือนการเขียนรอบวง แตกต่างกันที่เน้นให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มเขียนคำตอบพร้อม กัน และใหต้ อบพร้อมกนั จากการศึกษาเอกสารที่กล่าวมานั้นสิ่งสำคัญ คือ ไม่ว่าผู้สอนจะเลือกทำกิจกรรมเพื่อส่งเสริม Active Learning กิจกรรมใด ความสม่ำเสมอเป็นสิ่งสำคัญยิ่ง หากผู้สอนได้เริ่มต้นกิจกรรมนำบทเรียนแล้ว ผู้เรียน จะเกิดความคาดหวังทจี่ ะเขา้ รว่ มกิจกรรมลักษณะน้ันอีกและต้องการแสดงความสามารถของตนใหด้ ีข้ึนเร่ือยๆ

17 เอกสารอ้างองิ สำนกั งานคณะกรรมการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน. (2563). ประกาศสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน เรอ่ื งนโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ 2564-2565. สำนกั งานคณะกรรมการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน. (2546) Active learning (การเรยี นรแู้ บบกัมมนั ต). วิชาการ, 6 (9) เขา้ ถงึ ขอ้ มลู ไดจ้ าก http://www.myfirstbrain.com/teacher_view.aspx?ID=12149


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook