Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา ปีการศึกษา 2558

ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา ปีการศึกษา 2558

Published by Aisara Deemak, 2020-03-16 04:59:37

Description: ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา ปีการศึกษา 2558

Search

Read the Text Version

คำนำ สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ไดจ้ ดั ทำเอกสาร “สารสนเทศทางการ ศกึ ษาปีการศึกษา 2558” ซึ่งขอ้ มูลสารสนเทศทางการศึกษาฉบับภาพรวมของสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา ประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ขอ้ มลู เหล่านี้ไดจ้ ากการสำรวจข้อมูลทุกโรงเรยี นในสังกัด ณ วนั ท่ี 10 มถิ นุ ายน 2558 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2558 เพ่อื เปน็ ข้อมลู ในการบรหิ ารจัดการศึกษา การศึกษาค้นคว้า และคาดการณแ์ นวโน้มการศึกษาข้นั พื้นฐานต่อไป สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ใครข่ อขอบคุณผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ครู และบุคลากรทางการศึกษาในสงั กัด ท่ีใหค้ วามร่วมมอื ในการสำรวจและรวบรวมขอ้ มลู รายงานและจัดทำ เอกสารข้อมูลสารสนเทศทางการศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 3 ปกี ารศึกษา 2558 ฉบบั นี้ใหส้ ำเร็จได้ ด้วยดี และหวังเปน็ อยา่ งยิ่งวา่ เอกสารฉบับนจ้ี ะเป็นประโยชนต์ อ่ บคุ ลากรและหนว่ ยงานท่ีรบั ผดิ ชอบต่อการจัด การศกึ ษาทุกระดับนำไปใช้เพ่ือการวางแผนและบริหารจัดการให้เกดิ ประสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ลได้ตาม สมควร สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3

สารบญั หนา้ คำนำ บทสรปุ ผู้บรหิ าร คำนิยาม ส่วนที่ 1 ➢ โครงสร้างการบริหารงานสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ส่วนที่ 2 ➢ สภาพทัว่ ไปของเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 1) ลกั ษณะทต่ี งั้ และอาณาเขต 2) ลักษณะสภาพภมู ปิ ระเทศ 3) ลักษณะภมู ิอากาศ 4) ข้อมูลทว่ั ไปจังหวดั ลำปาง 5) สภาพการปกครอง ส่วนท่ี 3 ➢ สภาพการจดั การศกึ ษาของเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 3 1) แผนทแ่ี สดงทต่ี ั้งจงั หวัดลำปาง 2) แผนทีแ่ สดงทตี่ ้ังอำเภอในเขตพื้นท่ีการศึกษาฯ 3) โครงสร้างและข้อมลู การจดั การศึกษาสานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ส่วนท่ี 4 ➢ บคุ ลากรกลมุ่ นโยบายและแผน ➢ กจิ กรรมกลุ่มนโยบายและแผน ส่วนที่ 5 ➢ สรปุ ผลและข้อมูลพนื้ ฐานทางการศกึ ษา

สารบัญตาราง หนา้ สว่ นท่ี 3 สภาพการจดั การศกึ ษาของเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาลำปาง เขต 3 ตารางท่ี 1 จำนวนโรงเรียนจำแนกตามประเภท ปีการศกึ ษา 2558 ตารางท่ี 2 จำนวนโรงเรียนจำแนกตามขนาดของนักเรยี น ปีการศึกษา 2558 ตารางที่ 3 จำนวนนกั เรยี น จำแนกรายชั้น เพศ หอ้ งเรยี น และนักเรียนต่อหอ้ งเรียน ปีการศึกษา 2558 ตารางท่ี 4 จำนวนนักเรยี น ห้องเรยี น และนักเรียนต่อหอ้ งเรียน และระดบั การศึกษา ปีการศกึ ษา 2558 ตารางที่ 5 จำนวนโรงเรยี น นักเรียน ครู หอ้ งเรยี น ครตู ่อนักเรยี น และนักเรยี นต่อห้องเรียน จำแนกตามขนาดของโรงเรยี น ปกี ารศึกษา 2558 ตารางที่ 6 จำนวนนกั เรียนต่อประชากรวัยเรียน จำแนกรายช้ัน ปกี ารศกึ ษา 2558 ตารางที่ 7 จำนวนนักเรยี นพิการเรยี นร่วม จำแนกตามระดับการศึกษา ปีการศกึ ษา 2558 ตารางท่ี 8 จำนวนนักเรยี นด้อยโอกาส จำแนกตามระดับการศกึ ษา ปีการศึกษา 2558 ตารางท่ี 9 จำนวนนักเรียนขาดแคลนเคร่ืองเขียน แบบเรียนและอาหารกลางวัน ปีการศึกษา 2558 ตารางท1่ี 0 จำนวนนักเรยี นในเขตบรกิ ารที่อยู่หา่ งไกลโรงเรียนเกนิ 3 กม. จำแนกตามวธิ กี ารเดนิ ทางมาเรยี น ปกี ารศึกษา 2558 ตารางท1ี่ 1 จำนวนนักเรยี นออกกลางคนั จำแนกตามสาเหตุและรายชน้ั ปกี ารศึกษา 2557 ตารางท1่ี 2 จำนวนนกั เรียนพักนอน จำแนกตามระดับการศึกษา ปี 2558 ตารางท1ี่ 3 น้ำหนัก สว่ นสูงนกั เรียนเทยี บเกณฑ์มาตรฐาน จำแนกตามระดบั การศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2558

ตารางท1่ี 4 จำนวนนกั เรยี นที่จบการศึกษาชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 และมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2557 ตารางท1่ี 5 สรุปผลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ระดับสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 3 ตารางท1่ี 6 แนวโนม้ คะแนนเฉลย่ี O-NET ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ระดบั ประเทศ ตารางท1ี่ 7 สรุปผลผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พ้นื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2557 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ระดับสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ตารางท1่ี 8 แนวโนม้ คะแนนเฉลยี่ O-NET ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3 ระดบั ประเทศ ตารางท1ี่ 9 จำนวนบคุ ลากร จำแนกตามประเภท ปีการศึกษา 2558 ตารางท2่ี 0 จำนวนงบประมาณโครงการตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ 2558 ตามแผนกลยุทธ์ ตารางที่ 21 เปรียบเทียบข้อมูลพ้ืนฐานการศึกษา ปีการศึกษา 2554 – 2558 ตารางที่ 22 โรงเรยี นจำแนกขนาดตามจำนวนนกั เรียน ปีการศกึ ษา 2554 – 2558 ตารางท่ี 23 จำนวนนักเรยี นจำแนกรายชั้น ปกี ารศึกษา 2554 – 2558 สารบญั แผนผงั หนา้ แผนผัง โครงสร้างการบริหารงานสานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 สารบญั แผนภมู ิ แผนภูมทิ ี่ 1 จำแนกจำนวนบุคลากรสำนักงานเขตการศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 3 ตามกลมุ่ ต่างๆ ปีการศกึ ษา 2558 แผนภูมิที่ 2 เปรยี บเทยี บจำนวนโรงเรียนจำแนกตามขนาดของนักเรียน ปีการศกึ ษา 2558 แผนภมู ทิ ่ี 3 เปรยี บเทียบจำนวนนักเรียนจำแนกตามระดบั การศกึ ษา และเพศ ปีการศกึ ษา 2558 แผนภมู ทิ ี่ 4 เปรียบเทยี บข้อมูลนกั เรยี น หอ้ งเรียน จำแนกตามประเภทโรงเรยี น ปกี ารศกึ ษา 2558 แผนภูมิท่ี 5 เปรยี บเทียบจำนวนนักเรยี นต่อประชากรวยั เรยี น ปกี ารศกึ ษา 2558 แผนภมู ิที่ 6 เปรยี บเทียบจำนวนนกั เรยี นพิการเรียนรว่ มจำแนกตามประเภทความพิการ

ปกี ารศึกษา 2558 แผนภูมทิ ี่ 7 เปรียบเทียบร้อยละของนักเรยี นด้อยโอกาส จำแนกตามประเภทความดอ้ ยโอกาส ปีการศึกษา 2558 แผนภูมทิ ี่ 8 จำนวนนักเรยี นขาดแคลน จำแนกตามรายการขาดแคลน และระดับช้นั ปีการศึกษา 2558 แผนภูมทิ ี่ 9 ร้อยละจำนวนนักเรียนในเขตบริการที่อยหู่ ่างไกลโรงเรยี นเกนิ 3 กม. จำแนกตามวิธกี ารเดินทางมาเรยี นและระดับช้นั ในปีการศกึ ษา 2558 แผนภมู ิที่ 10 จำนวนนักเรียนพกั นอน จำแนกตามระดบั การศกึ ษา ปีการศึกษา 2558 แผนภูมทิ ี่ 11 นำ้ หนกั สว่ นสูงนกั เรียนเทียบเกณฑ์มาตรฐาน จำแนกตามระดบั การศึกษา ปกี ารศึกษา 2558 แผนภมู ทิ ่ี 12 สถานะนักเรยี นทเ่ี รยี นจบช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2557 แผนภูมิที่ 13 แสดงการเปรยี บเทยี บคะแนนเฉล่ียรายวิชาผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 ระดบั สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา ประถมศึกษาลำปาง เขต 3 แผนภูมทิ ่ี 14 แสดงการเปรียบเทยี บคะแนนเฉลี่ยรายวิชาผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ขน้ั พน้ื ฐาน(O-NET) ปีการศกึ ษา 2557 ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ระดับสำนักงานเขตพ้นื ท่ี การศกึ ษา ประถมศึกษาลำปาง เขต 3 กบั ระดบั สงั กัด (สพฐ.) แผนภูมทิ ี่ 15 แสดงการเปรียบเทยี บคะแนนเฉลย่ี รายวิชาผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ระดับสำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ประถมศึกษาลำปาง เขต 3 กับระดบั ประเทศ แผนภูมทิ ี่ 16 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียรายวิชาผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2557 ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 ระดับ สพป.ลำปาง เขต 3 ระดับสงั กัด (สพฐ.) และระดับประเทศ แผนภูมิที่ 17 แสดงการเปรียบเทยี บคะแนนเฉลีย่ รายวชิ าผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับสำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 3 ปีการศกึ ษา 2556 กบั ปกี ารศึกษา 2557 แผนภูมทิ ี่ 18 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายวชิ าผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2557ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ระดบั สำนกั งานเขตพ้ืนท่ี

การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 แผนภมู ทิ ่ี 19 แสดงการเปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ียรายวิชาผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2557 ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ระดบั สำนกั งานเขตพื้นท่ี แผนภูมทิ ่ี 20 แสดงการเปรียบเทยี บคะแนนเฉลยี่ รายวิชาผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2557 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ระดบั สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาลำปาง เขต 3 กบั ระดับประเทศ แผนภมู ิที่ 21 แสดงการเปรยี บเทยี บคะแนนเฉล่ียรายวชิ าผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2557 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ระดับ สพป.ลำปางเขต 3ระดับสังกดั (สพฐ.)และระดับประเทศ แผนภูมทิ ่ี 22 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียรายวชิ าผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ปีการศึกษา 2556 กบั ปกี ารศกึ ษา 2557 แผนภมู ทิ ่ี 23 เปรียบเทยี บจำนวนบุคลากร จำแนกตามประเภท ปกี ารศึกษา 2558 แผนภูมิที่ 24 จำนวนงบประมาณโครงการตามแผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ 2558 จำแนก ตามกลยทุ ธ์ แผนภมู ทิ ี่ 25 เปรยี บเทยี บข้อมูลโรงเรยี นจำแนกตามขนาด ปกี ารศกึ ษา 2554 – 2558 แผนภมู ทิ ี่ 26 เปรยี บเทียบจำนวนนกั เรียนท้งั หมด ปกี ารศึกษา 2554 – 2558 แผนภมู ิที่ 27 เปรยี บเทียบจำนวนนักเรียน จำแนกตามระดับการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2554 – 2558 บทสรปุ ผู้บริหาร บทนำ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 เป็นหนว่ ยงานในสังกัดสำนกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ตั้งอยู่ เลขที่ 359 ถนน วิเชตวฒั นา ตำบล แจ้ห่ม อำเภอ แจ้ห่ม จังหวดั ลำปาง มหี น้าทีห่ ลกั ในการส่งเสรมิ และสนบั สนุนการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ใหเ้ ป็นไปตาม อำนาจหน้าท่ตี ามพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และมาตรา 37 แห่งพระราชบัญญัตริ ะเบียบ บรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546 โดยมีความรบั ผดิ ชอบครอบคลุมพื้นที่ 3 อำเภอ ประกอบด้วย อำเภอแจห้ ่ม อำเภอวังเหนือ และอำเภอเมืองปาน โดยมวี ิสัยทัศนแ์ ละพันธกิจ ดงั น้ี วิสัยทัศน์

จดั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน มีคุณภาพตามมาตรฐาน ภายใต้การมสี ว่ นร่วมของทุกภาคสว่ น โดยแบ่งออกเปน็ ประเด็นสำคัญวิสยั ทัศน์ พันธกิจ เปา้ ประสงคด์ ังต่อไปน้ี ประเดน็ สำคญั วสิ ยั ทศั ที่ 1 การบริหารจัดการมีประสทิ ธิภาพ มีสว่ นรว่ มใชเ้ ทคโนโลยีสคู่ วามเปน็ เลิศ พนั ธกิจ 1. สง่ เสริมให้มีการบรหิ ารจดั การแบบมีส่วนร่วม เพื่อความเป็นเลิศ 2. เพ่ิมประสทิ ธิภาพการใชเ้ ทคโนโลยีในการบรหิ ารจัดการตอบสนองความต้องการของผรู้ บั บริการ เปา้ ประสงค์ 1. เขตพนื้ ท่ีการศึกษา มีคณุ ภาพตามมาตรฐาน เป็นไปตามหลักธรรมาภบิ าล โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ 2. เขตพืน้ ที่การศึกษา/โรงเรียน ใช้เทคโนโลยีในการบรหิ ารจดั การอย่างมปี ระสิทธิภาพ 3. ผู้รบั บริการพงึ พอใจ 4. ทุกภาคสว่ นมสี ว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา ประเด็นสำคัญวิสัยทัศท่ี 2 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเป็นมอื อาชพี พนั ธกิจ 1. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ใหม้ ีความเปน็ มืออาชพี อย่างต่อเน่ือง 2. ส่งเสรมิ สนับสนุนครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาให้มคี วามก้าวหน้าทางวิชาชีพ 3. สนับสนนุ การยกย่องเชิดชูเกยี รตคิ รูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา เปา้ ประสงค์ 1. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มีความรู้ ความสามารถและทักษะตามสมรรถนะ ปฏิบตั ิงานตามมาตรฐาน วิชาชพิ 2. ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความกา้ วหน้าในวชิ าชีพไดร้ ับการยกย่องเชิดชเู กียรติ 3. ครูและบุคลากรทางการศึกษา ปฏบิ ัติงานตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ประเด็นสำคญั วิสัยทศั ท่ี 3 ผู้เรยี นมีคุณภาพ พันธกจิ

1. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้ประชากรวัยเรยี นทุกคนได้รับการศึกษาอยา่ งท่วั ถงึ มีคณุ ภาพ และเสมอภาคตาม มาตรฐานพร้อมเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน 2. พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นตามมาตรฐานการศึกษาเทียบเคยี งมาตรฐานสากล เปา้ ประสงค์ 1. ประชากรวัยเรียนทุกคน ไดร้ บั การศึกษาอย่างท่ัวถึง มีคุณภาพและเสมอภาคตามมาตรฐาน พร้อมเขา้ สู่ ประชาคมอาเซยี น 2. ผู้เรยี นมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาเทียบเคียงมาตรฐานสากล คำนยิ าม

โรงเรียน หมายถึง โรงเรียนในสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน วันทีต่ ัง้ โรงเรียน หมายถึง วนั ท่ีกอ่ ต้ังโรงเรยี นนี้ ซึ่งไดบ้ ันทึกไวใ้ นสมุดหมายเหตุรายวนั เขตทีต่ ้ังของโรงเรียน หมายถงึ ทต่ี ้งั ของโรงเรียนว่าอยู่ในเขตใด แบ่งเป็น 3 ลักษณะ คือ 1) เขตการปกครอง หมายถึง สถานท่ีท่ีตั้งของโรงเรยี นท่ีต้ังอยู่ในเขตการปกครองตามท่ี กระทรวงมหาดไทยประกาศ 2) ที่ต้ังทางภูมิศาสตร์ หมายถึง สถานทีต่ ั้งของโรงเรียนตั้งอย่ใู นพ้ืนทห่ี รือบรเิ วณสภาพทาง ภูมศิ าสตร์ 3) โรงเรยี นทตี่ งั้ อยูใ่ นบริเวณเดียวกับวัด เขตบริการของโรงเรียน หมายถงึ เขตพน้ื ทีบ่ ริการของโรงเรยี นที่คณะกรรมการเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษากำหนด พื้นที่โรงเรียน หมายถงึ ขนาดของท่ีดนิ ท่ีเปน็ ท่ตี งั้ ของโรงเรยี น ทดี่ ินทโี่ รงเรียนมสี ิทธค์ิ รอบครองหรือใช้ ประโยชนใ์ นการจัดการศึกษาจากท่ดี ินนัน้ ซง่ึ อาจะมีจานวนหลายแปลง รวมถงึ ลักษณะการถือครองที่ดนิ ใน แต่ละแปลงในลักษณะตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1) ท่ีป่าสงวน เปน็ ทีด่ ินทีอ่ ยู่ในความดูแลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และไดร้ บั ความยินยอม ให้จดั ต้ังโรงเรียนเพื่อจัดการศึกษาใหบ้ ตุ รหลานของประชาชนที่อาศยั อยูใ่ นเขตนัน้ เล่าเรียน 2) ทธ่ี รณีสงฆ์ เปน็ ทด่ี ินท่ีอยู่ในความดูแลของวัดหรอื กรมการศาสนา และได้รบั ความยินยอมให้ จัดตง้ั โรงเรียนเพอื่ จัดการศึกษาให้บตุ รหลานของประชาชนที่อาศยั อยใู่ นเขตน้ันเล่าเรียน 3) ท่รี าชพสั ดุ เป็นทดี่ ินทีอ่ ยู่ในความดูแลของรัฐ และยินยอมให้จัดตงั้ โรงเรยี นเพอื่ จดั การศึกษาให้ บตุ รหลานของประชาชนทีอ่ าศัยอย่ใู นเขตนนั้ เล่าเรยี น 4) ทดี่ ินเช่าผ้อู ่ืน เปน็ ทด่ี ินที่โรงเรียนเชา่ จากบุคคลอื่น เพื่อทาประโยชน์ในดา้ นการจัดการศึกษา 5) ที่ทรัพยส์ นิ ส่วนพระมหากษัตริย์ ทย่ี ินยอมให้จัดตัง้ โรงเรียนเพอื่ จัดการศึกษาใหบ้ ุตรหลานของ ประชาชนท่ีอาศัยอย่ใู นเขตนั้นเลา่ เรยี น 6) ทีไ่ ด้รับบรจิ าค และ/หรอื ให้ใช้ประโยชน์ หมายถึง ท่ีดนิ ที่โรงเรียนได้รับบริจาคหรือใหท้ ำ ประโยชนด์ ้านการจดั การศึกษาจากทด่ี นิ ผืนน้ัน 7) ท่ีสาธารณประโยชน์ 8) ท่ี ส.ป.ก. โรงเรยี นสาขา หมายถึง โรงเรยี นทจี่ ัดตง้ั ขึน้ เพอ่ื รองรับความต้องการของชมุ ชนหรอื ท้องถน่ิ ทต่ี ้องการให้บุตร หลานไดศ้ กึ ษาเลา่ เรยี นในโรงเรียน ทตี่ งั้ อย่ใู นท้องถ่ินของตนเอง แต่ไมม่ โี รงเรียนตง้ั อย่กู ่อนไดร้ บั อนญุ าตให้เปิด เป็นโรงเรยี นสาขาแลว้

หนว่ ยงานทางการศึกษา หมายถงึ หนว่ ยงานท่มี ีหน้าทีจ่ ัดการเรยี นรู้ และ / หรอื ดแู ลรับผดิ ชอบเกีย่ วข้องกับ การจดั การศกึ ษา เชน่ มหาวทิ ยาลัย วทิ ยาลยั ชุมชน ประเภทโครงการอาหารกลางวนั แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ประเภทท่ี 1 หมายถงึ โรงเรยี นทส่ี ามารถบริหารจดั การให้นักเรยี นทกุ คนมีอาหารกลางวัน รับประทานทุกวนั โดยขอรบั เงินงบประมาณสนบั สนุนจากรัฐ ประเภทที่ 2 หมายถึง โรงเรียนสามารถบรหิ ารจดั การใหน้ กั เรียนทกุ คนมอี าหารกลางวัน รบั ประทาน ทุกวันโดยได้รับเงนิ งบประมาณสนบั สนุนจากรัฐ ประเภทท่ี 3 โรงเรยี นท่นี กั เรียนจำนวนหน่ึง ไม่ไดร้ บั ประทานอาหารกลางวนั ถึงแมจ้ ะได้รบั เงิน งบประมาณสนบั สนุนตามที่รัฐจัดให้ จำแนกเปน็ 3.1) หมายถงึ โรงเรยี นท่มี นี ักเรยี นจำนวนหน่ึงไม่ได้รับประทานอาหารกลางวันแมโ้ รงเรียน พยายามจดั อาหารกลางวันให้กบั นักเรียนได้มากกว่างบประมาณท่ีไดร้ ับจดั สรรแลว้ กต็ าม 3.2) หมายถงึ โรงเรยี นทมี่ ีนกั เรยี นจำนวนหนึ่งไม่ได้รบั ประทานอาหารกลางวันและโรงเรยี น ก็ได้พยายามจัดอาหารกลางวนั ให้กับนักเรยี นไดเ้ ทา่ กับงบประมาณท่ีไดร้ บั จัดสรรเท่าน้ัน นักเรียนพกิ าร หมายถงึ บคุ คลท่มี ีความบกพร่องทางร่างกายและจติ ใจ แบ่งเปน็ 9 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) คนท่ีมคี วามบกพร่องทางการเหน็ หมายถงึ บุคคลที่สูญเสยี การเหน็ ต้งั แต่ระดบั เลก็ นอ้ ยจนถึง บอดสนทิ อาจแบ่งได้ 2 ประเภท คอื คนตาบอดสนทิ และคนเหน็ เลือนลาง 2) คนทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางการไดย้ ิน หมายถงึ คนที่สูญเสียการไดย้ ินต้ังแตร่ ะดับรุนแรง จนถึง ระดับนอ้ ยอาจแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ คนหูหนวก และคนหตู ึง 3) คนท่ีมีความบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา หมายถึง คนท่ีมีพัฒนาการช้ากวา่ คนปกติท่ัวไปเม่ือวัด สตปิ ญั ญา โดยใชแ้ บบทดสอบมาตรฐานแลว้ มีสติปัญญาต่ำกว่าบคุ คลปกตแิ ละความสามารถในการ ปรับเปลยี่ นพฤติกรรมต่ำกว่าเกณฑป์ กติอยา่ งน้อย 2 ทกั ษะ หรือมากกวา่ เชน่ ทกั ษะการส่อื ความหมาย ทักษะทางสงั คม ทักษะการใช้ สาธารณสมบตั ิ การดูแลตนเอง การดารงชีวิตในบ้าน การควบคุมตนเอง สขุ ภาพอนามัยและความปลอดภยั การเรียนวชิ าเพือ่ ชวี ติ ประจาวัน การใชเ้ วลาว่างและการทางาน ซง่ึ ลักษณะ ความบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา จะแสดงอาการกอ่ นอายุ 18 ปี อาจแบ่งความบกพร่องทางสตปิ ญั ญาออกเปน็ 2 ระดับ ดงั นี้ (1) เดก็ ปัญญาอ่อนท่ีเรียนหนังสือได้ หมายถึง เด็กปญั ญาอ่อนที่มีระดับสติปัญญาอยูร่ ะหว่าง 50 –70 วดั โดยใชแ้ บบทดสอบมาตรฐาน มสี ตปิ ญั ญาและความเฉลยี วฉลาดไมเ่ ทา่ เทยี มกับเด็กปกติในวัย เดียวกันและมีพฤตกิ รรมทางสงั คมไม่เหมาะสมกบั วยั

(2) เด็กปัญญาอ่อนท่ีฝกึ ได้ หมายถึง เด็กปญั ญาอ่อนที่มรี ะดับสติปัญญาอยรู่ ะหว่าง 35 –49 โดยประมาณ เป็นเด็กปัญญาออ่ นขัน้ ปานกลางทม่ี สี ติปญั ญาและพฤตกิ รรมเป็นอปุ สรรคต่อการเรียนรู้ของเด็ก 4) คนที่มคี วามบกพรอ่ งทางร่างกายหรอื สุขภาพ หมายถงึ คนท่ีมอี วัยวะไมส่ มสว่ น อวัยวะสว่ นใด สว่ นหนึง่ หรอื หลายส่วนขาดหายไป กระดูกและกลา้ มเน้ือพิการเจบ็ ป่วยเรื้อรัง รุนแรง มีความพิการของระบบ ประสาท มคี วามลาบากในการเคลอื่ นไหวซ่งึ เป็นอุปสรรคต่อการศึกษาในสภาพปกติ ทงั้ น้ีไม่รวมคนทม่ี คี วาม บกพร่องทางประสาทสัมผสั ได้แก่ ตาบอด หหู นวก อาจแบ่งได้เป็นประเภท ดังนี้ โรคของระบบประสาท โรค ทางระบบกลา้ มเนื้อกระดูก การไม่สมประกอบมาแต่กำเนิด สภาพความพิการและความบกพร่องทางสขุ ภาพ อน่ื ๆ 5) คนที่มีปญั หาทางการเรยี นรู้ หมายถึง คนทีม่ ีความบกพร่องอยา่ งใดอย่างหน่ึง หรือหลายอยา่ ง ทางกระบวนการพ้ืนฐานทางจิตวทิ ยาท่ีเกี่ยวกับความเข้าใจหรอื การใชภ้ าษา อาจเปน็ ภาษาพดู และหรือภาษา เขียน ซ่ึงส่งผลทาใหม้ ีปัญหาในการฟัง การพดู การคิด การอ่าน การเขียน การสะกด หรือการคำนวณ รวมทงั้ สภาพความบกพร่องในการรบั รู้ สมองไดร้ บั บาดเจบ็ การปฏิบัตงิ านของสมองสญู เสยี ไป ซง่ึ ทาให้มีปัญหาใน การอ่าน และปัญหาในการเข้าใจภาษา ทั้งน้ี ไม่รวมคนที่มีปญั หาทางการเรยี น เนื่องจากสภาพ สภาพความ บกพร่องในการรับรู้ สมองได้รับบาดเจ็บ การปฏิบตั งิ านของสมองสูญเสียไป ซ่ึงทาให้มีปัญหาในการอ่าน และ ปญั หาในการเขา้ ใจภาษา ทั้งนี้ ไมร่ วมคนท่ีมีปญั หาทางการเรยี น เนื่องจากสภาพ บกพร่อง ทางการเหน็ การได้ยนิ การเคลอ่ื นไหว ปญั ญาอ่อน ปัญหาทางอารมณ์ หรือความด้อยโอกาส เน่ืองจากสิง่ แวดล้อม วฒั นธรรมหรอื เศรษฐกจิ 6) คนที่มคี วามบกพร่องทางการพูดและภาษา หมายถงึ บุคคลท่มี ีความบกพร่องในเร่ืองของการ ออกเสยี งพูด เชน่ เสยี งผิดปกติ อตั ราความเรว็ และจังหวะการพดู ผดิ ปกติหรือคนทมี่ คี วามบกพร่องในเรือ่ ง ความเข้าใจและการใชภ้ าษาพูด การเขียน และหรือระบบสัญลกั ษณ์อ่ืนท่ีใช้ในการตดิ ต่อส่อื สาร ซึง่ อาจ เก่ียวกับรูปแบบของภาษาเนอ้ื หาของภาษาและหนา้ ท่ขี องภาษา 7) คนที่มีปญั หาทางพฤติกรรมหรอื ทางอารมณ์ หมายถึง คนท่มี ีพฤติกรรมเบ่ียงเบนไปจากปกตเิ ป็น อย่างมาก และปัญหาทางพฤตกิ รรมนน้ั เปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนื่อง ไมเ่ ปน็ ทย่ี อมรบั ทางสังคมหรือวัฒนธรรม 8) คนออทสิ ตกิ หมายถึง บุคคลที่มีความบกพร่องทางพฒั นาการดา้ นสังคม ภาษาและการสอื่ ความหมาย พฤตกิ รรมอารมณ์ และจนิ ตนาการ ซงึ่ มสี าเหตเุ น่ืองมาจากการทางานในหนา้ ทบี่ างส่วนของสมอง ผิดปกตไิ ป และความผิดปกติน้พี บได้ก่อนวัย 30 เดือน ลกั ษณะของบุคคลออทิสตกิ สรุปได้ดังน้ี (1) มคี วามบกพร่องทางปฏิสมั พันธท์ างสังคม (2) มีความบกพร่องทางการส่ือสาร ทง้ั ด้านการใช้ภาษาพูด ความเขา้ ใจภาษาการแสดง กรยิ าสื่อความหมาย

(3) มคี วามบกพร่องด้านพฤติกรรมและอารมณ์ บางคนมพี ฤติกรรมซา้ ๆ ผิดปกติ (4) มีความบกพร่องด้านการรับร้ทู างประสาทสมั ผสั การใช้ประสาทสมั ผสั ทงั้ 5 (5) มีความบกพร่องด้านการใชอ้ วัยวะต่าง ๆ อยา่ งประสานสัมพนั ธ์ การใช้สว่ นต่าง ๆ ของ ร่างกาย (6) มคี วามบกพร่องดา้ นการจินตนาการ ไม่สามารถแยกเรื่องจริงเรื่องสมมุติ หรอื ประยกุ ต์ วิธีจากเหตกุ ารณ์หนึ่งไปยังอีกเหตุการณ์หนึ่งได้ (7) มคี วามบกพร่องดา้ นสมาธิ มีความสนใจที่ส้นั วอกแวกง่าย 9) คนท่ีมคี วามพิการซอ้ น หมายถึง คนท่มี ีสภาพความบกพร่องหรือความพิการมากกวา่ หนึ่งประเภท ในบคุ คลเดยี วกนั นกั เรียนขาดแคลน หมายถึง 1) นกั เรียนทีข่ าดเคร่อื งแบบนักเรยี น หมายถงึ นักเรียนท่ีบดิ ามารดามีฐานะยากจน มีเคร่ืองแบบ นักเรียนสวมใสม่ าโรงเรียนไม่เพยี งพอ 2) นกั เรยี นท่ีขาดแคลนเครอื่ งเขยี น หมายถึง นกั เรยี นท่ีบิดามารดามีฐานะยากจนไมม่ เี งนิ ซอื้ เครื่อง เขยี น ใหน้ ักเรยี นใชป้ ระกอบกจิ กรรมการเรยี นรู้ 3) นักเรยี นที่ขาดแคลนแบบเรยี น หมายถึง แบบเรยี นหนังสือยืมเรียนสาหรับนักเรยี นทกุ คน มไี ม่ เพียงพอกับความต้องการของนกั เรยี น ทาให้นักเรยี นบางคนไม่มีแบบเรียนใชป้ ระกอบกิจกรรมการเรียนรู้ 4) นักเรยี นที่ขาดแคลนอาหารกลางวนั หมายถงึ นักเรยี นทีบ่ ิดามารดามีฐานะยากจน ไม่มเี งินซื้อ อาหารกลางวนั ใหเ้ ด็กรบั ประทาน นกั เรยี นท่มี คี วามสามารถพิเศษด้านต่าง ๆ หมายถึง นกั เรียนทแี่ สดงออกถึงความสามารถอนั โดดเด่นหรือ แสดงใหเ้ ห็นถงึ ศักยภาพท่จี ะสามารถพฒั นาความสามารถไดอ้ ยา่ งเป็นที่ประจักษ์ เม่ือนามาเปรยี บเทยี บกบั เดก็ อื่น ๆ ท่ีอยใู่ นวยั เดียวกันท่มี ีสภาพแวดลอ้ มหรือประสบการณร์ ะดบั เดียวกนั ความสามารถในทีน่ ้ี ได้แก่ ความสามารถในดา้ นสติปัญญา ความเป็นเลิศทางวชิ าการสาขาใดสาขาหน่ึง พฤติกรรมดังกล่าวแสดงให้เหน็ ถึง ศักยภาพท่จี ะพัฒนาความสามารถได้อยา่ งเปน็ ท่ปี ระจักษ์ ซง่ึ จำแนกไดด้ ังน้ี 1) ด้านวิทยาศาสตร์ / ด้านคณิตศาสตร์ หมายถึง มีความเข้าใจ มองเห็นมิติสัมพนั ธส์ ิ่งทีเ่ ป็น นามธรรม ใชจ้ านวนได้รวดเรว็ มีทักษะการคิด วิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล สรา้ งและสรุปความคดิ ปรบั เปลยี่ น ระบบและวิธีการอยา่ งหลากหลายไดเ้ รว็ กว่าเด็กในวยั เดยี วกัน 2) ดา้ นภาษา หมายถงึ เป็นผูม้ ีทกั ษะและความคิดสรา้ งสรรค์ในการใชภ้ าษาเพ่ือการส่ือสารไดด้ ีกว่า เดก็ ในวัยเดียวกนั

3) ด้านดนตรี หมายถึง ผทู้ มี่ ีความสามารถและมีจนิ ตนาการในการแสดงหรือเล่นดนตรีอยา่ งมี สุนทรียภาพ 4) ดา้ นกฬี า หมายถงึ ผมู้ ีความสามารถ มที ักษะ มีพรสวรรคใ์ นการออกกาลงั กายได้เปน็ อย่างดีและ โดดเด่นในการแข่งขนั กีฬา 5) ดา้ นทศั นศลิ ป์ และด้านศลิ ปะการแสดง หมายถึง ผู้มจี ินตนาการและความคิดสรา้ งสรรคใ์ นการ ถ่ายทอดส่งิ ท่ีประทบั ใจจากธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม มาเปน็ ผลงานศิลปะของตนเองอยา่ งเด่นชดั กวา่ เด็ก ในวยั เดยี วกัน นกั เรียนพกั นอนประจำ หมายถึง นักเรียนท่ีมีถ่นิ ที่อย่ไู มส่ ะดวก ห่างไกล กันดาร ทำใหเ้ ปน็ อุปสรรคต่อการ เดนิ ทางไป – กลบั ระหวา่ งถิ่นทีอ่ ยูก่ บั โรงเรียน จาเป็นต้องพักอาศยั ในสถานที่ทโ่ี รงเรียนจัดใหห้ รือทีซ่ ึ่งที่ โรงเรียนสามารถดำเนินการควบคุมดแู ลได้ เช่น 1) บา้ นพักครู หมายถึง บ้านพักครูที่ให้นักเรียนพักนอนประจา ทั้งนนี้ ักเรยี นอาจจะอาศัยอยู่รวมกับ ครู หรืออยู่เฉพาะนักเรยี นกไ็ ด้ 2) ที่พักนกั เรยี น หมายถึง บ้านพัก / หอนอน ท่ีโรงเรียนสร้างข้นึ โดยเงนิ งบประมาณหรอื เงนิ บริจาค สาหรบั ให้นักเรียนพักนอนประจำ 3) พักรวมกบั ชมุ ชน/อืน่ ๆ หมายถึง บ้านพักในชมุ ชนหรือวดั ทช่ี ุมชนหรอื วัดให้ความร่วมมือให้ นักเรียนทอ่ี าศยั พกั นอนประจำ นกั เรียนดอ้ ยโอกาส หมายถึง นักเรยี นในโรงเรียนท่ดี อ้ ยโอกาสทางการศกึ ษา จำแนกได้ดงั น้ี 1) นกั เรยี นถูกบังคับใหข้ ายแรงงาน หรือแรงงานเด็ก หมายถงึ เด็กท่ตี ้องทางานหรือถูกบังคบั ให้ทา งานหารายไดด้ ้วยการขายแรงงานกอ่ นถึงวยั อันสมควร ถกู เอารดั เอาเปรยี บจากนายจ้าง ไม่มีโอกาสได้รบั การ พัฒนาให้เปน็ ไปตามหลักพัฒนาการอันเหมาะสมกบั วัย 2) นักเรียนทอ่ี ย่ใู นธรุ กิจบริการทางเพศ หรอื โสเภณีเด็ก หมายถึง เด็กทีม่ คี วามสมัครใจหรือถูกบังคบั ล่อลวงให้ขายบริการทางเพศ หรือถูกชกั จูงให้ต้องตกอยใู่ นสภาพที่เสยี่ งต่อการประกอบอาชีพขายบริการทาง เพศ 3) นักเรียนท่ถี ูกทอดทงิ้ หมายถึง เด็กท่ีมารดาคลอดทงิ้ ไวใ้ นโรงพยาบาล หรือตามสถานทีต่ า่ ง ๆ รวม ไปถงึ เด็กที่พ่อแมป่ ล่อยท้ิงไว้ให้มชี ีวิตอยู่ตามลาพัง หรือกับบคุ คลอน่ื โดยไม่ได้รบั การเล้ียงดจู ากพ่อแม่ ทง้ั นี้ อาจมีสาเหตุมาจากปัญหาการหย่าร้าง หรอื ครอบครัวแตกแยก มสี ภาพชวี ติ อยู่ทา่ มกลางความสับสน ขาด ความรกั ความอบอนุ่ ตลอดถึงเดก็ ที่ขาดผ้อู ุปการะเล้ยี งดู อันเนอ่ื งมาจากสาเหตุอ่นื ๆ

4) นกั เรยี นทอ่ี ยใู่ นสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน หมายถงึ เด็กท่กี ระทาผดิ และถูกควบคุม อยู่ในสถานพินิจและคุม้ ครองเด็กและเยาวชน ตามกฎหมาย ตลอดถงึ เด็กหญิงท่ีตั้งครรภน์ อกสมรส ซง่ึ มี แนวโนม้ ท่ีจะก่อใหเ้ กดิ ปัญหาต่างๆ เชน่ การทาแท้ง การฆา่ ตัวตาย การทอดทงิ้ ทารก 5) นักเรียนเร่รอ่ น หมายถงึ เด็กทไ่ี ม่มีที่อย่เู ปน็ หลักแหลง่ แนน่ อน ดารงชีวิตอยู่อยา่ งไร้ทศิ ทาง ขาด ปัจจัยพน้ื ฐานในการดารงชวี ิต เส่ยี งตอ่ การประสบอันตราย และเปน็ ปญั หาสังคม 6) นกั เรยี นที่ไดร้ ับผลกระทบจากโรคเอดส์ หรือโรคตดิ ต่อร้ายแรงท่ีสังคมรงั เกยี จ หมายถงึ เด็กท่ีตดิ เช้อื เอดส์ หรอื มพี ่อแม่เจบ็ ปว่ ยด้วยโรคเอดส์ เปน็ เด็กที่มกั ถูกมองอย่างรังเกียจจนไม่สามารถเขา้ รบั การศึกษา หรอื บรกิ ารอืน่ ๆ รว่ มกับเด็กปกติทว่ั ไปได้ 7) นกั เรยี นท่ีเป็นชนกลมุ่ นอ้ ย หมายถึง เด็กท่ีเป็นบุตรหลานของบุคคลที่มวี ัฒนธรรมแตกต่างไปจาก ประชาชนสว่ นใหญ่ของประเทศ มปี ัญหาเกย่ี วกับการถือสญั ชาตไิ ทยจนเป็นเหตุให้ไม่มโี อกาสได้รบั การศึกษา หรือบรกิ ารอน่ื ๆ ส่วนใหญ่อพยพเขา้ มาตั้งหลกั แหลง่ อยตู่ ามบริเวณชายแดนของประเทศไทย 8) นกั เรียนที่ถูกทารา้ ยทารุณ หมายถึง เด็กที่ถูกล่วงละเมดิ ทางร่างกาย ทางเพศ หรือทางจติ ใจ มชี วี ิต อยอู่ ยา่ งไม่เป็นสขุ ระแวง หวาดกลวั เน่ืองจากถูกทารา้ ยทารุณ ถกู บบี ค้ันกดดันจากพ่อแม่ หรอื ผปู้ กครอง ซ่ึงมี สภาพจิตใจหรืออารมณ์ไมเ่ ป็นปกตหิ รอื ถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศในลักษณะต่าง ๆ จากบุคคลทอี่ ยใู่ กลต้ วั 9) นกั เรยี นยากจน (มากเป็นพเิ ศษ) หมายถึง เด็กซ่ึงเปน็ บุตรหลานของคนยากจนที่มีรายได้ไมเ่ พยี งพอ ต่อการเลีย้ งชีพ (ครอบครัวมรี ายไดเ้ ฉลีย่ ไมเ่ กิน 40,000 บาทตอ่ ปี) ครอบครัวอยรู่ วมกันหลายคน ขาดแคลน ปจั จัยพื้นฐาน มีชวี ติ อยู่อยา่ งยากลาบากรวมถงึ เด็กในแหล่งชมุ ชนแออัด หรือบุตรของกรรมกรก่อสรา้ ง หรอื เด็กจากครอบครวั ที่อยใู่ นถ่นิ ทรุ กนั ดาร ขาดโอกาสท่ีจะได้รบั การศกึ ษาและบรกิ ารอน่ื ๆ 10) นกั เรียนท่ีมปี ญั หาเกย่ี วกับยาเสพติด หมายถึง เด็กที่ตดิ สารระเหยหรือยาเสพติดใหโ้ ทษ หรอื เด็ก กลมุ่ เสี่ยงการถกู ชักนาใหป้ ระพฤติตนไมเ่ หมาะสม เกย่ี วขอ้ งผูกพนั อยู่กับกล่มุ มจิ ฉาชีพ ผมู้ ีอทิ ธิพลหรือบคุ คลที่ แสวงหาผลประโยชนจ์ ากการประกอบอาชีพผิดกฎหมาย เป็นเด็กด้อยโอกาสท่ีมีแนวโนม้ สูงต่อการก่อปัญหาใน สังคม 11) อ่นื ๆ หมายถึง นกั เรียนในโรงเรยี นทีด่ ้อยโอกาสทางการศึกษานอกเหนือจาก 10 ประการ ข้างต้น นักเรยี นทอี่ อกกลางคนั หมายถงึ นักเรยี นท่ีออกจากระบบโรงเรียนระหวา่ งปี โดยไม่สามารถกลับเขา้ มาเรยี น ได้ ซึง่ เกิดจากสาเหตดุ ังน้ี 1) ฐานะยากจน 2) มีปญั หาครอบครวั 3) สมรสแลว้ 4) มปี ญั หาในการปรบั ตวั

5) ต้องคด/ี ถูกจับ 6) เจบ็ ป่วย/อุบัติเหตุ 7) อพยพตามผู้ปกครอง 8) หาเลยี้ งครอบครัว 9) กรณีอน่ื ๆ ข้าราชการครตู าม (จ.18) หมายถงึ ข้าราชการครทู ี่กาหนดไวต้ าม จ.18 ของโรงเรยี น ซึ่งอาจจะมากหรือน้อย กวา่ จำนวนข้าราชการครูท่ีสอนในโรงเรียนจรงิ เน่ืองจากมขี ้าราชการครบู างส่วนไปชว่ ยราชการทโี่ รงเรยี นอื่น หรอื ศกึ ษาต่อ หรอื ขา้ ราชการครจู ากโรงเรียนอนื่ มาชว่ ยราชการ ข้าราชการครทู ่ปี ฏบิ ัตงิ านจรงิ ในสถานศกึ ษา หมายถึง ข้าราชการครูทป่ี ฏิบตั ิงานสอนในสถานศึกษาน้ัน ๆ จริง ซ่งึ อาจจะมากหรือน้อยกวา่ จานวนข้าราชการครูตามกรอบอัตรากาลัง เน่ืองจากมีขา้ ราชการครบู างสว่ นไป ชว่ ยราชการท่โี รงเรยี นอ่นื หรือลาศึกษาต่อ หรือข้าราชการครูจากโรงเรียนอื่นมาชว่ ยราชการ ครูผู้ชว่ ย หมายถึง ขา้ ราชการครูทอี่ ยู่ในระหวา่ งการทดลองปฏิบัติราชการ ครู หมายถงึ ข้าราชการครู คศ.1 และ ครู คศ.2 ทย่ี ังไม่ไดร้ ับการประเมนิ วิทยฐานะ ครชู านาญการ หมายถึง ขา้ ราชการครทู ่ีไดร้ บั เงินเดือน คศ.2 และไดร้ ับเงนิ วิทยฐานะ 3,500 บาท ครชู านาญการพเิ ศษ หมายถึง ขา้ ราชการครูท่ีไดร้ บั เงินเดอื น คศ.3 และได้รบั เงนิ วทิ ยฐานะ 5,600 บาท ครเู ชี่ยวชาญ หมายถงึ ข้าราชการครูที่ไดร้ ับเงนิ เดือน คศ.4 และไดร้ ับเงนิ วิทยฐานะ 9,900 บาท ครเู ช่ียวชาญพิเศษ หมายถึง ข้าราชการครูที่ได้รบั เงนิ เดอื น คศ.5 และไดร้ ับเงนิ วทิ ยฐานะ 13,000 บาท ครูอัตราจา้ งชั่วคราว หมายถึง ครูท่ีจา้ งช่วั คราวด้วยงบประมาณในโครงการต่าง ๆ จากสว่ นราชการ ที่จัดสรร ให้ และจากงบประมาณอื่น ลูกจ้างประจา หมายถงึ ลกู จ้างประจาที่ได้รับเงนิ เดือนจากเงนิ งบประมาณของทางราชการหมวด ลูกจ้างประจำ ลูกจา้ งช่ัวคราว หมายถึง ลูกจ้างทีจ่ า้ งชั่วคราวดว้ ยเงินงบประมาณของทางราชการ และจากงบประมาณอื่น พนกั งานราชการ หมายถึง บุคคลซึ่งได้รับการจา้ งตามสัญญาจา้ ง โดยไดร้ บั คา่ ตอบแทนจากงบประมาณของ สว่ นราชการ เพื่อพนักงานของรฐั ในการปฏบิ ัติงานให้กบั ส่วนราชการนั้น สว่ นท่ี 1 โครงสร้าง การบรหิ ารงาน สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา ประถมศกึ ษาลำปาง เขต 3 สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 เป็นหนว่ ยงานบริหารราชการ ส่วนกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร มีหน้าทดี่ ำเนนิ การให้

เป็นไปตามอำนาจหน้าทห่ี ลักในการจดั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ประกอบด้วย 3 อำเภอ ได้แก่ อำเภอแจ้หม่ อำเภอวังเหนือ และ อำเภอเมืองปาน การแบ่งโครงสรา้ งภายในแบง่ เป็นกล่มุ 7 กลมุ่ และ 1 หน่วย คอื 1. กลุ่มอานวยการ 2. กลมุ่ บรหิ ารงานการเงินและสินทรัพย์ 3. กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล 4. กลุ่มนโยบายและแผน 5. กลมุ่ สง่ เสริมการจดั การศึกษา 6. กลมุ่ สง่ เสรมิ สถานศกึ ษาเอกชน 7. กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา 8. หนว่ ยตรวจสอบภายใน บุคลากร ของสำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาลำปาง เขต 3 ณ ปจั จบุ นั * รวม 83 คนดังน้ี 1. ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 1 คน 2. รองผู้อำนวยการ สพป.ลป.3 จำนวน 6 คน 3. บุคลากรกล่มุ งานตา่ ง ๆ ดงั นี้ 3.1 กลุม่ อำนวยการ จำนวน 18 คน 3.2 กลุม่ บริหารงานบุคคล จำนวน 13 คน 3.3 กลมุ่ นโยบายและแผน จำนวน 8 คน 3.4 กลุ่มสง่ เสรมิ การจัดการศึกษา จำนวน 10 คน 3.5 กลุ่มสง่ เสริมสถานศึกษาเอกชน จำนวน 2 คน 3.6 กลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรัพย์ จำนวน 10 คน 3.7 กลุ่มนเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผลฯ จำนวน 14 คน 3.8 หนว่ ยตรวจสอบภายใน จำนวน 1 คน เพือ่ ให้การบริหารจัดการศึกษาบังเกดิ ผลอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ในระดบั สถานศึกษา และ สถานศกึ ษาสามารถบรหิ ารจัดการศึกษาไดด้ ้วยตนเอง โดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐาน (School-Based Management) สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ไดจ้ ดั ตั้งกลุ่มโรงเรยี นจำนวน 17 กลมุ่ เครือข่าย ประกอบไปด้วย อำเภอแจ้หม่ 7 กลุม่ เครือข่าย อำเภอวงั เหนือ 5 กลุม่ เครอื ขา่ ย อำเภอเมืองปาน 5 กลุ่มเครือขา่ ย

ผูบ้ รหิ ารสำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 นายวบิ ูลย์ ทานุชติ ผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 นายสนั ติทัศน์ เรืองเดช นายอภริ กั ษ์ เออ้ื ธรรม นางวรางคณา ไชยเรือง รองผอ.สพป.ลำปาง เขต3 รองผอ.สพป.ลำปาง เขต3 รองผอ.สพป.ลำปาง เขต3 นายไพโรจน์ วิเศษ นายพริ ชยั จันทะสาร นายชนนิ ทร์ บญุ มี รองผอ.สพป.ลำปาง เขต3 รองผอ.สพป.ลำปาง เขต3 รองผอ.สพป.ลำปาง เขต3

จำนวนบคุ ลากรสงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 จำแนกตามกล่มุ ประเภท ท่ี กลมุ่ ผ้บู ริหาร ข้าราชการ ลกู จา้ ง ลกู จ้าง รวมท้ังสนิ้ ประจำ ชว่ั คราว 1 ผอ./รอง.ผอ. 7 7 2 กลมุ่ อำนวยการ - -- - 18 3 กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล - 10 13 4 กลมุ่ นโยบายและแผน - 53 3 8 5 กลุม่ สง่ เสริมการจัดการศึกษา - 1 10 6 กลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผล - 10 - 1 14 7 กลุ่มบรหิ ารการเงิน สินทรัพย์ - 1 10 8 กลมุ่ ส่งเสริมสถานศกึ ษาเอกชน - 7- 4 2 9 หน่วยตรวจสอบภายใน - - 1 7 9- - 83 รวมท้งั สน้ิ 20 13 - 6- 2- 1- 53 3 จากตาราง สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 มบี ุคลากรท่ีปฏิบตั งิ านจำนวน ท้ังส้นิ 87 คน จำแนกเปน็ ข้าราชการ 54 คน ลกู จ้างประจำ 3 คน ลกู จา้ งช่ัวคราว 16 คน แผนภมู ิที่ 1 จำแนกจำนวนบคุ ลากรสำนกั งานเขตการศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ตามกลุม่ ตา่ งๆ

กลุ่มบรหิ ารการเงิน กลุ่มส่งเสรมิ สถานศกึ ษา หนว่ ยตรวจสอบ ผอ./รอง.ผอ. สนิ ทรัพย์ เอกชน ภายใน 8% 2% 1% กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตาม 12% และประเมินผล กลมุ่ อานวยการ 22% 17% กลุม่ บรหิ ารงานบุคคล 16% กลุม่ ส่งเสริมการจัด การศกึ ษา กลุ่มนโยบายและแผน 12% 10%

โครงสร้างการ บรหิ ารงาน รายชื่อกลุ่มโรงเรยี นในสงั กดั สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 3

กลุ่มที่ ช่อื กลมุ่ โรงเรียน ชื่อโรงเรยี น ตำบล อำเภอ แจ้หม่ แจ้หม่ 1 กลมุ่ เครือข่ายโรงเรียนแจ้ห่ม 1. โรงเรียนอนุบาลแจ้ห่ม แจห้ ่ม แจ้หม่ แจ้หม่ แจห้ ่ม จำนวน 5 โรงเรยี น 2. โรงเรียนบา้ นสบฟา้ แจ้หม่ แจห้ ่ม แจห้ ่ม แจ้หม่ 3. โรงเรียนบา้ นมว่ งงาม วเิ ชตนคร แจ้หม่ วเิ ชตนคร แจห้ ม่ 4. โรงเรียนบา้ นฮ่องล่ี วเิ ชตนคร แจห้ ่ม วเิ ชตนคร แจห้ ่ม 5. โรงเรียนบา้ นหนองนาว วิเชตนคร แจห้ ่ม บ้านสา แจห้ ่ม 2 กลุ่มเครือขา่ ยโรงเรยี น 1. โรงเรียนบา้ นสนั มะเกลอื บา้ นสา แจห้ ่ม บา้ นสา แจห้ ่ม เจา้ พอ่ พญาคำลือ 2. โรงเรยี นบา้ นใหมเ่ หล่ายาว แมส่ ุก แจ้หม่ แมส่ ุก แจ้ห่ม จำนวน 5 โรงเรียน 3. โรงเรียนบ้านใหมผ่ า้ ขาว แมส่ ุก แจห้ ่ม แมส่ ุก แจห้ ่ม 4. โรงเรียนบา้ นปงคอบ แมส่ ุก แจห้ ่ม แมส่ ุก แจห้ ่ม 5. โรงเรยี นบา้ นสวนดอกคำ ปงดอน แจห้ ่ม ปงดอน แจห้ ่ม 3 กล่มุ เครือขา่ ยโรงเรียน 1. โรงเรยี นชุมชนบา้ นสา ปงดอน แจห้ ่ม ปงดอน แจห้ ่ม ตำบลบา้ นสา 2. โรงเรยี นบ้านแปน้ ปงดอน แจห้ ่ม ปงดอน แจห้ ่ม จำนวน 3 โรงเรยี น 3. โรงเรียนบ้านสาแพะ เมอื งมาย แจห้ ่ม เมอื งมาย แจห้ ่ม 4 กลุ่มเครือขา่ ยโรงเรียนแมส่ กุ 1. โรงเรียนบา้ นแมส่ กุ เมืองมาย แจห้ ่ม เมอื งมาย แจห้ ่ม จำนวน 6 โรงเรยี น 2. โรงเรยี นทงุ่ คาวิทยา ทุ่งผง้ึ แจห้ ่ม ทุง่ ผึง้ แจห้ ่ม 3. โรงเรยี นผาช่อวิทยา ทงุ่ ผึง้ แจ้ห่ม 4. โรงเรยี นบ้านใหม่สามัคคี 5. โรงเรยี นบา้ นศรีบญุ เรอื ง 6. โรงเรยี นบ้านหนองกอก 5 กลมุ่ เครือขา่ ยโรงเรยี น 1. โรงเรียนบา้ นแม่ตา ปงดอนจำนวน 6 โรงเรียน 2. โรงเรียนบา้ นแมต่ าใน 3. โรงเรียนบ้านปงดอน 4. โรงเรยี นบ้านเลาสู 5. โรงเรยี นบ้านไฮ 6. โรงเรยี นบา้ นเปียงใจ 6 กลุ่มเครือข่ายโรงเรยี น 1. โรงเรยี นไผง่ ามวทิ ยา เมืองมาย 2. โรงเรยี นบ้านนางาม จำนวน 4 โรงเรยี น 3. โรงเรยี นบา้ นแมเ่ บิน 4. โรงเรยี นบา้ นนาไหม้ 7 กลมุ่ เครือข่ายโรงเรยี นทุง่ ผง้ึ 1. โรงเรยี นบ้านทุง่ ผึง้ จำนวน 6 โรงเรยี น 2. โรงเรียนบ้านหวั ฝาย 3. โรงเรยี นแจค้ อนวทิ ยา

กลุ่มที่ ช่อื กลุม่ โรงเรยี น 4. โรงเรยี นบ้านทุ่งฮา้ ง ทงุ่ ผงึ้ แจ้หม่ 8 กลมุ่ เครือขา่ ยโรงเรียน 5. โรงเรียนบา้ นชอ่ ฟา้ ทงุ่ ผึง้ แจ้หม่ วังแก้ว 6. โรงเรยี นสาขาแม่จอกฟ้า ทงุ่ ผึง้ แจห้ ม่ จำนวน 6 โรงเรียน ตำบล อำเภอ ชอื่ โรงเรยี น ทงุ่ ฮั้ว วงั เหนอื 9 กล่มุ เครือขา่ ยโรงเรยี น 1. โรงเรยี นทุ่งฮว้ั วิทยา วงั แก้ว วังเหนอื พญาวงั 2. โรงเรยี นวงั แกว้ วิทยา วังแกว้ วังเหนอื จำนวน 5 โรงเรียน 3. โรงเรยี นบ้านแมห่ ีด ทุ่งฮวั้ วังเหนอื 4. โรงเรียนบ้านทุง่ ป้ี ทงุ่ ฮ้วั วังเหนอื 10 กลมุ่ เครือขา่ ยโรงเรียน 5. โรงเรียนบา้ นวงั มน ทงุ่ ฮ้วั วงั เหนอื วังเหนือ 6. โรงเรยี นบ้านแมม่ ่า วังเหนอื วงั เหนือ จำนวน 6 โรงเรียน 1. โรงเรยี นบ้านทพั ปา่ เส้า วงั เหนอื วังเหนือ 2. โรงเรียนชมุ ชนบ้านใหม่ วังซา้ ย วังเหนอื 11 กลุ่มเครือข่ายโรงเรียน 3. โรงเรียนบา้ นแม่สุขใน วังซา้ ย วังเหนือ วังใตท้ รายคำ 4. โรงเรยี นบา้ นป่าแขม วงั ซา้ ย วงั เหนือ จำนวน 5 โรงเรยี น 5. โรงเรยี นบ้านหวั ทุ่ง วังเหนือ วังเหนือ 1. โรงเรยี นอนุบาลวังเหนอื วงั ทอง วังเหนือ 12 กลุม่ เครือขา่ ยโรงเรียน 2. โรงเรียนบ้านแม่เยน็ วังซ้าย วงั เหนือ รอ่ งเคาะ 3. โรงเรยี นบ้านแมส่ ุขวงั เหนอื วงั ทอง วังเหนือ จำนวน 5 โรงเรียน 4. โรงเรียนบา้ นเมืองตงึ วงั ทอง วงั เหนือ 5. โรงเรียนบ้านปงถ้ำ วังทอง วงั เหนือ 6. โรงเรียนวงั ทองวิทยา วงั ทรายคำ วังเหนือ 1. โรงเรยี นบา้ นทุง่ ฮี วงั ทรายคำ วังเหนือ 2. โรงเรียนวังทรายคำวิทยา วงั ใต้ วังเหนือ ( ปงวงั อนสุ รณ์ ) วังใต้ วังเหนอื 3. โรงเรยี นบ้านวงั โป่ง วงั ทรายคำ วงั เหนอื 4. โรงเรยี นบา้ นแมพ่ ริก รอ่ งเคาะ วังเหนือ 5. โรงเรียนบา้ นก่อ ร่องเคาะ วงั เหนือ 1. โรงเรียนร่องเคาะวทิ ยา 2. โรงเรยี นร่องเคาะวิทยา ร่องเคาะ วงั เหนือ ร่องเคาะ วังเหนือ สาขาบา้ นทงุ่ ฝงู ร่องเคาะ วังเหนือ 3. โรงเรียนบา้ นป่าคา 4. โรงเรียนบา้ นวงั ใหม่ 5. โรงเรยี นบา้ นดอนแก้ว

13 กลมุ่ เครือขา่ ยโรงเรยี น 1. โรงเรยี นบ้านไร่ หวั เมือง เมืองปาน หวั เมอื ง 2. โรงเรยี นบา้ นตน้ งุ้น หัวเมือง เมอื งปาน จำนวน 5 โรงเรยี น 3. โรงเรยี นบ้านขาม หัวเมอื ง เมืองปาน 4. โรงเรยี นบา้ นกลว้ ย หัวเมอื ง เมืองปาน 5. โรงเรยี นบ้านหวั เมือง หัวเมือง เมืองปาน กลุ่มที่ ชือ่ กล่มุ โรงเรยี น ชือ่ โรงเรียน ตำบล อำเภอ 14 กลุ่มเครือขา่ ยโรงเรยี น 1. โรงเรยี นบา้ นปา่ เหมยี้ ง แจ้ซ้อน เมอื งปาน 2. โรงเรยี นบา้ นทงุ่ แจ้ซอ้ น เมอื งปาน แจซ้ ้อน 3. โรงเรยี นบ้านใหม่พฒั นา แจ้ซ้อน เมืองปาน จำนวน 7 โรงเรยี น 4. โรงเรียนบ้านสบลี แจ้ซอ้ น เมืองปาน 5. โรงเรยี นแจซ้ อ้ นวิทยา แจซ้ อ้ น เมืองปาน 15 กลุ่มเครือขา่ ยโรงเรยี น 6. โรงเรยี นบ้านหลวงแจซ้ ้อน แจ้ซ้อน เมอื งปาน เมืองปาน 7. โรงเรียนบ้านแมแ่ จม๋ แจ้ซ้อน เมอื งปาน จำนวน 5 โรงเรยี น 1. โรงเรยี นบา้ นนำ้ จำ เมืองปาน เมอื งปาน 2. โรงเรยี นบา้ นทงุ่ โปง่ เมืองปาน เมอื งปาน 16 กล่มุ เครือข่ายโรงเรียน 3. โรงเรียนบา้ นดอนไชย เมืองปาน เมืองปาน บ้านขอ 4. โรงเรยี นบา้ นแพะ เมืองปาน เมอื งปาน จำนวน 8 โรงเรยี น 5. โรงเรียนบ้านดอนแก้ว เมืองปาน เมอื งปาน 1. โรงเรยี นบา้ นขอวิทยา บา้ นขอ เมอื งปาน 17 กลุม่ เครือขา่ ยโรงเรยี น 2. โรงเรยี นบา้ นทุ่งสะแกง บ้านขอ เมืองปาน ทุ่งกวา๋ ว 3. โรงเรยี นบ้านป่าเหว บ้านขอ เมืองปาน จำนวน 8 โรงเรียน 4. โรงเรียนบ้านปางดะ บ้านขอ เมอื งปาน 5. โรงเรยี นบา้ นมว่ ง บ้านขอ เมอื งปาน 6. โรงเรยี นบ้านหนอง บา้ นขอ เมอื งปาน 7. โรงเรยี นบา้ นแม่กองปิน บา้ นขอ เมืองปาน 8. โรงเรียนบา้ นท่งุ ส้าน บา้ นขอ เมืองปาน 1. โรงเรียนอนุบาลเมอื งปาน ทงุ่ กว๋าว เมืองปาน 2. โรงเรียนบ้านถ้ำ ทงุ่ กวา๋ ว เมืองปาน 3. โรงเรยี นปลายนาวทิ ยา ทงุ่ กวา๋ ว เมอื งปาน

4. โรงเรียนบา้ นจ๋ง ทุ่งกวา๋ ว เมืองปาน 5. โรงเรยี นบ้านท่งุ ข่วง ท่งุ กวา๋ ว เมอื งปาน 6. โรงเรยี นบา้ นท่งุ จี้ ทงุ่ กว๋าว เมืองปาน 7. โรงเรียนบา้ นทงุ่ ปง ทุ่งกว๋าว เมืองปาน 8. โรงเรยี นบา้ นเฮยี้ ทุ่งกว๋าว เมืองปาน สว่ นที่ 2 สภาพทว่ั ไปของเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 3 เป็นส่วนราชการสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ทำหนา้ ที่ส่งเสรมิ กำกับ ติดตามการดำเนินงาน สถานศึกษา ในเขตอำเภอแจ้ห่ม อำเภอวังเหนือ และอำเภอเมืองปาน ต้ังอยู่เลขท่ี 359 ตำบลแจ้ห่ม อำเภอแจ้หม่ จังหวดั ลำปาง อยูห่ ่างจากจงั หวัดลำปางข้ึนไปทางทิศเหนือ ตามเสน้ ทางถนนสาย ลำปาง – แจ้ห่ม ประมาณ 54 กโิ ลเมตร อาคารทท่ี ำการเปน็ อาคารเรยี นแบบ 004 สร้าง พ.ศ. 2516 2 ชน้ั 12 หอ้ ง อาณาเขตตดิ ต่อของสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดพะเยา , จงั หวดั เชยี งราย ทศิ ใต้ มีอาณาเขตตดิ ต่อกับอำเภอเมอื ง , อำเภอแม่เมาะ จงั หวัดลำปาง ทศิ ตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเชยี งราย , จังหวดั เชยี งใหม่ ทิศตะวนั ออก มอี าณาเขตตดิ ต่อกบั อำเภองาว จงั หวดั ลำปาง , จงั หวดั พะเยา ลักษณะภมู ิประเทศ สภาพพน้ื ที่โดยทัว่ ไปของสำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 3 ประกอบดว้ ย โรงเรียนในเขตอำเภอแจ้หม่ อำเภอวังเหนือ และอำเภอเมืองปาน มีพน้ื ที่ทั้งหมด 3,248.47 ตารางกิโลเมตร สภาพของพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขามีป่าไม้ล้อมรอบ พ้ืนที่ป่าไม้ร้อยละ 61 ของพ้ืนที่ทั้งหมด มีท่ีราบลุ่ม บริเวณที่ราบใกล้แม่น้ำเป็นบางส่วน มีแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่าน คือ แม่น้ำวัง แม่นำ้ สอย แม่นำ้ มอญ แม่นำ้ ปาน และแมน่ ำ้ ตยุ๋ ประชาชนสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีประชากรจำนวน 118,788 คน

(ชายจำนวน 59,696 คน , หญิงจำนวน 59,092 คน) ลกั ษณะภูมิอากาศ จากลักษณะพื้นที่ของจังหวัดท่ีเป็นแอ่งคล้ายกน้ กระทะ จึงทำให้อากาศร้อนอบอ้าวเกือบตลอดปี ฤดรู อ้ นร้อนจดั และหนาวจดั ในฤดูหนาว มีอุณหภมู ิเฉลยี่ สงู สดุ 41.6 องศาเซลเซยี ส เฉลี่ยต่ำสุด 10.5 องศาเซลเซยี ส ปริมาณนำ้ ฝนวดั ได้ 1,105.0 มลิ ลิเมตรต่อปี ลกั ษณะภูมิอากาศแบ่งออกได้เปน็ 3 ฤดู คือ ฤดูรอ้ น เร่มิ ประมาณตน้ เดอื นมีนาคมจนถงึ ปลายเดือนพฤษภาคม อากาศจะร้อนอบอา้ วมาก เดอื นท่ีมีอากาศร้อนทสี่ ุดคือเดือนเมษายน ฤดฝู น เร่มิ ประมาณกลางเดือนพฤษภาคม ฤดหู นาว เร่ิมประมาณเดือนพฤศจิกายนจนถึงเดือนกมุ ภาพันธ์ อากาศจะหนาวเย็นมาก ช่วงที่มีอากาศหนาวจัดคือเดือนมกราคม ข้อมลู ทวั่ ไปของจงั หวัดลำปาง จังหวัดลำปางมพี ้ืนทีท่ ง้ั หมด 12,533.961 ตารางกโิ ลเมตร หรอื ประมาณ 7,833,726 ไร่ ห่างจาก กรงุ เทพฯตามทางหลวงแผน่ ดินพหลโยธนิ ประมาณ 602 กิโลเมตร ตามทางรถไฟประมาณ 625 กโิ ลเมตร มเี น้ือท่ี ประมาณ 12,533.961 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 7,833,726 ไร่ มีพ้ืนทใ่ี หญ่เป็นอันดบั 5 ของภาคเหนือ รอง จากจงั หวัดเชยี งใหม่ จงั หวดั ตาก จงั หวัดแม่ฮ่องสอน และจังหวัดเพชรบรู ณ์ มีประชากรท้ังสน้ิ 757,234 คน จำแนก เป็นเพศชาย 373,104 คน หรือคดิ เปน็ ร้อยละ 49.27 เพศหญิง 384,130 คน หรือคดิ เป็นรอ้ ยละ 50.73 เป็น ประชากรภาคแรงงานจำนวน 470,872 คน โดยเปน็ แรงงานภาคเกษตร จำนวน 202,758 คน และแรงงานภาคนอก เกษตร จำนวน 268,114 คน เขตการปกครองแบ่งออกเป็น 13 อำเภอ 100 ตำบล 931 หมู่บา้ น 104 ชุมชน (เฉพาะชุมชนใน เขตเทศบาลนครลำปาง 41 ชุมชน และเทศบาลเมืองเขลางคน์ คร 63 ชมุ ชน) 1 องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัด 1 เทศบาลนคร 1 เทศบาลเมือง 39 เทศบาลตำบล และ 62 องค์การบรหิ ารสว่ นตำบล ลกั ษณะภมู ิประเทศอย่สู ูงจากระดับน้ำทะเล 268.80 เมตร พน้ื ที่มลี ักษณะเป็นรปู ยาวรีภูมิประเทศ โดยทว่ั ไปเป็นท่ีราบสูง มีภเู ขาสูงอยู่ท่วั ไปทอดตวั ยาวตามแนวทิศเหนือไปทางทิศใต้ของจังหวดั และในบรเิ วณ ตอนกลางของจงั หวัดบางส่วนมีที่ราบสูง ริมฝ่งั แม่น้ำและตามลกั ษณะตามกายภาพทางด้านธรณีสัณฐานวทิ ยา จังหวัดลำปางมีพ้นื ที่เปน็ ที่ราบลอ้ มรอบด้วยภเู ขา มีลักษณะเป็นแอง่ แผน่ ดินทย่ี าวและกวา้ งทสี่ ุดในภาคเหนือ เรยี กวา่ “อ่างลำปาง” ลักษณะภมู ปิ ระเทศแบ่งออกเปน็ 3 ลกั ษณะ คอื - ตอนบนของจงั หวดั เป็นท่รี าบสงู ภูเขา และเปน็ ป่าค่อนข้างทบึ อุดมสมบรู ณ์ ไมม้ ีค่า ได้แก่ พื้นที่อำเภอเมืองปาน แจ้ห่ม วงั เหนอื - ตอนกลางของจังหวดั เป็นที่ราบและท่รี าบลุ่มริมฝงั่ แม่น้ำซ่ึงเป็นแหล่งเกษตรกรรมทส่ี ำคัญของ จังหวัด ไดแ้ ก่ พน้ื ทอ่ี ำเภอหา้ งฉัตร เมืองลำปาง เกาะคา แมท่ ะและสบปราบ

- ตอนใต้ของจังหวัด เป็นป่าไม้รงั บางสว่ นเปน็ ทุง่ หญ้า ได้แก่ พืน้ ทอี่ ำเภอเถิน แม่พริก บางสว่ น ของอำเภอเสริมงาน และแมท่ ะ ภาพรวมภาวะเศรษฐกจิ จังหวดั ลำปาง ผลติ ภัณฑม์ วลรวมจงั หวดั ลำปาง ในปี พ.ศ. 2554 มีผลติ ภณั ฑ์ถาคการเกษตรที่สำคัญของ จังหวดั ประกอบไปด้วย ขา้ ว สบั ปะรด กระเทียม โค สกุ ร ออ้ ย ยางพารา ข้าวโพดเล้ียงสตั ว์ ไก่ พนื้ เมือง และกล้วยน้ำวา้ ท้งั น้ี จากการวิเคราะห์ BCG Matrix ของจงั หวัดลำปาง พบวา่ ผลติ ภณั ฑ์ ดาวเด่น (Star) คือ ข้าว ผลิตภณั ฑท์ ี่มปี ัญหา ( Question Mark) คอื ยางพารา กลว้ ยน้ำวา้ ออ้ ย และสบั ปะรด ผลติ ภัณฑ์ที่ตกต่ำ (Dog) คือไกพ่ ื้นเมือง โค สุกร ขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ และกระเทียม จงั หวัดลำปางเลือก “ข้าว” เป็นผลิตภณั ฑท์ ่ีสำคัญทางเศรษฐกจิ ของจงั หวดั ซงึ่ สอดคล้อง กับยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ตามแผนพัฒนาจังหวัดลำปางจงั หวัดลำปาง 4 ปี (ปี พ.ศ.2558-2561) ข้าวปลอดภยั เปน็ พชื เศรษฐกิจ และมกี ารปลูกกนั อย่างแพร่หลายให้ทวั่ ทกุ ภูมภิ าคของ ประเทศ และข้าวเป็นพชื เศรษฐกิจท่สี รา้ งรายได้ให้กับเกษตรกรและสรา้ งรายไดใ้ ห้กับประเทศ จำนวนไมน่ ้อยต่อปี ซ่ึงเกษตรกรจังหวัดลำปางก็เปน็ อีกจงั หวดั หนงึ่ ท่ีมกี ารเพาะปลกู พืชเศรษกจิ อยา่ งขา้ วปลอดภยั จังหวดั ลำปาง กำหนดตำแหน่งการพัฒนา ( Positioning ) ใน 3 ประเดน็ คือ ด้าน ท่องเทยี่ วเชงิ วถิ ีชุมชน ดา้ นเกษตรปลอดภัย และด้านการเป็นศูนยก์ ลางโลจิสติกสอ์ ยา่ งเป็นระบบ ด้านการปกครอง สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 มพี น้ื ที่ต้ังอยู่ในเขตปกครอง ดงั น้ี • อำเภอ 3 อำเภอ • ตำบล 20 ตำบล • หมบู่ า้ น 197 หมบู่ ้าน • จำนวนครวั เรอื น 39,425 ครัวเรอื น • จำนวนประชากร 118,788 คน • องค์การบรหิ ารส่วนตำบล 17 แหง่

• เทศบาลตำบล 6 แห่ง (ข้อมลู จาก กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย) สว่ นที่ 3 สภาพการจดั การศกึ ษา ของ เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลำปางเขต 3 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ซง่ึ ประกอบด้วยอำเภอแจห้ ่ม อำเภอ วงั เหนือ และอำเภอเมืองปาน จดั การการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ต้งั แต่ระดับก่อนประถมศึกษา จนถึงมัธยมศึกษา ตอนตน้ โดยมขี ้อมลู ณ วันที่ 10 มิถนุ ายน 2558 ดังนี้ สถานศึกษาสงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษา ขนั้ พื้นฐาน 95 โรงเรียน ครู 545 คน นกั เรียน 7431 คน และไม่มสี งั กดั สำนักบริหารงานคณะกรรมการ สง่ เสรมิ สำหรับข้อมลู สารสนเทศด้านการศึกษาทนี่ ามาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการด้านการศกึ ษา ของเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 3 ขอ้ มลู ณ วันท่ี 10 มิถนุ ายน 2558 มีดงั ต่อไปน้ี แผนทแ่ี สดงท่ตี ั้งจังหวัดลำปาง

จงั หวัดลำปาง แบ่งเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาเปน็ 3 เขต ดังน้ี สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1 ประกอบดว้ ย อำเภอเมือง อำเภอหา้ งฉตั ร อำเภอแมเ่ มาะ อำเภองาว สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 2 ประกอบด้วย อำเภอแมท่ ะ อำเภอเกาะคา อำเภอเสริมงาม อำเภอสบปราบ อำเภอเถิน อำเภอแม่พรกิ สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ประกอบด้วย อำเภอแจ้หม่ อำเภอวังเหนือ อำเภอเมืองปาน

แผนทแ่ี สดงทต่ี ง้ั อำเภอในเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาลำปางเขต 3 สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ประกอบด้วย 3 อำเภอ 20 ตำบล อำเภอแจห้ ม่ ประกอบด้วย 7 ตำบล 35 โรงเรยี น อำเภอวังเหนือ ประกอบด้วย 8 ตำบล 27 โรงเรียน อำเภอเมืองปาน ประกอบด้วย 5 ตำบล 33 โรงเรยี น โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 3 ประกอบด้วย อำเภอแจ้หม่ โรงเรียนประถม จำนวน 30 โรงเรียน โรงเรยี นขยายโอกาส จำนวน 5 โรงเรยี น อำเภอวังเหนือ โรงเรียนประถม จำนวน 22 โรงเรียน โรงเรยี นขยายโอกาส จำนวน 5 โรงเรยี น อำเภอเมอื งปาน โรงเรยี นประถม จำนวน 30 โรงเรยี น โรงเรียนขยายโอกาส จำนวน 3 โรงเรียน

ตารางที่ 1 จำนวนโรงเรยี นจำแนกตามประเภท ปกี ารศกึ ษา 2558 ประเภท จำนวนโรงเรยี น ร้อยละ หมายเหตุ จำนวนโรงเรียนท้ังสิน้ 95 จำแนกตามประเภทที่เปดิ สอน 86.3 80 โรงเรียน+2สาขา 82 13.7 - ระดับประถมศึกษา 13 - โรงเรยี นขยายโอกาส 97.9 จำแนกตามโรงเรยี นหลกั / สาขา 93 2.1 - โรงเรยี นหลกั 2 - โรงเรียนสาขา 85.3 จำแนกตามขนาดจำนวนนักเรียน 81 8.4 - ขนาดที่ 1 (นร. 1 – 120 คน) 8 4.2 - ขนาดที่ 2 (นร. 121 - 200 คน) 4 2.1 - ขนาดที่ 3 (นร. 201 - 300 คน) 2 - ขนาดท่ี 4 (นร .301 – 499 คน) จากตารางที่ 1 โรงเรียนสงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต3 มจี ำนวน 95 โรงเรยี น โดยแบง่ เปน็ โรงเรียนหลัก 93 แห่ง และโรงเรียนสาขาอีก 2 แห่ง เป็นโรงเรียนที่เปิดสอน ช้ันประถมศึกษา และโรงเรียนขยายโอกาส คิดเป็นร้อยละ 86.3 และ 13.7 ตามลำดับโดยแบ่งเป็นโรงเรียน หลัก ร้อยละ 97.9 และโรงเรียนสาขา ร้อยละ 2.1 และจำแนกตามขนาดพบว่าเป็นโรงเรียนที่มีขนาดท่ี 1 (นร. 1-120 คน) มีมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 85.3 รองลงมาเป็นขนาดท่ี 2 และ 3 ตามลำดับ (นร.121-200 คน และ นร. 221-300 คน) โดยคิดเป็นร้อยละ 8.4 และร้อยละ 4.2 ส่วนขนาดท่ี 4 มีน้อยทีส่ ุด คิดเป็นร้อยละ 2.1

ตารางท่ี 2 จำนวนโรงเรยี นจำแนกตามขนาดของนักเรยี น ปีการศกึ ษา 2558 โรงเรียน 3 ขนำด ที่ อำเภอ 1-120 121-499 >=500 รวม เลก็ กลำง ใหญ่ 35 27 1 อำเภอแจ้ห่ม 30 5 0 33 95 2 อำเภอวงั เหนือ 20 7 0 100 3 อำเภอเมืองปำน 31 2 0 รวมท้งั สิ้น 81 14 0 คิดเป็ นร้อยละ 85.23 14.73 0 จากตารางที่ 2 โรงเรียนสงั กดั สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต3 มจี ำนวน 95 โรงเรียน โดยแบ่งเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก (1-120คน ) 81 แห่งคิดเป็นร้อยละ 85.23 และโรงเรียนขนาด กลาง ( 121-499คน )14 แหง่ คดิ เป็นร้อยละ 14.73 สว่ นโรงเรียนขนาดใหญ่ (>=500คน )ไมม่ เี ลย แผนภมู ิท่ี 2 เปรยี บเทยี บจำนวนโรงเรียนจำแนกตามขนาดของนักเรียน ปีการศึกษา 2558 40 อาเภอแจห้ ่ม อาเภอวงั เหนือ 30 อาเภอเมืองปาน 20 10 0 เล็ก กลาง ใหญ่ จากแผนภมู ิท่ี 2 พบวา่ โรงเรยี นขนาดเลก็ มจี ำนวนมากทส่ี ุดท้งั 3 อำเภอ สว่ นโรงเรยี นขนาดใหญน่ ัน้ ไมม่ ีเลย

ตารางท่ี 3 จำนวนนกั เรียน จำแนกรายชั้น เพศ ห้องเรียน และนักเรยี นต่อหอ้ งเรยี น ปกี ารศกึ ษา 2558 ชัน้ นักเรียนชาย นักเรียนหญิง รวม ร้อยละ ห้องเรยี น ห้อง : นักเรียน อนบุ าล 1 397 385 782 10.52 84 1:9 อนุบาล 2 398 376 774 10.41 91 1:9 รวมก่อนประถมศกึ ษา 795 761 1556 20.93 175 1:9 ประถมศึกษาปที ี่ 1 418 387 805 10.83 92 1:9 ประถมศกึ ษาปีที่ 2 428 428 856 11.51 91 1:9 ประถมศกึ ษาปีที่ 3 464 417 881 11.85 96 1:9 ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 446 419 865 11.64 95 1:9 ประถมศึกษาปที ่ี 5 499 497 996 13.40 96 1:10 ประถมศึกษาปีที่ 6 473 392 865 11.64 96 1:9 รวมประถมศกึ ษา 2728 2540 5268 70.89 566 1:9 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 122 80 202 2.71 12 1:17 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 118 112 230 3.09 12 1:19 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 89 86 175 2.35 12 1:15 รวมมัธยมศกึ ษาตอนตน้ 329 278 607 8.16 36 1:17 รวมท้ังสน้ิ 3852 3579 7431 100 777 1:10 ร้อยละ 51.84 48.16 จากตารางท่ี 3 จำนวนนกั เรียนทัง้ หมดในปีการศึกษา 2558 มีจำนวนทง้ั หมด 7,431 คน โดยแบ่งเป็น นักเรยี นชายคดิ เปน็ ร้อยละ 51.84 และนกั เรยี นหญงิ ร้อยละ 48.16 จากข้อมลู ขา้ งตน้ เมื่อพจิ ารณาตามระดับ การศกึ ษา พบวา่ นักเรยี นระดบั ประถมศึกษามจี ำนวนมากทีส่ ุดที่รอ้ ยละ 70.89 รองลงมาเปน็ ระดับก่อน ประถมศึกษา ท่ีร้อยละ 20.93 และระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ รอ้ ยละ 8.16 ตามลำดับ สำหรับจำนวน ห้องเรยี นท่มี ากที่สุดคือ ระดับประถมศกึ ษา รองลงมาคือระดับก่อนประถมศึกษา และระดับมธั ยมศึกษา

ตามลำดับ ส่วนอตั ราส่วนของหอ้ งเรียนตอ่ นักเรียนพบวา่ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ มอี ัตราส่วนห้องเรียนต่อ นกั เรียนมากทส่ี ดุ คือ 1 : 17 รองลงมาคอื ระดับประถมศกึ ษา และระดบั กอ่ นประถมศึกษาเท่ากนั ท่ี 1 : 9 ตามลำดับ แผนภมู ทิ ี่ 3 เปรยี บเทยี บจำนวนนกั เรียนจำแนกตามระดับการศกึ ษา และเพศ ปกี ารศึกษา 2558 3000 นกั เรยี นชาย 2500 นกั เรียนหญิง 2000 1500 ประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนตน้ 1000 500 0 กอ่ นประถมศกึ ษา จากแผนภมู ิที่ 3 พบว่านกั เรียนในระดบั ชนั้ ก่อนประถมศึกษา ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาและระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ มีจำนวนนักเรยี นชายมากกวา่ นกั เรียนหญิง ตารางท่ี 4 จำนวนนกั เรยี น ห้องเรยี น และนักเรียนต่อหอ้ งเรียน และระดับการศึกษา ปีการศกึ ษา 2558 ระดบั การศกึ ษา ก่อน ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษา รวมท้ังสิ้น ตอนต้น รายละเอียด ประถมศกึ ษา 607 7431 36 777 นกั เรียน 1556 5268 1 : 17 1 : 10 หอ้ งเรียน 175 566 นักเรียน : ห้องเรยี น 1 : 9 1:9

จากตารางท่ี 4 จำนวนนกั เรียนจำแนกตามประเภท ปกี ารศกึ ษา 2558 พบว่าจำนวนนักเรยี น ในระดับประถมศกึ ษามีมากท่ีสดุ รองลงมาคือระดับก่อนประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ตามลำดับ ส่วนจำนวนห้องเรียนมากที่สุดคือ ระดับประถมศึกษารองลงมาคือระดับก่อนประถมศึกษาและระดับ มธั ยมศึกษาตามลำดับ และจำนวนนักเรียนตอ่ ห้องเรียนที่มีนักเรียนมากที่สุดคือ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น คือ 1 : 17 รองลงมาคอื ระดับประถมศึกษา และก่อนประถมศึกษาเท่ากัน คอื 1 : 9 แผนภมู ทิ ี่ 4 เปรยี บเทียบข้อมูลนักเรยี น ห้องเรียน จำแนกตามประเภทโรงเรียน ปีการศึกษา 2558 6000 นกั เรยี น 5000 หอ้ งเรยี น 4000 3000 ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน้ 2000 1000 0 กอ่ นประถมศึกษา จากแผนภูมิที่ 4 จำนวนนักเรยี นตามประเภทโรงเรียน ปีการศึกษา 2558 พบว่า โรงเรียนประถมศึกษา มีจำนวนนักเรียน และห้องเรียนมากท่ีสุด รองลงมาเป็นโรงเรียนก่อนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น ตามลำดับ

ตารางท่ี 5 จำนวนโรงเรยี น นักเรียน ครู หอ้ งเรยี น ครูต่อนกั เรยี น และนักเรียนตอ่ ห้องเรียน จำแนกตาม ขนาดของโรงเรยี น ปกี ารศึกษา 2558 ขนาดโรงเรยี น โรงเรียน นักเรียน ครู หอ้ งเรียน ครู : นักเรยี น ห้อง : นักเรียน ขนาดท่ี 1 ( 1 – 120 คน ) 81 4356 348 619 1:7 1:7 - นักเรียน 1-20 คน 6 96 15 32 1:3 1:3 - นกั เรยี น 21-40 คน 23 674 64 163 1:4 1:4 - นักเรียน 41-60 คน 24 1164 107 194 1:6 1:6 - นักเรียน 61-80 คน 13 945 72 107 1:9 1:9 - นกั เรียน 81-100 คน 9 823 52 75 1:11 1:11 - นักเรยี น 101-120 คน 6 654 38 48 1:14 1:14 ขนาดท่ี 2 (121 – 200 คน) 8 1229 94 79 1:16 1:16 - นกั เรียน 121 -140 คน 2 252 15 16 1:16 1:16 - นกั เรยี น 141 -160 คน 4 604 51 41 1:15 1:15 - นกั เรยี น 161 -180 คน 1 173 14 11 1:16 1:16

- นักเรียน 181 -200 คน 1 200 14 11 1:18 1:18 ขนาดท่ี 3 ( 201 – 300 คน ) 4 913 61 45 1:20 1:20 2 419 30 22 1:19 1:19 - นกั เรียน 201-220 คน 1 232 16 11 1:21 1:21 - นกั เรยี น 221-240 คน 0 000 0 0 - นกั เรยี น 241-260 คน 1 262 15 12 1:22 1:22 - นกั เรยี น 261-280 คน 0 000 0 0 - นกั เรียน 281-300 คน 2 933 42 34 1:27 1:27 ขนาดที่ 4 ( 301 – 499 คน ) 95 7431 545 777 1:10 1:10 รวมทั้งสิน้ จากตารางที่ 5 เม่ือพิจารณาข้อมูลโรงเรียนจำแนกตามขนาดโรงเรียน 4 ขนาด พบว่าจำนวน โรงเรียนขนาดท่ี 1 (นักเรียน 1 – 120 คน) มีจำนวนมากที่สุด รองลงมาคือ โรงเรียนขนาดท่ี 2 (121 – 200 คน) และ ขนาดที่ 3 (201 – 300 คน) ส่วนโรงเรยี นทมี่ นี อ้ ยท่ีสดุ คือโรงเรียนขนาดท่ี 4 เมอื่ พิจารณาข้อมูลนักเรียนพบว่า โรงเรยี นขนาดที่ 1 (1 – 120 คน) มนี ักเรียนมากที่สุด รองลงมา คอื โรงเรียนขนาดที่ 2 (121 – 200 คน) และขนาดท่ี 4 (301 – 499 คน) ตามลำดับ สว่ นโรงเรยี นที่มีจำนวน นกั เรียนน้อยท่ีสุดคือ โรงเรียนขนาดท่ี 3 (201 - 300 คน) เม่อื พิจารณา ข้อมูลครูพบว่า โรงเรียนขนาดท่ี 1 (1- 120 คน) มีครมู ากท่ีสดุ รองลงมาคือ ขนาดที่ 2 (121 – 200 คน) และขนาดท่ี 3 (201 – 300 คน) ตามลำดับ สว่ นโรงเรียนที่มีครูน้อยทีส่ ุดคือ โรงเรยี นขนาด ท่ี 4 (301 – 499 คน) ตารางท่ี 6 จำนวนนกั เรยี นต่อประชากรวยั เรยี น จำแนกรายชัน้ ปีการศึกษา 2558 ประชากรวัยเรียน นกั เรยี น ร้อยละของนกั เรยี นตอ่ (คน) ประชากรวัยเรียน ระดับช้นั อายุ (ปี) จำนวน (คน) 782 78.91 อนบุ าล 1 774 79.55 อนุบาล 2 4 991 1556 79.23 รวมก่อนประถมศกึ ษา 805 79.94 ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 5 973 856 84.17 ประถมศกึ ษาปีที่ 2 881 84.87 ประถมศึกษาปที ี่ 3 4-5 1964 6 1007 7 1017 8 1038

ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 9 1060 865 81.60 ประถมศึกษาปที ี่ 5 10 1113 996 89.49 ประถมศึกษาปที ่ี 6 11 1091 865 79.29 รวมประถมศกึ ษา 6-11 6326 5268 83.28 8290 6824 82.32 รวมระดบั ก่อนประถมศกึ ษาและ 4-11 ประถมศึกษา 990 202 20.40 12 1062 230 21.66 มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 13 1108 175 15.79 มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 14 3160 607 19.21 มัธยมศึกษาปที ่ี 3 12-14 รวมมัธยมศกึ ษา จากตารางที่ 6 จำนวนนักเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ต่อจำนวนประชากรวัยเรียนในวัยเรียนท้ังหมดในระดับก่อนประถมศึกษาและระดับประถมศึกษา คิดเป็นร้อย ละ 82.32 และในระดับมัธยมศึกษาซึ่งเป็นโรงเรียนขยายโอกาสมีจำนวนนักเรียนต่อประชากรในวัยเรียน คิด เป็นรอ้ ยละ 19.21 แผนภูมิท่ี 5 เปรียบเทยี บจำนวนนักเรยี นต่อประชากรวยั เรยี น ปีการศึกษา 2558

1200 ประชากรวยั เรยี น 1000 นักเรยี น 800 600 400 200 0 อ.1 อ.2 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 จากแผนภูมิที่ 5 จำนวนนักเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 จำนวนนักเรียนต่อประชากรวัยเรียนแยกเป็นรายชั้นจะเห็นได้ว่า ชั้นอนุบาล 1มีจำนวนนักเรียนต่อประชากร วัยเรียนมากที่สุด ส่วนจำนวนนักเรียนต่อประชากรวัยเรียนน้อยท่ีสุดคือในระดับช้ันอนุบาล 2 ในส่วนของ โรงเรยี นมัธยมศึกษาตอนต้นนนั้ ซง่ึ เป็นโรงเรียนในการขยายโอกาสจงึ ทำให้นักเรยี นตอ่ ประชากรวัยเรียนน้นั อยู่ ในขนั้ ตำ่ ตารางที่ 7 จำนวนนกั เรียนพิการเรยี นรว่ ม จำแนกตามระดับการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2558 ประเภทความพกิ าร กอ่ น ประถม มธั ยมศึกษา รวม ร้อยละ ประถมศกึ ษา ศกึ ษา ตอนตน้ 0.27 มคี วามบกพร่องทางการมองเห็น 0 1 01 1.90 10.57 มคี วามบกพร่องทางการไดย้ นิ 4 3 07 4.88 66.67 มคี วามบกพร่องทางสตปิ ัญญา 2 29 8 39 0.27 6.78 มคี วามบกพร่องทางร่างกาย/สุขภาพ 1 15 2 18 3.52 5.15 มปี ัญหาทางการเรยี นรู้ 0 228 18 246 0 100 มคี วามบกพร่องทางการพดู /ภาษา 0 1 01 มีปัญหาทางพฤติกรรม/อารมณ์ 2 20 3 25 ออทสิ ติก 2 9 2 13 พกิ ารซำ้ ซอ้ น 2 13 4 19 อนื่ ๆ 0 0 0 0 รวมทั้งสนิ้ 38 319 37 369 รอ้ ยละ 13.0 86.45 30.08 100

จากตารางท่ี 7 จำนวนนักเรียนพิการเรียนร่วมจำแนกตามระดับการศึกษาพบว่า ระดับ ประถมศกึ ษามีจำนวนนักเรียนพิการเรยี นร่วมมากที่สุดท่ีรอ้ ยละ 86.45 รองลงมาคือระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับก่อนประถมศึกษา ตามลำดบั ทร่ี ้อยละ 30.08 และรอ้ ยละ 13.0 ตามลำดบั แผนภมู ิท่ี 6 เปรียบเทยี บจำนวนนักเรียนพิการเรียนร่วมจำแนกตามประเภทความพิการ ปีการศึกษา 2558 ออทสิ ติก พิการซา้ ซ้อน มีความบกพรอ่ งทางการมองเหน็ มคี วามบกพร่องทางการไดย้ ิน 3% 5% 0% 2% มคี วามบกพรอ่ งทางสติปัญญา 11% มีปัญหาทางพฤติกรรม/อารมณ์ มคี วามบกพร่องทางรา่ งกาย/ 7% สขุ ภาพ 5% มีความบกพร่องทางการพูด/ ภาษา 0% มีปัญหาทางการเรยี นรู้ 67% จากแผนภมู ิที่ 6 จำนวนนักเรยี นพิการเรียนร่วมจำแนกตามประเภทความพกิ าร พบวา่ จำนวนนกั เรยี นท่ี มีปัญหาทางการเรียนรู้ มมี ากทีส่ ุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 67 รองลงมาคือความบกพร่องทางสติปญั ญา โดยคดิ เป็น รอ้ ยละ 11 สว่ นนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการพูด/ภาษา มีน้อยที่สุด ไมม่ เี ลย

ตารางท่ี 8 จำนวนนกั เรยี นด้อยโอกาส จำแนกตามระดับการศกึ ษา ปี 2558 ประเภทด้อยโอกาส กอ่ น ประถม มัธยมศกึ ษา รวม รอ้ ยละ ประถมศึกษา ศกึ ษา ตอนตน้ 0 เด็กถูกบงั คบั ให้ขายแรงงาน 0 0 00 0 0.16 เด็กท่ีอยู่ในธุรกจิ ทางเพศ 0 0 00 0 0.02 เด็กถูกทอดทง้ิ 0 7 3 10 0.10 0.59 เด็กในสถานพินจิ และคุม้ ครองเยาวชน 0 0 00 0.03 96.63 เดก็ เร่ร่อน 0 1 01 0.02 1.20 ผลกระทบจากเอดส์ 1 4 16 1.22 0.02 ชนกลมุ่ น้อย 1 33 2 36 0 100 เด็กท่ีถูกทำรา้ ยทารุณ 1 1 02 เดก็ ยากจน 1030 4261 566 5857 เด็กท่มี ีปัญหาเก่ยี วกบั ยาเสพตดิ 1 0 01 อื่น ๆ 41 26 6 73 กำพรา้ 11 59 4 74 ทำงานรับผดิ ชอบตนเองและครอบครัว 0 1 01 อายนุ อกเกณฑ์ 0 0 00 รวม 1086 4393 582 6061 ร้อยละ 17.9 72.5 9.6 100 จากตารางท่ี 8 จำนวนนักเรียนด้อยโอกาสจำแนกตามระดับการศึกษา พบว่านักเรียนระดับ ประถมศึกษามีจำนวนนักเรียนด้อยโอกาสมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 72.5 รองลงมาคือระดับก่อนประถมศึกษา ทีร่ ้อยละ 17.9 สว่ นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มีจำนวนนักเรยี นดอ้ ยโอกาสนอ้ ยทสี่ ดุ คิดเป็นร้อยละ 9.6 แผนภมู ทิ ่ี 7 จำนวนนกั เรียนด้อยโอกาส จำแนกตามประเภทความด้อยโอกาส ปกี ารศึกษา 2558

5857 0 0 10 0 1 6 36 2 1 73 74 1 0 จากแผนภูมทิ ี่ 7 เมื่อพิจารณาจำนวนนักเรียนตามประเภทความดอ้ ยโอกาส พบวา่ นักเรียนยากจน มีจำนวนมากทีส่ ุด คดิ เป็นร้อยละ 96.63 รองลงมาคือ เดก็ ที่เป็นเดก็ กำพร้า คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.22 และกรณี อื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 1.20 ตามลำดับ ตารางที่ 9 จำนวนนักเรยี นขาดแคลนเคร่ืองเขยี น แบบเรยี นและอาหารกลางวัน ปีการศึกษา 2558 ชน้ั นักเรียน ขาดแคลน ขาดแคลน ขาดแคลน ขาดแคลน ขาดแคลน ท้งั หมด เครอื่ งแบบ เคร่อื งเขยี น แบบเรียน อาหาร 4 รายการ อนุบาล 1 (สมุด ดนิ สอ) (หนงั สอื ยมื เรยี น) กลางวัน อนุบาล 2 782 467 413 418 รวมกอ่ นประถมศกึ ษา 774 447 426 434 379 364 ประถมศึกษาปที ี่ 1 1556 914 425 375 792 782 ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 805 454 851 809 409 386 ประถมศึกษาปที ่ี 3 856 409 434 381 337 329 ประถมศึกษาปที ่ี 4 881 456 399 335 380 385 ประถมศึกษาปที ี่ 5 865 449 419 367 378 381 ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 996 459 432 365 396 388 รวมประถมศกึ ษา 865 409 438 382 348 346 มัธยมศึกษาปีท่ี 1 5268 2636 388 346 2248 2215 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 202 107 2510 2176 106 101 มัธยมศึกษาปีที่ 3 230 94 103 101 93 รวมมธั ยมศกึ ษาตอนต้น 175 82 100 96 96 81 607 283 83 83 110 275 รวม 7431 3833 286 280 312 3272 ร้อยละ 51.58 3647 3265 3352 44.03 49.08 43.94 45.11

จากตารางท่ี 9 พบว่านกั เรียนขาดแคลนเคร่ืองแบบมากท่สี ุดคดิ เปน็ รอ้ ยละ 51.58 และรองลงมาเป็น เครอ่ื งเขียนคิดเป็นร้อยละ 49.08 ขาดแคลนอาหารกลางวนั คดิ เป็นร้อยละ 45.11 และขาดแคลนทั้ง 4 รายการ ขาดแคลนแบบเรียน คิดเป็นรอ้ ยละ 44.03 และ 43.94 ตามลำดบั แผนภมู ิที่ 8 จำนวนนกั เรยี นขาดแคลน จำแนกตามรายการขาดแคลน และระดับช้นั ปีการศึกษา 2558 3000 เคร่อื งแบบ 2500 เครอ่ื งเขียน 2000 แบบเรยี น(หนงั สอื ยมื เรียน) 1500 อาหารกลางวนั 1000 ขาดแคลน 4 รายการ 500 0 ก่อนประถม ประถมศึกษา มธั ยมตอนตน้ จากแผนภูมิที่ 8 เม่ือจำแนกรายการความขาดแคลนเครื่องแบบ เครื่องเขียน แบบเรียน อาหารกลางวัน และขาดแคลนทั้ง 4 รายการ จะพบได้ว่า ในระดับก่อนประถมจะขาดแคลนในเคร่ืองแบบมากท่ีสุดรองลงมา เป็น การขาดแคลนเครื่องเขยี นและแบบเรียน ตามลำดับ นักเรียนระดับประถมศึกษาขาดแคลนในเครื่องแบบ มากท่ีสุด รองลงมา เป็นการขาดแคลนเคร่ืองเขียน และขาดแคลนอาหารกลางวัน ตามลำดับ สำหรับระดับ

มัธยมศึกษาจะขาดแคลนในเร่ืองอาหารกลางวันมากท่ีสุด รองลงมาจะเป็นเรื่องเครื่องเขียน และเคร่ืองแบบ ตามลำดับ ตารางที่ 10 จำนวนนักเรยี นในเขตบริการทีอ่ ยหู่ ่างไกลโรงเรียนเกนิ 3 กม.จำแนกตามวธิ กี ารเดนิ ทางมาเรียน ปีการศกึ ษา 2558 วิธีการเดินทางมาเรยี น ช้นั โดยใชย้ านพาหนะ จกั รยานยืม รวม เรยี น อนุบาล 1 เดินเท้า เสยี ค่าโดยสาร ไมเ่ สยี ค่า 169 อนบุ าล 2 โดยสาร 0 142 รวมก่อนประถม 1 0 311 ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 0 83 85 0 161 ประถมศึกษาปีที่ 2 1 0 184 ประถมศึกษาปที ่ี 3 7 72 70 0 191 11 0 8 155 155 79 75 91 82 97 86

ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 10 113 74 0 197 ประถมศึกษาปที ี่ 5 10 90 89 0 189 ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 9 100 77 2 188 รวมประถมศกึ ษา 55 570 483 2 1110 มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 4 33 22 0 59 มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 5 42 42 0 89 มธั ยมศึกษาปีที่ 3 2 23 34 1 60 รวมมัธยมศึกษา 11 98 98 1 208 รวม 67 823 736 3 1629 ร้อยละ 4.11 50.52 45.18 0.18 100 จากตารางที่ 10 เมื่อพจิ ารณาในภาพรวมพบวา่ นกั เรียนในเขตบริการ ทอ่ี ย่หู ่างไกลโรงเรียนเกนิ 3 กม.เดินทางมาเรียนโดยใช้ยานพาหนะแบบเสียค่าโดยสาร มากท่ีสดุ คิดเป็นรอ้ ยละ 51.74 รองลงมา คือ การเดนิ ทางมาเรยี นโดยใชย้ านพาหนะแบบไมเ่ สียค่าโดยสารคิดเปน็ รอ้ ยละ 43.65 และมาเรียนโดยใช้วิธเี ดนิ เท้าคิดเปน็ ร้อยละ 4.49 ส่วนนักเรียนทเี่ ดินทางมาเรียนโดยวิธใี ชจ้ กั รยานยมื เรยี น มีจำนวนน้อยที่สดุ โดยคดิ เป็นรอ้ ยละ 0.12 แผนภูมิที่ 9 จำนวนนกั เรยี นในเขตบรกิ ารทอี่ ยหู่ า่ งไกลโรงเรียนเกิน 3 กม.จำแนกตามวิธกี ารเดินทาง มาเรยี นและระดบั ช้ัน ในปีการศึกษา 2558

เดินเท้า ใช้ยานพาหนะเสยี คา่ โดยสาร ใชย้ านพาหนะไมเ่ สียคา่ โดยสาร จักรยานยืมเรยี น 600 รวมประถมศกึ ษา รวมมัธยมศกึ ษา 500 400 300 200 100 0 รวมกอ่ นประถม จากแผนภูมทิ ่ี 9 พบวา่ นักเรียนในระดับประถมเดินทางมาเรียนโดยยานพาหนะแบบเสีย ค่าโดยสารมากท่สี ดุ รองลงมา คอื มาเรียนโดยยานพาหนะแบบไมเ่ สียค่าโดยสาร ในระดับกอ่ นประถมศกึ ษา นกั เรยี นเดนิ ทางมาเรยี นโดยยานพาหนะแบบเสียค่าโดยสารและมาเรียนโดยยานพาหนะแบบไม่เสียคา่ โดยสาร มากเท่ากนั ส่วนในระดับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน้ นักเรียนเดินทางมาเรยี นโดยยานพาหนะแบบเสยี ค่าโดยสาร และมาเรียนโดยยานพาหนะแบบไม่เสยี คา่ โดยสาร มากเท่ากนั ซ่งึ เม่ือดจู ากขอ้ มลู แลว้ จะพบว่า โดยรวมแลว้ นักเรียนเดินทางมาเรียนโดยยานพาหนะแบบเสียค่าโดยสารมากท่ีสุด ส่วนทน่ี อ้ ยทสี่ ดุ คือ การเดนิ ทางมาเรยี น โดยใชจ้ ักรยานยืมเรยี น

ตารางที่ 11 จำนวนนักเรยี นออกกลางคนั จำแนกตามสาเหตุและรายชั้นปีการศึกษา 2557 สาเหตุ จำนวนนักเรียนต้น ีป ช้นั ฐานะยากจน มี ัปญหาครอบครัว สมรส มี ัปญหาการปรับตัว ต้องคดี/ ูถก ัจบ เ ็จบ ่ปวย/ ุอ ับติเหตุ อพยพตามผู้ปกครอง หาเลี้ยงครอบครัว ่ือนๆ รวม ร้อยละของนักเรียน ออกกลางคัน ักบ นักเรียน ้ตนปี อนุบาล 1 755 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 อนุบาล 2 767 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0.11 รวมก่อนประถม 1522 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 ประถมศึกษาป่ีท่ี 1 870 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 ประถมศกึ ษาปี่ท่ี 2 887 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0.02 ประถมศึกษาปท่ี ี่ 3 882 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 ประถมศึกษาปท่ี ่ี 4 1024 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 ประถมศึกษาปี่ที่ 5 879 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0.01 ประถมศึกษาปท่ี ่ี 6 923 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 รวมประถมศึกษา 5465 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 229 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 183 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 193 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 รวม ม.ตน้ 605 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 รวมท้ังสิ้น 7592 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 จากตารางที่ 11 พบว่า ในสนิ้ ปกี ารศึกษา 2557 มีนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที 1่ี ออกกลางคนั อยู่ 1 คน สาเหตุอพยพตามผปู้ กครอง

ตารางที่ 12 จำนวนนักเรยี นพักนอน จำแนกตามระดับการศกึ ษา ปี 2558 ประเภทการพกั นอน ก่อน ประถม มธั ยมศกึ ษา รวม ร้อยละ ประถมศกึ ษา ศึกษา ตอนตน้ บ้านพกั นักเรียน/หอนอน 18.99 บ้านพกั ครู 1 41 3 45 2.95 พกั รวมกับชมุ ชน/อ่ืนๆ 78.06 0 3 47 100 รวม รอ้ ยละ 12 154 19 185 13 198 26 237 5.49 83.5 11.0 100 จากตารางท่ี 12 จำนวนนกั เรยี นพกั นอนจำแนกตามระดบั การศึกษา พบว่านักเรียนระดับ ประถมศึกษามจี ำนวนนักเรยี นพักนอนมากทีส่ ดุ คดิ เป็นร้อยละ 83.5 รองลงมาคือระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ท่ี รอ้ ยละ 11.0 สว่ นระดบั ก่อนประถมศกึ ษา มจี ำนวนนกั เรยี นพักนอนน้อยท่ีสุดคดิ เป็นร้อยละ 5.49 แผนภมู ทิ ี่ 10 จำนวนนักเรียนพกั นอน จำแนกตามระดบั การศกึ ษา ปี 2558 200 กอ่ นประถม ประถม 150 มธั ยมต้น 100 บ้านพักครู พักรวมกับชมุ ชน/อ่นื ๆ 50 0 บ้านพักนักเรยี น/หอนอน จากแผนภูมิท่ี 10 เมื่อจำแนกรายการแล้วจะพบได้ว่า ในระดับประถมจะพักนอนรวมกับชุมชน และอ่ืนๆมากที่สุด รองลงมาในระดับประถมศึกษาเป็นการพักนอนที่พักนักเรียน/หอนอน สว่ นบ้านพักครูน้ันมี นอ้ ยท่ีสดุ

ตารางที่ 13 น้ำหนัก ส่วนสูงนักเรียนเทียบเกณฑ์มาตรฐาน จำแนกตามระดบั การศกึ ษา ปี 2558 ประเภทน้ำหนกั สว่ นสูง กอ่ น ประถม มัธยมศึกษา รวม รอ้ ยละ ประถมศึกษา ศกึ ษา ตอนต้น น้ำหนกั ตำ่ กว่าเกณฑ์ 13.38 สว่ นสงู ตำ่ กว่าเกณฑ์ 242 708 44 994 11.08 น้ำหนักและส่วนสงู ต่ำกว่าเกณฑ์ 0.65 น้ำหนักสงู กว่าเกณฑ์ 214 575 34 823 14.41 สว่ นสูงสงู กว่าเกณฑ์ 8.01 น้ำหนกั และสว่ นสงู สูงกวา่ เกณฑ์ 111 350 19 480 4.48 น้ำหนกั อยูใ่ นเกณฑ์ 72.21 สว่ นสงู อยใู่ นเกณฑ์ 156 816 99 1071 80.92 นำ้ หนกั และส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์ 64.33 อายุนอกเกณฑ์ 92 444 59 595 0 นักเรยี นทงั้ หมด 48 258 27 333 100 รอ้ ยละ 1158 3744 464 5366 1250 4249 514 6013 1018 3344 418 4780 0 0 00 1556 5268 607 7431 20.94 70.89 8.168 100 จากตารางท่ี 13 น้ำหนักสว่ นสงู ของนักเรยี นท่ีอยู่ในเกณฑ์คดิ เป็นร้อยละ 64.33 ของนักเรยี น ท้งั หมด สว่ นจำนวนนกั เรยี นทีม่ นี ้ำหนักและส่วนสูงตำ่ กว่าเกณฑ์คดิ เป็นร้อยละ 6.46 ของนกั เรียนท้ังหมด แผนภูมทิ ่ี 11 นำ้ หนัก ส่วนสงู นกั เรยี นเทยี บเกณฑม์ าตรฐาน จำแนกตามระดับการศกึ ษา ปี 2558

4500 4000 3500 3000 2500 2000 1500 กอ่ นประถม 1000 500 ประถม 0 มัธยมตน้ จากแผนภูมิที่ 11 เม่ือจำแนกรายการแล้วจะพบไดว้ ่า นกั เรียนสว่ นใหญ่มนี ้ำหนกั และส่วนสงู อยใู่ นเกณฑเ์ มอ่ื เทียบเกณฑม์ าตรฐาน ตารางที่ 14 จำนวนนักเรยี นทจี่ บการศึกษาชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2557 รายการ ประถมศึกษาปที ่ี 6 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 นกั เรยี นตน้ ปี จำนวน ( คน ) รอ้ ยละ จำนวน ( คน ) รอ้ ยละ นกั เรียนเรียนจบ -ศกึ ษาต่อ 923 100 193 100 -ประกอบอาชีพ -บวชในศาสนา 920 99.67 175 90.67 -อื่นๆ 920 100 164 93.71 -- 7 4.0 -- 1 0.57 -- 3 1.71 จากตารางที่ 14 พบว่า นักเรียนประถมศกึ ษาปีที่ 6 ศึกษาตอ่ มากที่สดุ คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ส่วนใน ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ น้นั นกั เรียนทีจ่ บแลว้ และศึกษาต่อมากท่สี ุดคดิ เป็นรอ้ ยละ 93.71 และรองลงมาคือ นักเรียนไปประกอบอาชีพคิดเป็นร้อยละ 4.0 อนื่ ๆคิดเปน็ ร้อยละ 1.71 และบวชในศาสนาคิดเปน็ ร้อยละ 0.57 แผนภมู ทิ ี่ 12 สถานะนักเรียนทเ่ี รียนจบช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 และมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2557 จำแนกออกเป็นเปอรเ์ ซนต์

ประถม 6 มัธยม 3 100 93.71 ศกึ ษาตอ่ 04 0 0.57 0 1.71 ประกอบอาชีพ บวชในศาสนา อนื่ ๆ จากแผนภูมิท่ี 12 พบว่านักเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โดยส่วนใหญ่ จะศกึ ษาตอ่ และสว่ นในเรือ่ งของการประกอบอาชพี และการบวชในศาสนานน้ั จะมีเฉพาะนักเรียนที่สำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 เท่านั้น ตารางท่ี 15 สรุปผลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2557 ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ระดบั สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ที่ รายวิชา ปี 2557 เปรียบเทยี บระดบั เขตพนื้ ท่ี เปา้ หมาย คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลยี่ ปกี ารศกึ ษา 2558 1 ภาษาไทย เพมิ่ ข้ึน คะแนน 2 สงั คมศกึ ษาฯ ระดบั ระดบั สพฐ. ระดบั ประเทศ 2556 2557 เพมิ่ /ลด เพมิ่ /ลด 3 ภาษาองั กฤษ ร้อยละ ร้อยละ 3 เฉลยี่ 4 คณติ ศาสตร์ เขตพนื้ ท่ี สพฐ. เพม่ิ /ลด ประเทศ เพม่ิ /ลด 5 วทิ ยาศาสตร์ 47.15 1.41 48.56 6 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 52.25 44.03 3.12 44.88 2.27 44.40 47.15 2.75 6.19 1.57 53.82 7 ศลิ ปะ 32.87 49.03 3.22 50.67 1.58 37.65 52.25 14.60 38.78 0.99 33.86 8 การงานอาชีพฯ 41.61 32.88 -0.01 36.02 -3.15 29.35 32.87 3.52 11.99 1.25 42.86 43.82 36.77 4.84 38.06 3.55 42.64 41.61 -1.03 -2.42 1.31 45.13 คา่ เฉลย่ี 52.78 40.97 2.85 42.13 1.69 36.31 43.82 7.51 20.68 1.58 54.36 47.26 50.77 2.01 52.20 0.58 1.42 48.68 58.62 44.24 3.02 45.61 1.65 61.99 52.78 -9.21 -14.86 1.76 60.38 47.05 55.24 3.38 56.32 2.30 47.58 47.26 -0.32 -0.67 1.41 48.46 53.27 58.62 5.35 10.04 44.24 2.80 45.74 1.31 44.15 47.05 2.90 6.56


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook