Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาปีการศึกษา 2559

ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาปีการศึกษา 2559

Published by Aisara Deemak, 2020-03-16 22:58:04

Description: ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาปีการศึกษา 2559

Search

Read the Text Version

สรปุ สารสนเทศทางการศกึ ษา สำ� นักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาล�ำปาง เขต 3 ปีการศกึ ษา 2559 2559 .indd 1 ภาพรางวลั ชนะเลิศ “งานวนั วิทยาศาสตรแ์ ห่งชาติ ประจำ� ปี 2559 ช่ือภาพ “โลกจินตนาการทางวิทยาศาสตร”์ ผลงาน : ด.ญ.ณัฐธิดา กำ� มลู ชนั้ ประภมศึกษาปี ท่ี 6 โรงเรียนแม่สขุ วงั เหนือ อำ� เภอวงั เหนือ จงั หวดั ลำ� ปาง 28/9/2559 22:54:55

สรุปสารสนเทศทางการศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2559 จดั ท�ำโดย : งานขอ้ มลู สารสนเทศ กลุ่มนโยบายและแผน สำ� นกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาล�ำปาง เขต 3 ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ เลขท่ี 359 หมู่ 1 ถนนวเิ ชตวัฒนา ต�ำบลแจ้ห่ม อำ� เภอแจห้ ่ม จังหวัดล�ำปาง โทรศพั ท์ 054 271 214 โทรสาร 054 271 276 www.lpg3.go.th 2559 .indd 2 28/9/2559 22:54:56

คำ� นำ� ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 ได้จัดท�ำเอกสาร “สารสนเทศทาง การศึกษาปกี ารศกึ ษา 2559” ซ่งึ ขอ้ มูลสารสนเทศทางการศึกษาฉบับภาพรวมของสานักงานเขตพนื้ ท่ี การศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 ข้อมูลเหล่านี้ได้จากการส�ำรวจข้อมูลทุกโรงเรียนในสังกัด ณ วันท่ี 10 มิถุนายน 2559 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 เพ่ือเป็นข้อมูลในการบริหาร จัดการศึกษา การศึกษาค้นควา้ และคาดการณแ์ นวโน้มการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานตอ่ ไป ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 ใคร่ขอขอบคุณผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด ทใ่ี หค้ วามรว่ มมอื ในการส�ำรวจและรวบรวมข้อมลู รายงานและ จดั ท�ำเอกสารขอ้ มลู สารสนเทศทางการศึกษาประถมศกึ ษาลำ� ปาง เขต 3 ปีการศกึ ษา 2559 ฉบบั นี้ ให้ส�ำเร็จได้ด้วยดี และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อบุคลากรและหน่วยงานที่ รับผิดชอบต่อการจัดการศึกษาทุกระดับน�ำไปใช้เพ่ือการวางแผนและบริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลได้ตามสมควร สำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำ� ปาง เขต 3 ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 2559 .indd 3 ก 28/9/2559 22:54:57

บทสรุปผบู้ รหิ าร บทน�ำ ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 เป็นหน่วยงานในสังกัดส�ำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ เลขที่ 359 ถนนวิเชตวัฒนา ต�ำบลแจ้ห่ม อ�ำเภอแจ้ห่ม จังหวัดล�ำปาง มีหน้าที่หลักในการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ให้เป็นไปตามอ�ำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และมาตรา 37 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 โดยมีความรับผิดชอบ ครอบคลุมพ้ืนท่ี 3 อ�ำเภอ ประกอบด้วย อ�ำเภอแจ้ห่ม อ�ำเภอวังเหนือ และอ�ำเภอเมืองปาน โดยมีวิสัยทัศน์และพันธกิจ ดังนี้ วิสัยทัศน์ จัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีคุณภาพตามมาตรฐาน ภายใต้การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยแบ่งออกเป็นประเด็นส�ำคัญวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ดังต่อไปนี้ ประเด็นส�ำคัญวิสัยทัศน์ท่ี 1 การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ มีส่วนร่วมใช้เทคโนโลยี สู่ความเป็นเลิศ พันธกิจ 1. ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม เพ่ือความเป็นเลิศ 2. เพ่ิมประสิทธิภาพการใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการตอบสนองความต้องการของ ผู้รับบริการ 3. บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เป้าประสงค์ 1. เขตพื้นท่ีการศึกษา มีคุณภาพตามมาตรฐาน เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล โปร่งใส ตรวจสอบได้ 2. เขตพื้นที่การศึกษา/โรงเรียน ใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ 3. ผู้รับบริการพึงพอใจ 4. ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ประเด็นส�ำคัญวิสัยทัศน์ที่ 2 ครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นมืออาชีพ พันธกิจ 1. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความเป็นมืออาชีพอย่างต่อเนื่อง 2. ส่งเสริม สนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความก้าวหน้าทางวิชาชีพ 3. สนับสนุนการยกย่องเชิดชูเกียรติครูและบุคลากรทางการศึกษา ข www.lpg3.go.th 28/9/2559 22:54:59 2559 .indd 4

เป้าประสงค์ 1. ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ ความสามารถและทักษะตามสมรรถนะ ปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชิพ 2. ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความก้าวหน้าในวิชาชีพได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ 3. ครูและบุคลากรทางการศึกษา ปฏิบัติงานตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ประเด็นส�ำคัญวิสัยทัศน์ที่ 3 ผู้เรียนมีคุณภาพ พันธกิจ 1. ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ และเสมอภาคตามมาตรฐานพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาเทียบเคียงมาตรฐานสากล 3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร และค่านิยมหลัก ของคนไทย 12 ประการ เป้าประสงค์ 1. ประชากรวยั เรยี นทกุ คน ไดร้ บั การศกึ ษาอยา่ งทว่ั ถงึ มคี ณุ ภาพและเสมอภาคตามมาตรฐาน พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2. ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาเทียบเคียงมาตรฐานสากล 3. ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 4. นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษาและระดับการศึกษาภาคบังคับมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย และมีคุณภาพ 5. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรและค่านิยมหลัก ของคนไทย 12 ประการ ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 2559 .indd 5 ฃ 28/9/2559 22:55:00

คำ�นิยาม โรงเรียน หมายถึง โรงเรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วันที่ต้ังโรงเรียน หมายถึง วันที่ก่อตั้งโรงเรียนนี้ ซึ่งได้บันทึกไว้ในสมุดหมายเหตุรายวัน เขตท่ีตั้งของโรงเรียน หมายถึง ที่ต้ังของโรงเรียนว่าอยู่ในเขตใด แบ่งเป็น 3 ลักษณะ คือ 1) เขตการปกครอง หมายถึง สถานที่ท่ีต้ังของโรงเรียนท่ีตั้งอยู่ในเขตการปกครองตาม ที่กระทรวงมหาดไทยประกาศ 2) ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ หมายถึง สถานที่ต้ังของโรงเรียนต้ังอยู่ในพ้ืนที่หรือบริเวณสภาพ ทางภูมิศาสตร์ 3) โรงเรียนที่ตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกับวัด เขตบริการของโรงเรียน หมายถึง เขตพื้นท่ีบริการของโรงเรียนที่คณะกรรมการเขตพื้นที่ การศึกษาก�ำหนด พนื้ ทโี่ รงเรยี น หมายถงึ ขนาดของทดี่ นิ ทเ่ี ปน็ ทต่ี ง้ั ของโรงเรยี น ทดี่ นิ ทโ่ี รงเรยี นมสี ทิ ธคิ์ รอบครอง หรือใช้ประโยชน์ในการจัดการศึกษาจากท่ีดินน้ัน ซ่ึงอาจะมีจานวนหลายแปลง รวมถึงลักษณะการ ถือครองที่ดินใน แต่ละแปลงในลักษณะต่าง ๆ ดังน้ี 1) ที่ป่าสงวน เป็นท่ีดินที่อยู่ในความดูแลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และได้รับ ความยินยอม ให้จัดตั้งโรงเรียนเพื่อจัดการศึกษาให้บุตรหลานของประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตน้ัน เล่าเรียน 2) ท่ีธรณีสงฆ์ เป็นท่ีดินท่ีอยู่ในความดูแลของวัดหรือกรมการศาสนา และได้รับความ ยินยอมให้จัดต้ังโรงเรียนเพื่อจัดการศึกษาให้บุตรหลานของประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตน้ันเล่าเรียน 3) ท่ีราชพัสดุ เป็นท่ีดินที่อยู่ในความดูแลของรัฐ และยินยอมให้จัดตั้งโรงเรียน เพ่ือจัดการศึกษาให้บุตรหลานของประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตน้ันเล่าเรียน 4) ที่ดินเช่าผู้อ่ืน เป็นท่ีดินที่โรงเรียนเช่าจากบุคคลอื่น เพื่อทาประโยชน์ในด้านการ จัดการศึกษา 5) ท่ีทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ท่ียินยอมให้จัดตั้งโรงเรียนเพื่อจัดการศึกษาให้บุตร หลานของประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตน้ันเล่าเรียน 6) ท่ีได้รับบริจาค และ/หรือ ให้ใช้ประโยชน์ หมายถึง ท่ีดินที่โรงเรียนได้รับบริจาคหรือ ให้ท�ำประโยชน์ด้านการจัดการศึกษาจากท่ีดินผืนนั้น 7) ท่ีสาธารณประโยชน์ 8) ท่ี ส.ป.ก. โรงเรียนสาขา หมายถึง โรงเรียนที่จัดตั้งขึ้นเพ่ือรองรับความต้องการของชุมชนหรือ ท้องถ่ินท่ีต้องการให้บุตรหลานได้ศึกษาเล่าเรียนในโรงเรียน ที่ตั้งอยู่ในท้องถ่ินของตนเอง แต่ไม่มีโรงเรียนตั้งอยู่ก่อนได้รับอนุญาตให้เปิดเป็นโรงเรียนสาขาแล้ว หน่วยงานทางการศึกษา หมายถึง หน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีจัดการเรียนรู้ และ / หรือ ดูแล รับผิดชอบเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัย วิทยาลัยชุมชน ค www.lpg3.go.th 2559 .indd 6 28/9/2559 22:55:00

ประเภทโครงการอาหารกลางวัน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 ประเภทที่ 1 หมายถึง โรงเรียนท่ีสามารถบริหารจัดการให้นักเรียนทุกคนมีอาหารกลางวัน รับประทานทุกวันโดยขอรับเงินงบประมาณสนับสนุนจากรัฐ ประเภทที่ 2 หมายถึง โรงเรียนสามารถบริหารจัดการให้นักเรียนทุกคนมีอาหารกลางวัน รับประทาน ทุกวันโดยได้รับเงินงบประมาณสนับสนุนจากรัฐ ประเภทที่ 3 โรงเรียนที่นักเรียนจ�ำนวนหนึ่ง ไม่ได้รับประทานอาหารกลางวัน ถึงแม้จะได้ รับเงินงบประมาณสนับสนุนตามท่ีรัฐจัดให้ จ�ำแนกเป็น 3.1) หมายถึง โรงเรียนท่ีมีนักเรียนจ�ำนวนหน่ึงไม่ได้รับประทานอาหารกลางวัน แม้โรงเรียนพยายามจัดอาหารกลางวันให้กับนักเรียนได้มากกว่างบประมาณท่ีได้รับจัดสรรแล้วก็ตาม 3.2) หมายถึง โรงเรียนท่ีมีนักเรียนจ�ำนวนหน่ึงไม่ได้รับประทานอาหารกลางวัน และโรงเรียนก็ได้พยายามจัดอาหารกลางวันให้กับนักเรียนได้เท่ากับงบประมาณที่ได้รับจัดสรรเท่าน้ัน นกั เรยี นพกิ าร หมายถงึ บคุ คลทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางรา่ งกายและจติ ใจ แบง่ เปน็ 9 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) คนที่มีความบกพร่องทางการเห็น หมายถึง บุคคลที่สูญเสียการเห็นต้ังแต่ระดับเล็ก น้อยจนถึงบอดสนิท อาจแบ่งได้ 2 ประเภท คือ คนตาบอดสนิท และคนเห็นเลือนลาง 2) คนท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน หมายถึง คนท่ีสูญเสียการได้ยินตั้งแต่ระดับ รุนแรง จนถึงระดับน้อยอาจแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ คนหูหนวก และคนหูตึง 3) คนท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญา หมายถึง คนท่ีมีพัฒนาการช้ากว่าคนปกติท่ัวไป เมื่อวัดสติปัญญา โดยใช้แบบทดสอบมาตรฐานแล้ว มีสติปัญญาต่�ำกว่าบุคคลปกติและความสามารถ ในการปรับเปล่ียนพฤติกรรม ต�่ำกว่าเกณฑ์ปกติอย่างน้อย 2 ทักษะ หรือมากกว่า เช่น ทักษะการสื่อ ความหมาย ทักษะทางสังคม ทักษะการใช้ สาธารณสมบัติ การดูแลตนเอง การดารงชีวิตในบ้าน การควบคุมตนเอง สุขภาพอนามัยและความปลอดภัย การเรียนวิชาเพ่ือชีวิตประจ�ำวัน การใช้เวลาว่างและการทางาน ซึ่งลักษณะความบกพร่องทางสติปัญญา จะแสดงอาการก่อนอายุ 18 ปี อาจแบ่งความบกพร่องทางสติปัญญาออกเป็น 2 ระดับ ดังน้ี (1) เด็กปัญญาอ่อนท่ีเรียนหนังสือได้ หมายถึง เด็กปัญญาอ่อนที่มีระดับสติปัญญาอยู่ ระหว่าง 50 – 70 วัดโดยใช้แบบทดสอบมาตรฐาน มีสติปัญญาและความเฉลียวฉลาดไม่เท่าเทียม กับเด็กปกติในวัยเดียวกันและมีพฤติกรรมทางสังคมไม่เหมาะสมกับวัย (2) เด็กปัญญาอ่อนที่ฝึกได้ หมายถึง เด็กปัญญาอ่อนที่มีระดับสติปัญญาอยู่ระหว่าง 35 – 49 โดยประมาณ เป็นเด็กปัญญาอ่อนข้ันปานกลางท่ีมีสติปัญญาและพฤติกรรมเป็นอุปสรรค ต่อการเรียนรู้ของเด็ก 4) คนท่ีมีความบกพร่องทางร่างกายหรือสุขภาพ หมายถึง คนที่มีอวัยวะไม่สมส่วน อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนขาดหายไป กระดูกและกล้ามเนื้อพิการเจ็บป่วยเรื้อรัง รุนแรง มีความพิการของระบบประสาท มีความลาบากในการเคล่ือนไหวซ่ึงเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา ในสภาพปกติ ท้ังนี้ ไม่รวมคนที่มี ความบกพร่องทางประสาทสัมผัส ได้แก่ ตาบอด หูหนวก อาจแบ่งได้เป็นประเภท ดังนี้ โรคของระบบประสาท โรคทางระบบกล้ามเน้ือกระดูก การไม่สมประกอบ มาแต่ก�ำเนิด สภาพความพิการและความบกพร่องทางสุขภาพ อ่ืน ๆ ฅ 2559 .indd 7 28/9/2559 22:55:00

5) คนที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ หมายถึง คนท่ีมีความบกพร่องอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างทางกระบวนการพื้นฐานทางจิตวิทยาที่เก่ียวกับความเข้าใจหรือการใช้ภาษา อาจเป็น ภาษาพูดและหรือภาษาเขียน ซึ่งส่งผลทาให้มีปัญหาในการฟัง การพูด การคิด การอ่าน การเขียน การสะกด หรือการค�ำนวณ รวมท้ังสภาพความบกพร่องในการรับรู้ สมองได้รับบาดเจ็บ การปฏิบัติ งานของสมองสูญเสียไป ซึ่งทาให้มีปัญหาในการอ่าน และปัญหาในการเข้าใจภาษา ทั้งน้ี ไม่รวม คนที่มีปัญหาทางการเรียน เนื่องจากสภาพ สภาพความบกพร่อง ในการรับรู้ สมองได้รับบาดเจ็บ การปฏิบัติงานของสมองสูญเสียไป ซ่ึงทาให้มีปัญหาในการอ่าน และปัญหาในการเข้าใจภาษา ทั้งน้ี ไม่รวมคนท่ีมีปัญหาทางการเรียน เน่ืองจากสภาพบกพร่อง ทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว ปญั ญาออ่ น ปญั หาทางอารมณ์ หรอื ความดอ้ ยโอกาสเนอื่ งจากสง่ิ แวดลอ้ ม วฒั นธรรมหรอื เศรษฐกจิ 6) คนที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา หมายถึง บุคคลท่ีมีความบกพร่องใน เร่ืองของการออกเสียงพูด เช่น เสียงผิดปกติ อัตราความเร็วและจังหวะการพูดผิดปกติหรือคน ที่มีความบกพร่องในเร่ืองความเข้าใจและการใช้ภาษาพูด การเขียน และหรือระบบสัญลักษณ์อ่ืนท่ี ใช้ในการติดต่อส่ือสาร ซึ่งอาจเกี่ยวกับรูปแบบของภาษาเน้ือหาของภาษาและหน้าที่ของภาษา 7) คนที่มีปัญหาทางพฤติกรรมหรือทางอารมณ์ หมายถึง คนท่ีมีพฤติกรรมเบ่ียงเบน ไปจากปกติเป็นอย่างมาก และปัญหาทางพฤติกรรมนั้นเป็นไปอย่างต่อเน่ือง ไม่เป็นที่ยอมรับทาง สังคมหรือวัฒนธรรม 8) คนออทิสติก หมายถึง บุคคลที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการด้านสังคม ภาษาและ การสื่อความหมาย พฤติกรรมอารมณ์ และจินตนาการ ซ่ึงมีสาเหตุเน่ืองมาจากการทางานในหน้าที่ บางส่วนของสมองผิดปกติไป และความผิดปกติน้ีพบได้ก่อนวัย 30 เดือน ลักษณะของบุคคล ออทิสติก สรุปได้ดังน้ี (1) มีความบกพร่องทางปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (2) มีความบกพร่องทางการสื่อสาร ทั้งด้านการใช้ภาษาพูด ความเข้าใจภาษาการ แสดงกริยาส่ือความหมาย (3) มีความบกพร่องด้านพฤติกรรมและอารมณ์ บางคนมีพฤติกรรมช้า ๆ ผิดปกติ (4) มีความบกพร่องด้านการรับรู้ทางประสาทสัมผัส การใช้ประสาทสัมผัสท้ัง 5 (5) มีความบกพร่องด้านการใช้อวัยวะต่าง ๆ อย่างประสานสัมพันธ์ การใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย (6) มีความบกพร่องด้านการจินตนาการ ไม่สามารถแยกเรื่องจริงเร่ืองสมมุติ หรือ ประยุกต์วิธีจากเหตุการณ์หน่ึงไปยังอีกเหตุการณ์หนึ่งได้ (7) มีความบกพร่องด้านสมาธิ มีความสนใจท่ีส้ัน วอกแวกง่าย 9) คนท่ีมีความพิการซ้อน หมายถึง คนที่มีสภาพความบกพร่องหรือความพิการมากกว่า หนึ่งประเภทในบุคคลเดียวกัน นักเรียนขาดแคลน หมายถึง 1) นักเรียนท่ีขาดเครื่องแบบนักเรียน หมายถึง นักเรียนที่บิดามารดามีฐานะยากจน มีเครื่องแบบนักเรียนสวมใส่มาโรงเรียนไม่เพียงพอ ฆ www.lpg3.go.th 2559 .indd 8 28/9/2559 22:55:00

2) นักเรียนที่ขาดแคลนเครื่องเขียน หมายถึง นักเรียนท่ีบิดามารดามีฐานะยากจนไม่มี ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 เงินซ้ือเครื่องเขียน ให้นักเรียนใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ 3) นักเรียนที่ขาดแคลนแบบเรียน หมายถึง แบบเรียนหนังสือยืมเรียนสาหรับนักเรียน ทุกคนมีไม่เพียงพอกับความต้องการของนักเรียน ท�ำให้นักเรียนบางคนไม่มีแบบเรียนใช้ประกอบ กิจกรรมการเรียนรู้ 4) นักเรียนท่ีขาดแคลนอาหารกลางวัน หมายถึง นักเรียนที่บิดามารดามีฐานะยากจน ไม่มีเงินซ้ือ อาหารกลางวันให้เด็กรับประทาน นักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษด้านต่าง ๆ หมายถึง นักเรียนท่ีแสดงออกถึงความสามารถ อันโดดเด่นหรือแสดงให้เห็นถึงศักยภาพท่ีจะสามารถพัฒนาความสามารถได้อย่างเป็นที่ประจักษ์ เม่ือนามาเปรียบเทียบกับ เด็กอื่น ๆ ท่ีอยู่ในวัยเดียวกันท่ีมีสภาพแวดล้อมหรือประสบการณ์ระดับ เดียวกัน ความสามารถในท่ีนี้ ได้แก่ ความสามารถ ในด้านสติปัญญา ความเป็นเลิศทางวิชาการ สาขาใดสาขาหนึ่ง พฤติกรรมดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงศักยภาพท่ีจะพัฒนาความสามารถได้อย่าง เป็นที่ประจักษ์ ซึ่งจ�ำแนกได้ดังน้ี 1) ด้านวิทยาศาสตร์ / ด้านคณิตศาสตร์ หมายถึง มีความเข้าใจ มองเห็นมิติสัมพันธ์ สิ่งท่ีเป็นนามธรรม ใช้จานวนได้รวดเร็ว มีทักษะการคิด วิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล สร้างและสรุป ความคิด ปรับเปลี่ยนระบบและวิธีการอย่างหลากหลายได้เร็วกว่าเด็กในวัยเดียวกัน 2) ด้านภาษา หมายถึง เป็นผู้มีทักษะและความคิดสร้างสรรค์ในการใช้ภาษาเพ่ือการ สื่อสารได้ดีกว่า เด็กในวัยเดียวกัน 3) ด้านดนตรี หมายถึง ผู้ท่ีมีความสามารถและมีจินตนาการในการแสดงหรือเล่นดนตรี อย่างมีสุนทรียภาพ 4) ด้านกีฬา หมายถึง ผู้มีความสามารถ มีทักษะ มีพรสวรรค์ ในการออกก�ำลังกายได้ เป็นอย่างดีและโดดเด่นในการแข่งขันกีฬา 5) ด้านทัศนศิลป์ และด้านศิลปะการแสดง หมายถึง ผู้มีจินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ในการถ่ายทอดส่ิงท่ีประทับใจจากธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มาเป็นผลงานศิลปะของ ตนเองอย่างเด่นชัดกว่าเด็กในวัยเดียวกัน นักเรียนพักนอนประจ�ำ หมายถึง นักเรียนท่ีมีถิ่นที่อยู่ไม่สะดวก ห่างไกล กันดาร ท�ำให้เป็น อุปสรรคต่อการเดินทางไป – กลับ ระหว่างถ่ินท่ีอยู่กับโรงเรียน จ�ำเป็นต้องพักอาศัยในสถานที่ท่ี โรงเรียนจัดให้หรือท่ีซ่ึงที่โรงเรียนสามารถด�ำเนินการควบคุมดูแลได้ เช่น 1) บ้านพักครู หมายถึง บ้านพักครูท่ีให้นักเรียนพักนอนประจ�ำ ท้ังนี้นักเรียนอาจจะอาศัย อยู่รวมกับครู หรืออยู่เฉพาะนักเรียนก็ได้ 2) ที่พักนักเรียน หมายถึง บ้านพัก / หอนอน ท่ีโรงเรียนสร้างขึ้นโดยเงินงบประมาณ หรือเงินบริจาคส�ำหรับให้นักเรียนพักนอนประจ�ำ 3) พักรวมกับชุมชน/อ่ืน ๆ หมายถึง บ้านพักในชุมชนหรือวัด ที่ชุมชนหรือวัดให้ความ ร่วมมือให้นักเรียนท่ีอาศัยพักนอนประจ�ำ 2559 .indd 9 ง 28/9/2559 22:55:00

นกั เรยี นดอ้ ยโอกาส หมายถงึ นกั เรยี นในโรงเรยี นทดี่ อ้ ยโอกาสทางการศกึ ษา จำ� แนกไดด้ งั นี้ 1) นักเรียนถูกบังคับให้ขายแรงงาน หรือแรงงานเด็ก หมายถึง เด็กที่ต้องท�ำงานหรือ ถูกบังคับให้ท�ำงานหารายได้ด้วยการขายแรงงานก่อนถึงวัยอันสมควร ถูกเอารัดเอาเปรียบ จากนายจ้าง ไม่มีโอกาสได้รับการพัฒนาให้เป็นไปตามหลักพัฒนาการอันเหมาะสมกับวัย 2) นักเรียนท่ีอยู่ในธุรกิจบริการทางเพศ หรือโสเภณีเด็ก หมายถึง เด็กที่มีความสมัครใจ หรือถูกบังคับล่อลวงให้ขายบริการทางเพศ หรือถูกชักจูงให้ต้องตกอยู่ในสภาพท่ีเส่ียงต่อการ ประกอบอาชีพขายบริการทางเพศ 3) นักเรียนที่ถูกทอดท้ิง หมายถึง เด็กท่ีมารดาคลอดท้ิงไว้ในโรงพยาบาล หรือตาม สถานที่ต่าง ๆ รวมไปถึงเด็กท่ีพ่อแม่ปล่อยทิ้งไว้ให้มีชีวิตอยู่ตามล�ำพัง หรือกับบุคคลอ่ืน โดยไม่ ได้รับการเล้ียงดูจากพ่อแม่ ทั้งน้ี อาจมีสาเหตุมาจากปัญหาการหย่าร้าง หรือครอบครัวแตกแยก มีสภาพชีวิตอยู่ท่ามกลางความสับสน ขาดความรัก ความอบอุ่น ตลอดถึงเด็กที่ขาดผู้อุปการะ เล้ียงดู อันเนื่องมาจากสาเหตุอ่ืน ๆ 4) นักเรียนท่ีอยู่ในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน หมายถึง เด็กที่กระท�ำผิด และถูกควบคุมอยู่ในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ตามกฎหมาย ตลอดถึงเด็กหญิง ที่ต้ังครรภ์นอกสมรส ซึ่งมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ เช่น การท�ำแท้ง การฆ่าตัวตาย การทอดทิ้งทารก 5) นักเรียนเร่ร่อน หมายถึง เด็กที่ไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่งแน่นอน ดารงชีวิตอยู่อย่าง ไร้ทิศทางขาดปัจจัยพ้ืนฐานในการดารงชีวิต เสี่ยงต่อการประสบอันตราย และเป็นปัญหาสังคม 6) นกั เรยี นทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากโรคเอดส์ หรอื โรคตดิ ตอ่ รา้ ยแรงทสี่ งั คมรงั เกยี จ หมายถงึ เด็กท่ีติดเชื้อเอดส์ หรือมีพ่อแม่เจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ เป็นเด็กที่มักถูกมองอย่างรังเกียจจนไม่ สามารถเข้ารับการศึกษาหรือบริการอื่น ๆ ร่วมกับเด็กปกติท่ัวไปได้ 7) นักเรียนท่ีเป็นชนกลุ่มน้อย หมายถึง เด็กท่ีเป็นบุตรหลานของบุคคลท่ีมีวัฒนธรรม แตกต่างไปจากประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ มีปัญหาเก่ียวกับการถือสัญชาติไทยจนเป็นเหตุให้ไม่มี โอกาสได้รับการศึกษาหรือบริการอ่ืน ๆ ส่วนใหญ่อพยพเข้ามาตั้งหลักแหล่งอยู่ตามบริเวณชายแดน ของประเทศไทย 8) นักเรียนที่ถูกท�ำร้ายทารุณ หมายถึง เด็กที่ถูกล่วงละเมิดทางร่างกาย ทางเพศ หรือ ทางจิตใจ มีชีวิตอยู่อย่างไม่เป็นสุข ระแวง หวาดกลัว เน่ืองจากถูกทาร้ายทารุณ ถูกบีบคั้นกดดัน จากพ่อแม่ หรือผู้ปกครอง ซ่ึงมีสภาพจิตใจหรืออารมณ์ไม่เป็นปกติหรือถูกล่วงละเมิดทางเพศใน ลักษณะต่าง ๆ จากบุคคลที่อยู่ใกล้ตัว 9) นักเรียนยากจน (มากเป็นพิเศษ) หมายถึง เด็กซึ่งเป็นบุตรหลานของคนยากจนท่ีมีราย ได้ไม่เพียงพอต่อการเลี้ยงชีพ (ครอบครัวมีรายได้เฉลี่ยไม่เกิน 40,000 บาทต่อปี) ครอบครัวอยู่ รวมกนั หลายคน ขาดแคลนปจั จยั พน้ื ฐาน มชี วี ติ อยอู่ ยา่ งยากล�ำบากรวมถงึ เดก็ ในแหลง่ ชมุ ชนแออดั หรือบุตรของกรรมกรก่อสร้าง หรือเด็กจากครอบครัวที่อยู่ในถ่ินทุรกันดาร ขาดโอกาสท่ีจะได้รับ การศึกษาและบริการอื่น ๆ จ www.lpg3.go.th 28/9/2559 22:55:01 2559 .indd 10

10) นักเรียนท่ีมีปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติด หมายถึง เด็กที่ติดสารระเหยหรือยาเสพติดให้ ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 โทษ หรือเด็กกลุ่มเส่ียงการถูกชักน�ำให้ประพฤติตนไม่เหมาะสม เก่ียวข้องผูกพันอยู่กับกลุ่มมิจฉาชีพ ผู้มีอิทธิพลหรือบุคคลที่แสวงหาผลประโยชน์จากการประกอบอาชีพผิดกฎหมาย เป็นเด็กด้อยโอกาส ท่ีมีแนวโน้มสูงต่อการก่อปัญหาในสังคม 11) อ่ืน ๆ หมายถึง นักเรียนในโรงเรียนท่ีด้อยโอกาสทางการศึกษานอกเหนือจาก 10 ประการ ข้างต้น นักเรียนท่ีออกกลางคัน หมายถึง นักเรียนที่ออกจากระบบโรงเรียนระหว่างปี โดยไม่สามารถ กลับเข้ามาเรียนได้ ซ่ึงเกิดจากสาเหตุดังน้ี 1) ฐานะยากจน 2) มีปัญหาครอบครัว 3) สมรสแล้ว 4) มีปัญหาในการปรับตัว 5) ต้องคดี/ถูกจับ 6) เจ็บป่วย/อุบัติเหตุ 7) อพยพตามผู้ปกครอง 8) หาเล้ียงครอบครัว 9) กรณีอ่ืน ๆ ข้าราชการครูตาม (จ.18) หมายถึง ข้าราชการครูท่ีก�ำหนดไว้ตาม จ.18 ของโรงเรียน ซึ่งอาจจะมากหรือน้อยกว่าจ�ำนวนข้าราชการครูที่สอนในโรงเรียนจริง เน่ืองจากมีข้าราชการครูบาง ส่วนไปช่วยราชการท่ีโรงเรียนอ่ืนหรือศึกษาต่อ หรือข้าราชการครูจากโรงเรียนอ่ืนมาช่วยราชการ ข้าราชการครูท่ีปฏิบัติงานจริงในสถานศึกษา หมายถึง ข้าราชการครูท่ีปฏิบัติงานสอน ในสถานศึกษานั้น ๆ จริง ซ่ึงอาจจะมากหรือน้อยกว่าจ�ำนวนข้าราชการครูตามกรอบอัตราก�ำลัง เน่ืองจากมีข้าราชการครูบางส่วนไปช่วยราชการที่โรงเรียนอื่นหรือลาศึกษาต่อ หรือข้าราชการครู จากโรงเรียนอื่นมาช่วยราชการ ครูผู้ช่วย หมายถึง ข้าราชการครูที่อยู่ในระหว่างการทดลองปฏิบัติราชการ ครู หมายถึง ข้าราชการครู คศ.1 และ ครู คศ.2 ที่ยังไม่ได้รับการประเมินวิทยฐานะ ครูช�ำนาญการ หมายถึง ข้าราชการครูที่ได้รับเงินเดือน คศ.2 และได้รับเงินวิทยฐานะ 3,500 บาท ครูช�ำนาญการพิเศษ หมายถึง ข้าราชการครูท่ีได้รับเงินเดือน คศ.3 และได้รับเงินวิทยฐานะ 5,600 บาท ครูเช่ียวชาญ หมายถึง ข้าราชการครูที่ได้รับเงินเดือน คศ.4 และได้รับเงินวิทยฐานะ 9,900 บาท ครูเชี่ยวชาญพิเศษ หมายถึง ข้าราชการครูท่ีได้รับเงินเดือน คศ.5 และได้รับเงินวิทยฐานะ 13,000 บาท 2559 .indd 11 ฉ 28/9/2559 22:55:01

ครูอัตราจ้างช่ัวคราว หมายถึง ครูที่จ้างช่ัวคราวด้วยงบประมาณในโครงการต่าง ๆ จากส่วนราชการ ท่ีจัดสรรให้ และจากงบประมาณอื่น ลูกจ้างประจ�ำ หมายถึง ลูกจ้างประจ�ำท่ีได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณของทางราชการ หมวดลูกจ้างประจ�ำ ลูกจ้างช่ัวคราว หมายถึง ลูกจ้างท่ีจ้างชั่วคราวด้วยเงินงบประมาณของทางราชการ และ จากงบประมาณอื่น พนักงานราชการ หมายถึง บุคคลซึ่งได้รับการจ้างตามสัญญาจ้าง โดยได้รับค่าตอบแทน จากงบประมาณของส่วนราชการ เพ่ือพนักงานของรัฐในการปฏิบัติงานให้กับส่วนราชการนั้น โปรแกรมทใ่ี ชใ้ นการบรหิ ารการศกึ ษาในสว่ นของขอ้ มลู โรงเรยี น นกั เรยี น และสงิ่ กอ่ สรา้ ง โปรแกรมบริหารสถานศึกษา เป็นโปรแกรมที่ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานพัฒนาขึ้นมา เพื่อใช้ในการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานการศึกษา ข้อมูลสถานศึกษา ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล และ ข้อมูลบุคลากรมีดังนี้ • ระบบสารสนเทศเพอื่ การบรหิ ารการศกึ ษา (Education Management Information System : EMIS) • ระบบจัดเก็บข้อมูลสิ่งก่อสร้าง (B-OBEC) • ระบบจัดเก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคล (Data Management Center : DMC) วิธีด�ำเนินการจัดท�ำสารสนเทศทางการศึกษาและแหล่งข้อมูล ขอบเขตของข้อมูล การจัดเก็บ และรวบรวมข้อมูลด้านการศึกษา และข้อมูลท่ัวไป ในเอกสารข้อมูลสารสนเทศ ด้านการศึกษา ได้รวบรวมข้อมูลเฉพาะอ�ำเภอท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 ได้แก่ อ�ำเภอแจ้ห่ม อ�ำเภอวังเหนือ อ�ำเภอเมืองปาน ข้อมูลโรงเรียน ได้จากสถานศึกษาในสังกัดจ�ำนวนทั้งสิ้น 94 แห่ง ข้อมูลด้านประชากร การปกครอง ใช้ข้อมูล ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2558 ข้อมูลด้านการศึกษา ใช้ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2559 ข้อมูลด้านส่ิงก่อสร้างของโรงเรียน ใช้ข้อมูล ณ วันท่ี 10 มิถุนายน 2559 แหล่งที่มาของข้อมูล 1. ข้อมูลเก่ียวกับประชากร การปกครอง ได้จากสถิติ กระทรวงมหาดไทย โดยใช้ข้อมูล ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2558 2. ขอ้ มลู เกย่ี วกบั นกั เรยี น ไดจ้ าก โปรแกรม Data Management Center ( DMC ) ของ สพฐ. 3. ข้อมูลส่ิงก่อสร้างของโรงเรียน ได้จากโปรแกรม B-OBEC ของ สพฐ. ช www.lpg3.go.th 28/9/2559 22:55:01 2559 .indd 12

สารบัญ หน้า เรื่อง คำ� นำ� ก บทสรปุ ผู้บรหิ าร ข คำ� นยิ าม ฅ สว่ นที่ 1 โครงสรา้ งการบรหิ ารงานสานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำ� ปาง เขต 3 1 สว่ นท่ี 2 สภาพท่ัวไปของเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาล�ำปาง เขต 3 6 1) ลักษณะสภาพภูมปิ ระเทศ 6 2) ลกั ษณะภูมิอากาศ 7 3) ลกั ษณะการปกครอง 7 4) สถานท่สี ำ� คัญและแหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว 7 สว่ นท่ี 3 สภาพการจดั การศกึ ษาของเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 12 1) แผนที่แสดงท่ตี งั้ จังหวัดลำ� ปาง 12 2) แผนทแี่ สดงที่ตงั้ อำ� เภอในเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาล�ำปาง เขต 3 13 3) แผนทแ่ี สดงทต่ี งั้ โรงเรยี นในสงั กดั สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา 14 15 ล�ำปาง เขต 3 - 4) โครงสรา้ งและขอ้ มลู การจดั การศกึ ษาสำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา 44 ล�ำปาง เขต 3 5) วิสัยทศั น์ พันธกิจ เปา้ ประสงค์ ****(อยูใ่ นบทสรปุ ผูบ้ รหิ าร ?)**** สว่ นที่ 4 สรุปผล ภาคผนวก 50 ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 - รายช่ือกลุ่มโรงเรียนในสังกดั สำ� นกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษา 50 53 ลำ� ปาง เขต 3 77 - ขอ้ มูลสถานศกึ ษาโรงเรยี นท่เี ข้ารว่ มกิจกรรม/โครงการต่างๆ - รายละเอยี ดแสดงระยะทางและพิกัดของโรงเรยี นในสังกดั สำ� นักงานเขตพน้ื ที่ การศกึ ษาประถมศึกษาลำ� ปาง เขต 3 ถึง ส�ำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา ประถมศกึ ษาลำ� ปาง เขต 3 2559 .indd 13 28/9/2559 22:55:01

สารบญั ตาราง หน้า เร่อื ง 12 15 ส่วนที่ 3 สภาพการจดั การศึกษาของเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาลำ� ปาง เขต 3 16 ตารางท่ี 1 จ�ำนวนโรงเรียนจ�ำแนกตามประเภท ปีการศึกษา 2559 17 ตารางท่ี 2 จ�ำนวนโรงเรยี นจ�ำแนกตามขนาดของนักเรยี น ปกี ารศึกษา 2559 18 ตารางที่ 3 ข้อมูลจำ� นวนโรงเรยี นจ�ำแนกตามประเภทและโครงการ ปีการศกึ ษา 2559 19 ตารางที่ 4 จ�ำนวนนกั เรียน จ�ำแนกรายชั้น เพศ หอ้ งเรียน และนกั เรียนต่อห้องเรยี น 20 ปกี ารศกึ ษา 2559 21 ตารางที่ 5 จ�ำนวนนกั เรียน หอ้ งเรียน และนักเรียนตอ่ หอ้ งเรียน และระดบั การศกึ ษา 23 ปีการศึกษา 2559 24 ตารางท่ี 6 จำ� นวนโรงเรียน นกั เรียน ครู หอ้ งเรียน ครตู ่อนักเรยี น และนักเรียน 25 ตอ่ ห้องเรยี นจ�ำแนกตามขนาดของโรงเรยี น ปีการศึกษา 2559 27 ตารางที่ 7 จำ� นวนนักเรยี นต่อประชากรวยั เรยี น จ�ำแนกรายชนั้ ปกี ารศกึ ษา 2559 28 ตารางท่ี 8 จ�ำนวนนกั เรยี นพิการเรยี นร่วม จ�ำแนกตามระดบั การศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2559 29 ตารางที่ 9 จ�ำนวนนกั เรียนดอ้ ยโอกาส จ�ำแนกตามระดับการศึกษา ปีการศึกษา 2559 30 ตารางที่ 10 จำ� นวนนกั เรยี นขาดแคลนเครื่องเขยี น แบบเรียนและอาหารกลางวัน 31 ปกี ารศกึ ษา 2559 32 ตารางที่ 11 จำ� นวนนกั เรยี นในเขตบรกิ ารทอี่ ยหู่ า่ งไกลโรงเรยี นเกนิ 3 กม.จำ� แนกตามวธิ กี าร 34 เดินทางมาเรยี น ปกี ารศึกษา 2559 36 ตารางที่ 12 จำ� นวนนกั เรยี นออกกลางคนั จำ� แนกตามสาเหตแุ ละรายชน้ั ปกี ารศกึ ษา 2558 37 ตารางที่ 13 จ�ำนวนนักเรียนพกั นอน จ�ำแนกตามระดบั การศึกษา ปกี ารศึกษา 2559 38 ตารางท่ี 14 น�้ำหนัก สว่ นสูงนกั เรยี นเทียบเกณฑม์ าตรฐาน จ�ำแนกตามระดบั การศึกษา 39 ปกี ารศกึ ษา 2559 40 ตารางที่ 15 จำ� นวนนกั เรยี นทจ่ี บการศกึ ษาชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษา ปีที่ 3 42 ปกี ารศึกษา 2558 ตารางที่ 16 สรปุ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2558 ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ระดบั สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำ� ปาง เขต 3 ตารางที่ 17 สรปุ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2558 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ระดบั สำ� นกั งานเขตพนื้ ที่ การศกึ ษาประถมศกึ ษาลำ� ปาง เขต 3 ตารางท่ี 18 จ�ำนวนบคุ ลากรในส�ำนักงานเขต จำ� แนกตามประเภท ปีการศกึ ษา 2559 ตารางที่ 19 จำ� นวนบคุ ลากรของสถานศกึ ษาในสงั กดั จำ� แนกตามประเภท ปกี ารศกึ ษา 2559 ตารางท่ี 20 จ�ำนวนงบประมาณโครงการตามแผนปฏิบตั ิการประจำ� ปีงบประมาณ 2559 ตามแผนปฏิบตั กิ าร ตารางที่ 21 เปรียบเทียบข้อมูลพนื้ ฐานการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2555 – 2559 ตารางท่ี 22 โรงเรยี นจำ� แนกขนาดตามจ�ำนวนนกั เรียน ปีการศึกษา 2555 - 2559 ตารางท่ี 23 จ�ำนวนนกั เรยี นจ�ำแนกรายชั้น ปกี ารศกึ ษา 2555 – 2559 N www.lpg3.go.th 2559 .indd 14 28/9/2559 22:55:03

สารบญั แผนผัง หน้า เรอื่ ง แผนผังโครงสรา้ งการบริหารงานสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาลำ� ปาง เขต 3 4 สารบญั แผนภมู ิ หน้า เรอื่ ง แผนภูมิท่ี 1 แสดงการเปรียบเทียบจ�ำนวนโรงเรียนจ�ำแนกตามขนาดของนักเรียน 16 ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 ปีการศึกษา 2559 17 แผนภูมิท่ี 2 แสดงการเปรียบเทียบจ�ำนวนโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการจ�ำแนกตาม 19 ประเภทตามโครงการ 20 แผนภูมิที่ 3 แสดงการเปรียบเทียบจ�ำนวนนักเรียนจ�ำแนกตามระดับการศึกษา 22 และเพศ ปีการศึกษา 2559 23 แผนภูมิที่ 4 แสดงการเปรียบเทียบข้อมูลนักเรียน ห้องเรียน จ�ำแนกตามระดับช้ัน 25 ปีการศึกษา 2559 26 แผนภูมิท่ี 5 แสดงการเปรียบเทียบจ�ำนวนนักเรียนต่อประชากรวัยเรียน ปีการศึกษา 2559 28 แผนภูมิท่ี 6 แสดงการเปรียบเทียบจ�ำนวนร้อยละของนักเรียนพิการเรียนร่วม 30 จ�ำแนกตามประเภทความพิการ ปีการศึกษา 2559 31 แผนภูมิที่ 7 แสดงการเปรียบเทียบจ�ำนวนนักเรียนด้อยโอกาส จ�ำแนกตามประเภท 32 ความด้อยโอกาส ปีการศึกษา 2559 33 แผนภูมิท่ี 8 แสดงการเปรียบเทียบจ�ำนวนนักเรียนขาดแคลน จ�ำแนกตามรายการ ขาดแคลน ปีการศึกษา 2559 33 แผนภูมิที่ 9 แสดงการเปรียบเทียบจ�ำนวนนักเรียนในเขตบริการที่อยู่ห่างไกลโรงเรียนเกิน 3 กม. จ�ำแนกตามวิธีการเดินทางมาเรียน และระดับชั้น ในปีการศึกษา 2559 แผนภูมิท่ี 10 แสดงการเปรยี บเทยี บจำ� นวนนกั เรยี นพกั นอน จำ� แนกตาม ระดบั การศกึ ษา ปี 2559 แผนภูมิที่ 11 แสดงการเปรยี บเทยี บนำ�้ หนกั สว่ นสงู นกั เรยี นเทยี บเกณฑม์ าตรฐาน ปี 2559 แผนภูมิที่ 12 แสดงการเปรียบเทียบสถานะนักเรียนที่เรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2558 จ�ำแนกออกเป็นเปอร์เซ็นต์ แผนภูมิท่ี 13 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายวิชาผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2558 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 แผนภูมิที่ 14 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายวิชาผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2558 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ระดบั สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา ประถมศกึ ษาลำ� ปาง เขต 3 กบั ระดบั สงั กดั (สพฐ.) 2559 .indd 15 O 28/9/2559 22:55:05

สารบญั แผนภมู ิ หน้า เรื่อง 33 34 แผนภูมิท่ี 15 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายวิชาผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2558 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 34 ระดบั สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำ� ปาง เขต 3 กบั ระดบั ประเทศ 35 แผนภูมิท่ี 16 แสดงการเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลยี่ รายวชิ าผลการทดสอบทางการศกึ ษา 35 ระดบั ชาตขิ นั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2558 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 35 36 ระดบั สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำ� ปาง เขต 3 ระดบั สงั กดั 36 (สพฐ.) และระดบั ประเทศ 37 แผนภูมิท่ี 17 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายวิชาผลการทดสอบทางการศึกษา 37 ระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ระดับส�ำนักงานเขต 38 พน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำ� ปาง เขต 3 ปกี ารศกึ ษา 2557 กบั ปกี ารศกึ ษา 2558 41 แผนภูมิท่ี 18 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียรายวิชาผลการทดสอบทางการศึกษา 43 ระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน(O-NET) ปีการศึกษา 2558 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 43 ระดับส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 แผนภูมิที่ 19 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียรายวิชาผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ปีการศึกษา 2558 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ระดบั สำ� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำ� ปาง เขต 3 กบั ระดบั สงั กดั (สพฐ.) แผนภูมิที่ 20 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียรายวิชาผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติข้ันพื้นฐาน(O-NET) ปีการศึกษา 2558 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดบั สำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำ� ปาง เขต 3 กบั ระดบั ประเทศ แผนภูมิที่ 21 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียรายวิชาผลการทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2558 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ระดบั สำ� นกั งาน เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำ� ปาง เขต 3 ระดบั สงั กดั (สพฐ.)และระดบั ประเทศ แผนภูมิท่ี 22 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียรายวิชาผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษาลำ� ปาง เขต 3 ปกี ารศกึ ษา 2557 กบั ปกี ารศกึ ษา 2558 แผนภูมิที่ 23 แสดงการเปรยี บเทยี บจำ� นวนบคุ ลากร จำ� แนกตามประเภท ปกี ารศกึ ษา 2559 แผนภูมิท่ี 24 แสดงการเปรียบเทียบบุคลากรของสถานศึกษาในสังกัด จ�ำแนกตามประเภท ปีการศึกษา 2559 แผนภูมิท่ี 25 แสดงการเปรียบเทียบจ�ำนวนงบประมาณโครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจ�ำปีงบประมาณ 2559 จ�ำแนกตามกลยุทธ์ แผนภูมิท่ี 26 แสดงการเปรียบเทียบข้อมูลโรงเรียนจ�ำแนกตามขนาด ปีการศึกษา 2555 – 2559 แผนภูมิท่ี 27 แสดงการเปรยี บเทยี บจำ� นวนนกั เรยี นทง้ั หมด ปกี ารศกึ ษา 2555 – 2559 แผนภูมิที่ 28 แสดงการเปรียบเทียบจ�ำนวนนักเรียน จ�ำแนกตามระดับการศึกษา ปีการศึกษา 2555 – 2559 P www.lpg3.go.th 2559 .indd 16 28/9/2559 22:55:05

สว่ นท่ี 1 โครงสร้าง การบริหารงาน สำ� นกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา ประถมศกึ ษาล�ำปาง เขต 3 ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 เป็นหน่วยงานบริหารราชการ ส่วนกลาง สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าท่ีด�ำเนิน การให้เป็นไปตามอ�ำนาจหน้าท่ีหลักในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 3 อ�ำเภอ ได้แก่ อ�ำเภอแจ้ห่ม อ�ำเภอวังเหนือ และ อ�ำเภอเมืองปาน การแบ่งโครงสร้างภายในแบ่งเป็นกลุ่ม 7 กลุ่ม และ 1 หน่วย คือ 1. กลุ่มอ�ำนวยการ 2. กลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรัพย์ 3. กลุ่มบริหารงานบุคคล 4. กลุ่มนโยบายและแผน 5. กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา 6. กลุ่มส่งเสริมสถานศึกษาเอกชน 7. กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา 8. หน่วยตรวจสอบภายใน บุคลากร ของส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาล�ำปาง เขต 3 ณ ปัจจุบัน * รวม 73 คนดังน้ี 1. ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 จ�ำนวน 1 คน 2. รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 จ�ำนวน 4 คน 3. บุคลากรกลุ่มงานต่าง ๆ ดังนี้ 3.1 กลุ่มอ�ำนวยการ จ�ำนวน 16 คน 3.2 กลุ่มบริหารงานบุคคล จ�ำนวน 12 คน 3.3 กลุ่มนโยบายและแผน จ�ำนวน 7 คน 3.4 กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา จ�ำนวน 6 คน 3.5 กลุ่มส่งเสริมสถานศึกษาเอกชน จ�ำนวน 2 คน ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 3.6 กลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรัพย์ จ�ำนวน 10 คน 3.7 กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลฯ จ�ำนวน 13 คน 3.8 หน่วยตรวจสอบภายใน จ�ำนวน 2 คน เพ่ือให้การบริหารจัดการศึกษาบังเกิดผลอย่างมีประสิทธิภาพ ในระดับสถานศึกษา และ สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการศึกษาได้ด้วยตนเอง โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management) ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 ได้จัดต้ังกลุ่มโรงเรียน จ�ำนวน 17 กลุ่มเครือข่าย ประกอบไปด้วย อ�ำเภอแจ้ห่ม 7 กลุ่มเครือข่าย อ�ำเภอวังเหนือ 5 กลุ่มเครือข่าย อ�ำเภอเมืองปาน 5 กลุ่มเครือข่าย 1 2559 .indd 1 28/9/2559 22:55:05

จ�ำนวนบุคลากรสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 ประเภท ท่ี กลุ่ม ผู้บรหิ าร ขา้ ราชการ ลกู จา้ ง ลูกจา้ ง รวมท้ังส้ิน ประจำ� ชวั่ คราว 1 ผอ./รอง.ผอ. 5 - -- 5 2 กลุ่มอ�ำนวยการ - 4 2 10 16 3 กลุม่ บริหารงานบคุ คล - 9 - 3 12 4 กลุ่มนโยบายและแผน - 6 -1 7 5 กลมุ่ สง่ เสริมการจดั การศึกษา - 5 -1 6 6 กลุ่มนเิ ทศ ติดตาม และ - 12 - 1 13 ประเมนิ ผล 7 กลมุ่ บรหิ ารการเงิน สนิ ทรัพย์ - 6 - 4 10 8 กลุ่มสง่ เสริมสถานศกึ ษาเอกชน - 2 -- 2 9 หนว่ ยตรวจสอบภายใน - 1 -1 2 รวมทัง้ ส้ิน 5 45 2 21 73 แผนภูมิ แสดงจ�ำนวนบุคลากรของส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต3 บุคลากรจ�ำแนกตามกลุ่มงาน 2 www.lpg3.go.th 28/9/2559 22:55:06 2559 .indd 2

ผู้บริหารส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 นายบรรพ์ ใสแจ่ม ผกาู้อร�ำศนึกวษยากปารระสถ�ำมนศักึกงษานาลเข�ำตปาพงื้นทเขี่ ต 3 นายอภิรักษ์ เอ้ือธรรม กราอรงศผึกู้อษ�ำานปรวะยถกมาศรสึก�ษำนาัลกง�ำาปนางเขตเขพต้ืนท3่ี รนอายงธผนู้อา�ำวนัฒวนยก์ คาร�ำสร�ำานชักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 กราอรงศผึกู้อษ�ำานปรวะยถกมนาศารยสึกส�ษำนมาัลกบง�ูำราปณนา์งเสขตเันขพชตื้นมท3ภู่ี ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 2559 .indd 3 นายชนินทร์ บุญมี กรอารงศผึกู้อษ�ำานปวรยะถกมารศสึก�ำษนาักลง�ำาปนาเงขตเพขตื้นท3่ี 3 28/9/2559 22:55:09

4 www.lpg3.go.th 28/9/2559 22:55:10 2559 .indd 4

2559 .indd 5 5 สรปุ สารสนเทศทางการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2559 28/9/2559 22:55:12

สว่ นที่ 2 สภาพทวั่ ไปของสกำ� านรักศงึกาษนาเขปตระพถนื้มทศ่ี ึกษาลำ� ปางเขต 3 ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ล�ำปางเขต 3 เป็นส่วนราชการสังกัดส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวง ศึกษาธิการ ท�ำหน้าที่ส่งเสริม ก�ำกับ ติดตามการ ด�ำเนินงานของสถานศึกษาในเขตอ�ำเภอแจ้ห่ม อ�ำเภอวังเหนือ และอ�ำเภอเมืองปาน ต้ังอยู่เลขท่ี 359 ต�ำบลวิเชตนคร อ�ำเภอแจ้ห่ม จังหวัดล�ำปาง อยหู่ า่ งจากจงั หวดั ลำ� ปางขนึ้ ไปทางทศิ เหนอื ตามเสน้ ทางถนนสายล�ำปาง – แจ้ห่ม ประมาณ 54 กิโลเมตร อาคารที่ท�ำการมี 2 หลัง เป็นอาคารเรียนแบบ 004 สร้าง พ.ศ. 2516 จ�ำนวน 2 ชั้น 12 ห้อง 1 หลัง และอาคารแบบส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถม ศึกษาล�ำปาง เขต 3 อีก 1 หลัง อาณาเขตติดต่อของส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 ส�ำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลำ� ปาง เขต 3 ตง้ั อย่ทู ่ตี �ำบลวิเชตนคร อ�ำเภอแจห้ ่ม มีอาณาเขตติดต่อกับอ�ำเภอต่าง ๆ ในจังหวัดล�ำปาง ดังนี้ ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับอ�ำเภอวังเหนือ ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกับอ�ำเภองาว ทิศใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับอ�ำเภอเมืองล�ำปาง ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกับอ�ำเภอ เมืองปาน 6 www.lpg3.go.th 2559 .indd 6 28/9/2559 22:55:14

สภาพแวดล้อมทั่วไป สภาพแวดล้อมโดยท่ัวไปของส�ำนักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 ประกอบด้วยโรงเรียนในเขตอ�ำเภอแจ้ห่ม อ�ำเภอวังเหนือ และอ�ำเภอเมืองปาน จ�ำนวน ทั้งสิ้น 94 โรงเรียน มีพ้ืนท่ีทั้งหมด 3,248.47 ตารางกิโลเมตร สภาพของพ้ืนที่ส่วนใหญ่เป็น ภูเขามีป่าไม้ล้อมรอบพื้นที่ป่าไม้ร้อยละ 61 ของพื้นท่ีทั้งหมด มีที่ราบลุ่มบริเวณท่ีราบใกล้ แม่น้�ำเป็นบางส่วน มีแม่น�้ำสายส�ำคัญไหลผ่าน คอื แมน่ ำ�้ วงั แมน่ ำ�้ สอย แมน่ ำ้� มอญ แมน่ ำ้� ปาน และแม่น�้ำตุ๋ย ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพเกษตรกรรม มีประชากรจ�ำนวนทั้งส้ิน 118,788 คน เป็นชาย 59,696 คน และหญิง 59,092 คน เขตพื้นที่บริการ ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 มีโรงเรียนในเขตพื้นที่บริการ จ�ำนวนท้ังสิ้น 94 โรงเรียน ดังนี้ • อ�ำเภอแจ้ห่ม 35 โรงเรียน • อ�ำเภอวังเหนือ 26 โรงเรียน • อ�ำเภอเมืองปาน 33 โรงเรียน สถานท่ีส�ำคัญและแหล่งท่องเที่ยวในเขตบริการ ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 1) วัดเฉลิมพระเกียรติพระจอมเกล้าราชานุสรณ์ อ�ำเภอแจ้ห่ม “วัดเฉลิมพระเกียรติพระจอมเกล้า ราชานุสรณ์” หรือ “วัดพระบาทปู่ผาแดง” หรือท่ีชาวบ้านเรียกว่า “ดอยปู่ยักษ์” ต า ม ช่ื อ ส ถ า น ที่ ตั้ ง ข อ ง วั ด ท่ี ต้ั ง อ ยู ่ ในหมู่บ้านทุ่งทอง หมู่ท่ี 7 อ�ำเภอ แจ้ห่ม จังหวัดล�ำปาง ปัจจุบันมีพระครู สังวรศีลคุณเป็นเจ้าอาวาส เรียกได้ว่า เป็นอีกหน่ึงแหล่งท่องเที่ยว Unseen ที่ มี ช่ื อ เ สี ย ง ม า ก เ ป ็ น ส ว ร ร ค ์ บ น ดิ น ทน่ี กั ทอ่ งเทยี่ วทกุ คนตา่ งยกยอ่ งใหเ้ ปน็ 1 ใน Unseen Thailand เนื่องจากยอดเขาวัดพระบาทปู่ผาแดงมีความสวยงามแบบอลังการในมุมสูง หรือ Bird Eye View ส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่ช่ืนชอบการถ่ายภาพมักจะเก็บภาพวัดจากมุมสูง เช่น จากเฮลิคอปเตอร์, ใช้โดรนในการถ่ายภาพ-วิดีโอ รวมท้ังสามารถเก็บภาพความสวยงาม ระหว่างยอดเขาได้อีกด้วย 7 2559 .indd 7 28/9/2559 22:55:16

บนจุดสูงสุดของวัดพระบาทปู่ผาแดงคือจุดชมวิวท่ีสวยที่สุด สามารถเก็บภาพความงามได้ 360 องศา ซง่ึ เบอื้ งลา่ งสามารถมองเหน็ ตวั อำ� เภอแจห้ ม่ และแมน่ ำ�้ สายเลก็ ขนานไปกบั ทอ้ งนาสเี ขยี ว ได้อย่างสวยงาม รวมทั้งยังมีแหล่งท่องเท่ียวที่น่าสนใจหลายแห่ง เช่น ถ�้ำผาสวรรค์ ปล่องลมมหัศจรรย์, มีลายหินงามเตาหินปูนแบบโบราณ และบริเวณเดียวกันนั้นจะมีเมือง โบราณท่ีชื่อว่าเมืองวิเชตนครอยู่บริเวณใกล้เคียง การเดินทางข้ึนไปวัดมีเส้นทางเดียวเท่าน้ัน คือการเดินเท้าจากบริเวณจุดพักรถ ดอยผาหมอก (ชั้นสองของวัด) ขึ้นไปถึงยอดมีระยะทาง 1 กิโลเมตร ซ่ึงลักษณะเส้นทางมีท้ัง ทางเดินธรรมดา ลัดเลาะตามป่า สลับกับบันไดเหล็กท่ีมีความแข็งแรงในบริเวณโขดหินที่มีความชัน ระหว่างทางจะได้เจอกับความสวยงามของธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์มากมาย จนไปถึงชั้นสามที่ เป็นที่ต้ังของเจดีย์ ส�ำหรับการเดินทางมาท่ีวัดพระบาทปู่ผาแดงน้ันนักท่องเที่ยวสามารถน�ำรถเข้ามาจอดได้ ใกล้ที่สุดเพียงชั้น 1 ซึ่งเป็นชั้นท่ีประดิษฐานเจดีย์ทองของวัด และต้องใช้รถท่ีมีระบบขับเคลื่อน 4 ล้อ และคนขับรถท่ีมีความช�ำนาญในเส้นทาง พาขึ้นไปบริเวณช้ันสองของวัดจากน้ันต้องเดิน ทางต่อไปอีก1 กิโลเมตร (ที่มา : เว็บไซต์ http://travel.kapook.com/view121700.html) 2) วัดอักโขชัยคีรี อ�ำเภอแจ้ห่ม วัดอักโขชัยคีรี ต้ังอยู่ท่ีต�ำบลวิเชตนคร บ น เ นิ น เ ข า ริ ม ถ น น ส า ย ล� ำ ป า ง - แ จ ้ ห ่ ม เส้นทางหลวงหมายเลข 1035 บริเวณกิโลเมตร ท่ี 50 - 51 ด้านซ้ายมือ มีทางข้ึน 2 ทางคือ ทางเดินขึ้นบันไดด้านหน้าหรือขับรถขึ้นทาง ถนนด้านหลัง โบสถ์และเจดีย์เป็นแบบล้าน นาอยู่ใกล้เคียงกัน ท่ีวัดน้ีมีปรากฏการณ์เงา 8 www.lpg3.go.th 2559 .indd 8 28/9/2559 22:55:16

สะท้อนพระเจดีย์เป็นภาพสีเช่นเดียวกับวัดพระธาตุจอมปิง เงาพระเจดีย์จะปรากฏอยู่ตรงที่เดิม ไม่เคล่ือนย้ายตลอดทั้งวันตราบเท่าที่ยังมีแสงสว่าง น อ ก จ า ก น้ี ภ า ย ใ น โ บ ส ถ ์ ยั ง เ ป ็ น ท่ี ป ร ะ ดิ ษ ฐ า น พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ยื น อ ง ค ์ ใ ห ญ ่ เ รี ย ก ว ่ า “พระศากยะมุณีคีรีอักโข” มีความสูง 5 วา 2 ศอก เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่ เป็นท่ีนับถือ ของชาวแจ้ห่มมาก โบสถ์เปิดเวลา 07.00 - 17.00 น. หากใครสนใจงานศิลปะท้องถิ่น มีสัตตภัณฑ์ไม้ไผ่พุทธศตวรรษท่ี 25 ส�ำหรับจุดเทียนบูชาพระประธานและธรรมมาสน์ไม้ไผ่ ศิลปะล้านนา ซึ่งต้ังอยู่ด้านหลังโบสถ์ 3) อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน อ�ำเภอเมืองปาน ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน อยู่ในอ�ำเภอเมืองปาน เป็นแหล่งท่องเท่ียวเพ่ือสุขภาพที่ได้ รับความนิยมสูงและเป็นแหล่งท่ีด�ำเนินงานตามแนวพระราชด�ำรัสในการใช้พลังงานน�้ำธรรมชาติ มาประยุกต์การด�ำเนินงานอย่างสอดคล้องเป็นประโยชน์ อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน มีพ้ืนท่ีครอบคลุมอ�ำเภอเมืองปาน อ�ำเภอแจ้ห่ม และอ�ำเภอ เมืองล�ำปาง มีสภาพป่าอันอุดมสมบูรณ์และเป็นแหล่งต้นน้�ำล�ำธาร มีเนื้อท่ีท้ังหมดประมาณ 592 ตารางกิโลเมตร ได้รับการประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติเม่ือวันท่ี 28 กรกฎาคม พ.ศ.2531 เป็นแนวแบ่งเขตระหว่างล�ำปางและเชียงใหม่ มีเอกลักษณ์ทางธรรมชาติท่ีสวยงาม โดยเฉพาะ อย่างยิ่งมีน้�ำตกและบ่อน้�ำร้อนอยู่ในบริเวณเดียวกัน ซ่ึงถือเป็นความมหัศจรรย์อย่างหนึ่ง ฤดูท่ีเหมาะส�ำหรับการท่องเที่ยวและมีอากาศเย็นสบาย คือ เดือนพฤศจิกายน -กุมภาพันธ์ (ท่ีมา : เว็บไซต์ kapook.com) 9 2559 .indd 9 28/9/2559 22:55:17

4) ดอยหนอก อ�ำเภอวังเหนือ ดอยหนอก ต้ังอยู่ต�ำบลวังทอง อ�ำเภอ วังเหนือ ถือเป็นมรดกทางธรรมชาติร่วมกันระหว่าง จังหวัดล�ำปางและจังหวัดพะเยา ภูเขาท่ีสูงใหญ่ และมีแนวทอดยาวกั้นระหว่าง 3 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย พะเยา และล�ำปาง มีชื่อว่าภูเขาผีปันน้�ำ โดยส่วนหนึ่งของภูเขานี้ ซึ่งมีช่ือว่าดอยหนอก ถือเป็นดอยสูงสุดบนสันดอยหลวง หากท่านท่ีเดิน ทางสายพะเยา-อ�ำเภอวังเหนือเป็นประจ�ำก็จะคุ้นเคยกับดอยนี้เป็นอย่างดี เพราะมีลักษณะนูนขึ้นมา คล้ายโหนกวัว มองเห็นได้ชัดเจนแต่ไกล บนยอดดอยหนอกจะพบกับพระธาตุเพื่อสักการะ เพื่อความเป็นสิริมงคล เม่ือข้ึนถึงยอดดอยสามารถดูทิวทัศน์ได้ถึง 360 องศา ไม่ว่าจะมองมา ทิศตะวันตก ชมพระอาทิตย์ตกดินพร้อมกับชมอ�ำเภอวังเหนือ อ�ำเภอเล็ก ๆ ท่ีอยู่ใต้ภูเขาแห่ง น้ี หรือจะมองไป ทางทิศตะวันออกดูพระอาทิตย์ขึ้น พร้อมกับดูบรรยากาศ ทางฝั่งพะเยาดูตัว เมืองพะเยา และกว๊านพะเยา สามารถดูได้ถึง 2 จังหวัดในครั้งเดียวกัน ดอยหนอกมีลักษณะคล้ายหนอกวัวขนาดใหญ่ ดอยหนอกวันนี้ยังคงอุดมสมบูรณ์ ไปด้วยแมกไม้นานาพันธุ์จุดเร่ิมต้นที่ใกล้ที่สุดที่ขึ้นไปเท่ียวชมดอยหนอกคือข้ึนทางบ้านปงถ�้ำ หมู่ที่ 3 ต�ำบลวังทอง อ�ำเภอวังเหนือ จังหวัดล�ำปาง ระยะทางประมาณ 6 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 3 ชั่วโมง นักท่องเท่ียวต้องค้างคืน ทัศนียภาพบนดอยหนอกสวยงาม มาก สามารถมองเห็นกว๊านพะเยาทางด้านทิศตะวันออก และทัศนียภาพของอ�ำเภอวังเหนือ 10 www.lpg3.go.th 2559 .indd 10 28/9/2559 22:55:17

และอ�ำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ก่อนข้ึนดอยหนอกนักท่องเที่ยวจะได้แวะสักการะพระพุทธรูป แกะสลักหินหน้าผาสูงในหมู่บ้านปงถ้�ำ-ปงทอง และถ�้ำน้อยใหญ่อีกประมาณ 5 ถ�้ำ ตลอดสอง ข้างทางจะได้สัมผัสน้�ำตกที่สวยงามอีกด้วย ช่วงท่ีน่าไปสัมผัสบรรยากาศบนดอยหนอกมาก ท่ีสุดคือช่วงฤดูหนาว เดือนพฤศจิกายน- มกราคม (ที่มา : เว็บไซต์ www.lampang.go.th/ travel/data/placetour/wangnua.htm) 5) น�้ำตกวังแก้ว อ�ำเภอวังเหนือ ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 น�้ำตกวังแก้ว เป็นแหล่งท่องเที่ยวหน่ึงในอุทยานแห่งชาติดอยหลวงซ่ึงได้รับการประกาศ ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ เม่ือวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2533 ครอบคลุมพ้ืนท่ีบางส่วนของ จังหวัดพะเยา จังหวัดเชียงรายและจังหวัดล�ำปาง รวมเนื้อท่ีประมาณ 731,250 ไร่ สภาพ ภูมิประเทศเป็นเขาสูงทอดตัวแนวเหนือ-ใต้ มีดอยหลวงเป็นยอดเขาที่สูงท่ีสุด ประกอบด้วย ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบชื้นและป่าเต็งรังปะปนกัน มีสัตว์ป่าและนกหลายชนิด ที่ท�ำการอุทยานฯ ตั้งอยู่ท่ีบริเวณน้�ำตกวังแก้ว น�้ำตกวังแก้ว เป็น น้�ำตกท่ีสวยงามท่ีสุดของจังหวัดล�ำปาง เกิดจากการทับถมของหินปูนท่ี ปนมากับน้�ำ มีชั้นน้�ำตกประมาณ 110 ช้ัน แต่เป็นช้ัน ใหญ่ประมาณ 9 ช้ัน น้�ำตกไหลอยู่ตลอด ปี ท่ีน�้ำตกวังแก้ว ยังมีเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติระยะส้ัน 1.4 กิโลเมตร นอกจากน้ีบริเวณ ใกล้เคียงยังมี น้�ำตกวังทอง ซึ่งมีลักษณะคล้าย น�้ำตกวังแก้ว การเดินทาง ใช้เส้นทาง สายล�ำปาง-แจ้ห่ม-วังเหนือ ระยะทางประมาณ 110 กิโลเมตร มีทางเข้าสู่น้�ำตกทั้งสองข้างท่ีว่าการอ�ำเภอวังเหนือ จากปากทางเข้าสู่น�้ำตกวังแก้ว เป็นระยะทาง ประมาณ 24 กิโลเมตร สภาพถนนเป็นทางลาดยาง ส่วนทางเข้าน�้ำตก วังทองจากปากทาง ใหญ่ ที่เข้ามาจะถึงก่อนน้�ำตกวังแก้วประมาณ 9 กิโลเมตร ท่ีมา https://th.wikipedia.org/ wiki/น�้ำตกวังแก้ว 11 2559 .indd 11 28/9/2559 22:55:18

สว่ นท่ี 3 สภาพการจดั การศกึ ษา เขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาล�ำปางเขต 3 ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 ซ่ึง ประกอบด้วยอ�ำเภอแจ้ห่ม อ�ำเภอ วงั เหนอื และอำ� เภอเมอื งปาน จดั การ การศึกษาข้ันพื้นฐาน ตั้งแต่ระดับ ก่อนประถมศึกษา จนถึงมัธยมศึกษา ตอนต้น โดยมีข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2559 ดังน้ี สถาน ศึกษาสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 94 โรงเรียน ครู 519 คน นักเรียน 7328 คน และไม่มีสังกัดส�ำนักบริหารงาน คณะกรรมการส่งเสริมเอกชน สำ� หรบั ขอ้ มลู สารสนเทศดา้ น การศึกษาที่นามาใช้ในการบริหาร จัดการด้านการศึกษา ของเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2559 มีดังต่อไปนี้ จังหวัดล�ำปาง แบ่งเขต พื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา เป็น 4 เขต ดังนี้ 1. ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 1 ประกอบด้วย อ�ำเภอเมือง อ�ำเภอห้างฉัตร อ�ำเภอแม่เมาะ อ�ำเภองาว 2. ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 2 ประกอบด้วย อ�ำเภอแม่ทะ อ�ำเภอเกาะคา อ�ำเภอเสริมงาม อ�ำเภอสบปราบ อ�ำเภอเถิน อ�ำเภอแม่พริก 3. ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 ประกอบด้วย อ�ำเภอแจ้ห่ม อ�ำเภอวังเหนือ อ�ำเภอเมืองปาน 4. ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา 35 ล�ำปาง ล�ำปาง-ล�ำพูน 12 www.lpg3.go.th 2559 .indd 12 28/9/2559 22:55:18

แผนที่แสดงที่ตั้งอ�ำเภอในเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 ประกอบด้วย 3 อ�ำเภอ 20 ต�ำบล อ�ำเภอแจ้ห่ม ประกอบด้วย 7 ต�ำบล 35 โรงเรียน อ�ำเภอวังเหนือ ประกอบด้วย 8 ต�ำบล 26 โรงเรียน อ�ำเภอเมืองปาน ประกอบด้วย 5 ต�ำบล 33 โรงเรียน โรงเรียนในสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 ประกอบด้วย ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 อ�ำเภอแจ้ห่ม โรงเรียนประถม จ�ำนวน 30 โรงเรียน โรงเรียนขยายโอกาส จ�ำนวน 5 โรงเรียน อ�ำเภอวังเหนือ โรงเรียนประถม จ�ำนวน 21 โรงเรียน โรงเรียนขยายโอกาส จ�ำนวน 5 โรงเรียน อ�ำเภอเมืองปาน โรงเรียนประถม จ�ำนวน 30 โรงเรียน โรงเรียนขยายโอกาส จ�ำนวน 3 โรงเรียน 2559 .indd 13 13 28/9/2559 22:55:19

สถานที่ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 14 www.lpg3.go.th 28/9/2559 22:55:22 2559 .indd 14

ตารางที่ 1 จ�ำนวนโรงเรียนจ�ำแนกตามประเภท ปีการศึกษา 2559 ประเภท จ�ำนวนโรงเรียน ร้อยละ หมายเหตุ จ�ำนวนโรงเรียนทั้งสนิ้ 94 จ�ำแนกตามประเภทท่เี ปิดสอน 81 86.2 79 โรงเรยี น 2 สาขา - ระดบั ประถมศกึ ษา 13 13.8 - โรงเรยี นขยายโอกาส จำ� แนกตามโรงเรยี นหลัก / สาขา 92 97.9 - โรงเรียนหลกั 2 2.1 - โรงเรียนสาขา จ�ำแนกตามขนาดจ�ำนวนนกั เรียน 79 84.0 - ขนาดที่ 1 (นกั เรียน 0 – 120 คน) 9 9.6 - ขนาดท่ี 2 (นกั เรียน 121 - 200 คน) 4 4.3 - ขนาดท่ี 3 (นกั เรียน 201 - 300 คน) 1 1.1 - ขนาดที่ 4 (นกั เรยี น 301– 499 คน) 1 1.1 - ขนาดท่ี 5 (นกั เรยี น 500 - 1499 คน) จากตารางท่ี 1 โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต3 ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 มีจ�ำนวน 94 โรงเรียน โดยแบ่งเป็นโรงเรียนหลัก 92 แห่ง และโรงเรียนสาขาอีก 2 แห่ง เป็นโรงเรียนที่เปิดสอนช้ันประถมศึกษา และโรงเรียนขยายโอกาส คิดเป็นร้อยละ 86.2 และ 13.8 ตามล�ำดับ โดยแบ่งเป็นโรงเรียนหลัก ร้อยละ 97.9 และโรงเรียนสาขา ร้อยละ 2.1 และ จ�ำแนกตามขนาดพบว่าเป็นโรงเรียนที่มีขนาดท่ี 1 (นักเรียน 1-120 คน) มีมากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 84.0 รองลงมาเป็นขนาดที่ 2 และ 3 ตามล�ำดับ (นักเรียน 121 – 200 คน และ นักเรียน 201 - 300 คน) โดยคิดเป็นร้อยละ 9.6 และร้อยละ 4.3 ส่วนขนาดท่ี 4 และ5 มีน้อยท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 1.1 2559 .indd 15 15 28/9/2559 22:55:24

ตารางที่ 2 จ�ำนวนโรงเรียนจ�ำแนกตามขนาดของนักเรียน ปีการศึกษา 2559 ที่ อ�ำเภอ 0-120 โรงเรียน 3 ขนาด รวม เลก็ 121-600 601-1500 1 อำ� เภอแจ้หม่ 30 กลาง ใหญ่ 35 2 อ�ำเภอวังเหนือ 18 26 3 อำ� เภอเมอื งปาน 31 50 33 79 80 94 รวมทงั้ ส้ิน 84.04 20 100 คดิ เป็นรอ้ ยละ 15 0 15.96 0 จากตารางท่ี 2 โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 มีจ�ำนวน 94 โรงเรียน โดยแบ่งเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ( 1 – 120 คน ) 79 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 84.04 และโรงเรียนขนาดกลาง ( 121-600 คน ) 15 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 15.96 ส่วนโรงเรียนขนาดใหญ่ ( 604 – 1500 คน ) ไม่มีเลย แผนภูมิที่ 1 เปรียบเทียบจ�ำนวนโรงเรียนจ�ำแนกตามขนาดของนักเรียน ปีการศึกษา 2559 จากแผนภูมิท่ี 1 พบว่าโรงเรียนขนาดเล็กมีจ�ำนวนมากที่สุดทั้ง 3 อ�ำเภอ ส่วนโรงเรียน ขนาดใหญ่น้ันไม่มีเลย 16 www.lpg3.go.th 28/9/2559 22:55:24 2559 .indd 16

ตารางที่ 3 ข้อมูลจ�ำนวนโรงเรียนจ�ำแนกตามประเภทและโครงการ ลำ� ดับ ประเภทโครงการ จำ� นวนโรงเรยี น ร้อยละของโรงเรียนท้ังหมด 1 โรงเรยี นประชารัฐ 5 5.32 2 โรงเรยี นดีตำ� บล 18 19.15 3 โรงเรียนในฝนั 6 6.38 4 โรงเรยี นวิถีพทุ ธ 6 6.38 5 โรงเรียนสุจริต 31 32.98 6 โรงเรยี นพืน้ ที่สงู 54 57.45 7 ลดเวลาเรียนเพ่มิ เวลารู้ 9 9.57 8 สถานศึกษาพอเพียง 52 55.32 9 บ้านนกั วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย 60 63.83 10 ทางไกลผ่านดาวเทียม 77 81.91 11 OBEC Channel 21 22.34 12 DLIT 13 13.83 13 แกนนำ� BBL 10 10.64 14 พระราชด�ำริ 0 0.00 15 โรงเรียนพกั นอน 6 6.38 16 โรงเรียนมาตรฐานสากล 0 0.00 17 โรงเรยี นตน้ แบบอาเซียน 1 1.06 แผนภูมิที่ 2 จ�ำนวนโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการจ�ำแนกตามประเภทตามโครงการ ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 2559 .indd 17 17 28/9/2559 22:55:24

ตารางที่ 4 จ�ำนวนนักเรียน จ�ำแนกรายชั้น เพศ ห้องเรียน และนักเรียนต่อห้องเรียน ปีการศึกษา 2559 ชน้ั นักเรียน นักเรยี น รวม รอ้ ยละ ห้องเรียน ห้อง : ชาย หญิง นักเรยี น อนุบาล 1 409 363 อนบุ าล 2 338 382 772 10.53 83 1:9 รวมกอ่ นประถมศึกษา 797 745 ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 421 388 770 10.51 86 1:9 ประถมศึกษาปีที่ 2 412 379 ประถมศึกษาปที ี่ 3 421 424 1542 21.04 169 1 : 9 ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 463 413 ประถมศึกษาปีที่ 5 450 416 809 11.04 94 1:9 ประถมศกึ ษาปีที่ 6 501 501 รวมประถมศกึ ษา 2668 2521 791 10.79 91 1:9 มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 118 72 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 114 75 845 11.53 91 1:9 มัธยมศึกษาปที ี่ 3 110 108 รวมมัธยมศกึ ษา 876 11.95 94 1:9 ตอนต้น 342 255 886 12.09 93 1 : 10 รวมทง้ั สิน้ 3807 3521 รอ้ ยละ 51.95 48.05 1002 13.67 94 1 : 11 5189 70.81 557 1 : 9 190 2.59 11 1 : 17 189 2.58 12 1 : 16 218 2.97 13 1 : 17 597 8.15 36 1 : 17 7328 100 762 1 : 10 จากตารางที่ 4 จ�ำนวนนักเรียนท้ังหมดในปีการศึกษา 2559 มีจ�ำนวนท้ังหมด 7,328 คน โดยแบ่งเป็นนักเรียนชายคิดเป็นร้อยละ 51.95 และนักเรียนหญิง ร้อยละ 48.05 จากข้อมูลข้าง ต้นเมื่อพิจารณาตามระดับการศึกษา พบว่า นักเรียนระดับประถมศึกษามีจ�ำนวนมากท่ีสุดที่ร้อยละ 70.81 รองลงมา เป็นระดับก่อนประถมศึกษา ที่ร้อยละ 21.04 และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 8.15 ตามล�ำดับ ส�ำหรับจ�ำนวนห้องเรียนท่ีมากที่สุดคือ ระดับประถมศึกษา รองลงมา คือระดับก่อนประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา ตามล�ำดับ ส่วนอัตราส่วนของห้องเรียน ต่อนักเรียนพบว่า ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมีอัตราส่วนห้องเรียนต่อนักเรียนมากที่สุดคือ 1 : 17 รองลงมาคือ ระดับประถมศึกษา และระดับก่อนประถมศึกษาเท่ากันท่ี 1 : 9 ตามล�ำดับ 18 www.lpg3.go.th 2559 .indd 18 28/9/2559 22:55:24

แผนภูมิท่ี 3 เปรียบเทียบจ�ำนวนนักเรียนจ�ำแนกตามระดับการศึกษา และเพศ ปี การศึกษา 2559 จากแผนภูมิท่ี 3 พบว่านักเรียนในระดับชั้นก่อนประถมศึกษา ระดับช้ันประถมศึกษาและ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีจ�ำนวนนักเรียนชายมากกว่านักเรียนหญิง ตารางท่ี 5 จ�ำนวนนักเรียน ห้องเรียน และนักเรียนต่อห้องเรียน และระดับการศึกษา ปีการศึกษา 2559 ระดบั การศกึ ษา ก่อน ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา รวมทั้งสน้ิ ประถมศึกษา ตอนต้น รายละเอียด 5289 7328 557 597 762 นกั เรยี น 1542 9:1 36 10 : 1 17 : 1 ห้องเรยี น 169 นกั เรยี น : ห้องเรยี น 9:1 จากตารางท่ี 5 จ�ำนวนนักเรียนจ�ำแนกตามระดับช้ัน ปีการศึกษา 2559 พบว่าจ�ำนวน ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 นักเรียนในระดับประถมศึกษามีมากท่ีสุด รองลงมาคือระดับก่อนประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นตามล�ำดับ ส่วนจ�ำนวนห้องเรียนมากที่สุดคือ ระดับประถมศึกษารองลงมาคือระดับ ก่อนประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาตามล�ำดับ และจ�ำนวนนักเรียนต่อห้องเรียนที่มีนักเรียน มากท่ีสุดคือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น คือ 17 : 1 รองลงมาคือระดับประถมศึกษา และก่อน ประถมศึกษาเท่ากัน คือ 9 : 1 2559 .indd 19 19 28/9/2559 22:55:24

แผนภูมิที่ 4 เปรียบเทียบข้อมูลนักเรียน ห้องเรียน จ�ำแนกตามระดับชั้น ปีการศึกษา 2559 จากแผนภูมิท่ี 4 จ�ำนวนนักเรียนตามประเภทโรงเรียนปีการศึกษา 2559 พบว่าโรงเรียน ประถมศึกษา มีจ�ำนวนนักเรียน และห้องเรียนมากที่สุด รองลงมาเป็นโรงเรียนก่อนประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้น ตามล�ำดับ ตารางท่ี 6 จ�ำนวนโรงเรียน นักเรียน ครู ห้องเรียน ครูต่อนักเรียน และนักเรียนต่อ ห้องเรียน จ�ำแนกตามขนาดของโรงเรียน ปีการศึกษา 2559 ขนาดโรงเรียน โรงเรียน นกั เรยี น ครู ห้องเรียน ครู : หอ้ ง : นักเรียน นกั เรียน ขนาดที่ 1 (1 – 120 คน) 79 4043 322 595 1 : 13 1 : 8 - นักเรียน 1-20 คน 10 142 22 53 1 : 6 1 : 3 - นกั เรียน 21-40 คน 24 729 69 178 1 : 11 1 : 4 - นักเรยี น 41-60 คน 18 901 77 143 1 : 12 1 : 6 - นักเรียน 61-80 คน 12 831 69 98 1 : 12 1 : 8 - นักเรียน 81-100 คน 10 899 55 83 1 : 16 1 : 11 - นักเรียน 101-120 คน 5 541 30 40 1 : 18 1 : 14 ขนาดท่ี 2 (121 – 200 คน) 9 1386 100 87 1 : 13 1 : 16 - นักเรียน 121 -140 คน 4 528 35 35 1 : 15 1 : 15 - นักเรียน 141 -160 คน 1 156 14 11 1 : 11 1 : 14 - นกั เรียน 161 -180 คน 2 325 23 19 1 : 14 1 : 17 - นกั เรยี น 181 -200 คน 2 377 28 22 1 : 13 1 : 17 20 www.lpg3.go.th 2559 .indd 20 28/9/2559 22:55:25

ขนาดโรงเรียน โรงเรยี น นกั เรียน ครู หอ้ งเรียน ครู : หอ้ ง : นกั เรยี น นกั เรียน ขนาดท่ี 3 (201 – 300 คน) 4 949 53 45 1 : 17 1 : 20 - นักเรียน 201-220 คน 1 206 12 11 1 : 17 1 : 19 - นกั เรยี น 221-240 คน 2 455 27 22 1 : 17 1 : 21 - นกั เรียน 241-260 คน 0 00 0 0 0 - นักเรยี น 261-280 คน 0 0 0 0 0 0 - นกั เรียน 281-300 คน 1 288 14 12 1 : 21 1 : 24 ขนาดที่ 4 (301 – 499 คน) 1 433 22 17 1 : 20 1 : 25 ขนาดท่ี 5 (500 – 1499 คน) 1 517 22 18 1 : 24 1 : 29 รวมท้ังสนิ้ 94 7328 519 762 1 : 14 1 : 10 จากตารางที่ 6 เม่ือพิจารณาข้อมูลโรงเรียนจ�ำแนกตามขนาดโรงเรียนทั้ง 5 ขนาด พบว่าจ�ำนวนโรงเรียนขนาดท่ี 1 มีจ�ำนวนมากท่ีสุด รองลงมาคือ โรงเรียนขนาดที่ 2 และ ขนาดท่ี 3 ส่วนโรงเรียนที่มีน้อยที่สุด คือโรงเรียนขนาดที่ 4 และ 5 เมื่อพิจารณาข้อมูลนักเรียนพบว่า โรงเรียนขนาดท่ี 1 มีนักเรียนมากท่ีสุด รองลงมา คือ โรงเรียนขนาดที่ 2 และขนาดที่ 3,4,5 ตามล�ำดับ ส่วนโรงเรียนท่ีมีจ�ำนวนนักเรียนน้อย ท่ีสุดคือ โรงเรียนขนาดท่ี 4 เม่ือพิจารณา ข้อมูลครูพบว่า โรงเรียนขนาดที่ 1 มีครูมากท่ีสุด รองลงมาคือ ขนาดท่ี 2 และขนาดที่ 3,4,5ตามล�ำดับ ตารางที่ 7 จ�ำนวนนักเรียนต่อประชากรวัยเรียน จ�ำแนกรายช้ัน ปีการศึกษา 2559 ระดบั ชนั้ ประชากรวัยเรยี น นกั เรยี น รอ้ ยละของนักเรียนตอ่ ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 อายุ (ปี) จำ� นวน (คน) (คน) ประชากรวัยเรยี น อนบุ าล 1 อนบุ าล 2 4 1001 772 77.12 รวมกอ่ นประถมศึกษา 5 984 770 78.25 ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 4 - 5 1985 1542 77.68 ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 6 941 809 85.97 ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 7 993 791 79.66 8 1044 845 80.94 21 2559 .indd 21 28/9/2559 22:55:25

ระดับช้ัน ประชากรวยั เรียน นักเรยี น ร้อยละของนกั เรยี นต่อ อายุ (ปี) จำ� นวน (คน) (คน) ประชากรวยั เรียน ประถมศึกษาปที ี่ 4 86.90 ประถมศึกษาปีที่ 5 9 1008 876 82.09 ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 10 1055 866 88.36 รวมประถมศึกษา 11 1134 1002 84.03 รวมระดับก่อนประถมศึกษา 6 - 11 6175 5189 และประถมศึกษา 82.49 มัธยมศึกษาปที ่ี 1 4 - 11 8160 6731 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 19.00 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 12 1000 190 18.30 รวมมธั ยมศกึ ษา 13 1033 189 19.71 14 1106 218 19.02 12-14 3139 597 จากตารางที่ 7 จ�ำนวนนักเรียนในสังกัดส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 ต่อจ�ำนวนประชากรวัยเรียนในวัยเรียนทั้งหมดในระดับก่อนประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 77.68 และในระดับประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 84.03 ระดับมัธยมศึกษาซึ่งเป็นโรงเรียนขยาย โอกาสมีจ�ำนวนนักเรียนต่อประชากรในวัยเรียน คิดเป็นร้อยละ 19.02 แผนภูมิที่ 5 เปรียบเทียบจ�ำนวนนักเรียนต่อประชากรวัยเรียน ปีการศึกษา 2559 จากแผนภมู ทิ ่ี 5 จำ� นวนนกั เรยี นในสงั กดั สำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำ� ปาง เขต 3 จ�ำนวนนักเรียนต่อประชากรวัยเรียนแยกเป็นรายช้ันจะเห็นได้ว่า ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 มีจ�ำนวน นักเรียนต่อประชากรวัยเรียนมากท่ีสุด ส่วนจ�ำนวนนักเรียนต่อประชากรวัยเรียนน้อยท่ีสุดคือใน ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ซ่ึงเป็นโรงเรียนในการขยายโอกาสจึงท�ำให้นักเรียนต่อประชากร วัยเรียนน้ันอยู่ในข้ันต�่ำ 22 www.lpg3.go.th 2559 .indd 22 28/9/2559 22:55:25

ตารางที่ 8 จ�ำนวนนักเรียนพิการเรียนร่วม จ�ำแนกตามระดับการศึกษา ปีการศึกษา 2559 ประเภทความพกิ าร รวม ร้อยละ มคี วามบกพร่องทางการมองเหน็ 2 0.34 มีความบกพรอ่ งทางการได้ยิน 6 1.02 มีความบกพร่องทางสตปิ ัญญา 45 7.61 มีความบกพรอ่ งทางรา่ งกาย/สขุ ภาพ 19 3.21 มีปัญหาทางการเรียนรู้ 455 76.99 มีความบกพรอ่ งทางการพูด/ภาษา 3 0.51 มีปญั หาทางพฤตกิ รรม/อารมณ์ 27 4.57 ออทิสตกิ 18 3.05 พิการซำ้� ซ้อน 16 2.71 ไมร่ ะบุประเภทความพิการ 00 591 รวมทัง้ ส้นิ จากตารางท่ี 8 จ�ำนวนนักเรียนพิการเรียนร่วมของส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม ศึกษาล�ำปางเขต 3 จ�ำแนกตามประเภทความพิการพบว่า จ�ำนวนนักเรียนพิการเรียนร่วมในด้าน มีปัญหาในการเรียนรู้มีมากท่ีสุดที่ร้อยละ 76.99 แผนภูมิท่ี 6 เปรียบเทียบจ�ำนวนร้อยละของนักเรียนพิการเรียนร่วมจ�ำแนกตามประเภท ความพิการ ปีการศึกษา 2559 ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 2559 .indd 23 23 28/9/2559 22:55:25

จากแผนภูมิท่ี 6 จ�ำนวนนักเรียนพิการเรียนร่วมจ�ำแนกตามประเภทความพิการ พบว่าจ�ำนวนนักเรียนท่ีมีปัญหาทางการเรียนรู้ มีมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 76.99 รองลงมา คือความบกพร่องทางสติปัญญาโดยคิดเป็นร้อยละ 7.61 ส่วนนักเรียนท่ีมีความบกพร่องไม่ ระบุประเภท ไม่มีเลย ตารางที่ 9 จ�ำนวนนักเรียนด้อยโอกาส จ�ำแนกตามระดับการศึกษา ปี 2559 ประเภทด้อยโอกาส กอ่ น ประถม มัธยมศกึ ษา รวม ร้อยละ ประถมศึกษา ศึกษา ตอนตน้ เด็กถูกบังคบั ให้ขายแรงงาน 0 0 0 0 0 เดก็ ท่ีอยใู่ นธุรกิจทางเพศ 0 0 0 00 เดก็ ถกู ทอดทิ้ง 3 12 0 15 0.30 เดก็ ในสถานพินจิ และคุม้ ครอง 0 0 0 00 เยาวชน เดก็ เร่ร่อน 0 0 0 00 ผลกระทบจากเอดส์ 0 3 1 4 0.08 ชนกลุม่ นอ้ ย 1 0 2 3 0.06 เดก็ ทถ่ี ูกทำ� รา้ ยทารุณ 1 0 0 1 0.02 เดก็ ยากจน 976 3552 350 4878 99.16 เด็กทีม่ ีปญั หาเกยี่ วกบั ยาเสพตดิ 0 0 0 00 อน่ื ๆ 0 0 0 0 0 ก�ำพรา้ 3 13 2 18 0.36 ทำ� งานรบั ผิดชอบตนเองและ 0 0 0 00 ครอบครัว อายุนอกเกณฑ์ 0 0 0 00 รวม 984 3580 355 4919 100 รอ้ ยละ 20.00 72.78 7.22 จากตารางที่ 9 จ�ำนวนนักเรียนด้อยโอกาสจ�ำแนกตามระดับการศึกษา พบว่านักเรียน ระดับประถมศึกษามีจ�ำนวนนักเรียนด้อยโอกาสมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 72.78 รองลงมาคือ ระดับก่อนประถมศึกษา ที่ร้อยละ 20.00 ส่วนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีจ�ำนวนนักเรียนด้อย โอกาสน้อยท่ีสุดคิดเป็นร้อยละ 7.22 24 www.lpg3.go.th 2559 .indd 24 28/9/2559 22:55:25

แผนภมู ทิ ่ี 7 จำ� นวนนกั เรยี นดอ้ ยโอกาส จำ� แนกตามประเภทความดอ้ ยโอกาส ปกี ารศกึ ษา 2559 จากแผนภูมิที่ 7 เมื่อพิจารณาจ�ำนวนนักเรียนตามประเภทความด้อยโอกาส พบว่า นักเรียนยากจน มีจ�ำนวนมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 99.16รองลงมาคือ เด็กที่เป็นเด็กก�ำพร้า คิดเป็นร้อยละ 0.36 และกรณีเด็กถูกทอดทิ้ง คิดเป็นร้อยละ 0.30 ตามล�ำดับ ตารางที่ 10 จ�ำนวนนักเรียนขาดแคลนเคร่ืองเขียน แบบเรียนและอาหารกลางวัน ปีการศึกษา 2559 ชั้น นกั เรียน ขาดแคลน ขาดแคลน ขาดแคลน ขาดแคลน ขาดแคลน ท้งั หมด เคร่อื ง เคร่ืองเขยี น แบบเรียน อาหาร 3 รายการ อนบุ าล 1 แบบ (หนังสือ กลางวัน อนุบาล 2 772 (สมุด ยืมเรยี น) รวมก่อนประถมศกึ ษา 770 397 ดนิ สอ) 392 373 ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 ประถมศึกษาปีท่ี 1 1542 508 436 367 426 419 ประถมศึกษาปีที่ 2 809 905 449 415 818 792 ประถมศึกษาปีที่ 3 791 554 885 782 479 482 ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 845 477 588 474 450 423 ประถมศึกษาปีท่ี 5 876 528 516 393 470 450 ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 886 569 575 439 467 461 รวมประถมศึกษา 1002 563 547 434 439 426 5189 655 550 407 548 529 3346 633 500 2853 2771 3409 2647 25 2559 .indd 25 28/9/2559 22:55:26

ช้นั นักเรียน ขาดแคลน ขาดแคลน ขาดแคลน ขาดแคลน ขาดแคลน ทงั้ หมด เครือ่ ง เครอ่ื งเขยี น แบบเรียน อาหาร 3 รายการ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 แบบ (หนังสอื กลางวนั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 (สมดุ ยมื เรยี น) มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ดนิ สอ) รวมมัธยมศกึ ษา 71 ตอนต้น 190 89 88 68 92 70 64 103 80 รวม 189 91 91 95 75 ร้อยละ 218 86 84 597 266 263 203 290 225 7328 4517 4557 3632 3961 3788 61.2 62.2 49.6 54.1 51.7 จากตารางท่ี 10 พบว่านักเรียนขาดแคลนเครื่องเขียนมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 62.2 และ รองลงมาเป็นเคร่ืองแบบคิดเป็นร้อยละ 61.6 ขาดแคลนอาหารกลางวันคิดเป็นร้อยละ 54.1 และขาดแคลนทั้ง 3 รายการ ขาดแคลนแบบเรียน คิดเป็นร้อยละ 51.7 และ 49.6 ตามล�ำดับ แผนภูมิท่ี 8 จ�ำนวนนักเรียนขาดแคลน จ�ำแนกตามรายการขาดแคลน ปีการศึกษา 2559 จากแผนภูมิท่ี 8 เมื่อจ�ำแนกรายการความขาดแคลนเครื่องแบบ เคร่ืองเขียน แบบเรียน อาหารกลางวัน และขาดแคลนท้ัง 4 รายการ จะพบได้ว่า ในระดับประถมจะขาดแคลนมากที่สุด เน่ืองจากมีจ�ำนวนนักเรียนมากกว่าช่วงอื่น 26 www.lpg3.go.th 28/9/2559 22:55:26 2559 .indd 26

ตารางที่ 11 จ�ำนวนนักเรียนในเขตบริการที่อยู่ห่างไกลโรงเรียนเกิน 3 กม.จ�ำแนกตาม วิธีการเดินทางมาเรียนปีการศึกษา 2559 วธิ กี ารเดนิ ทางมาเรยี น ชนั้ โดยใชย้ านพาหนะ จักรยาน รวม ยมื เรยี น อนบุ าล 1 เดินเทา้ เสียคา่ ไม่เสียค่า 186 อนุบาล 2 โดยสาร โดยสาร 0 169 รวมกอ่ นประถม 2 0 355 ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 0 108 76 0 157 ประถมศึกษาปที ี่ 2 2 0 158 ประถมศึกษาปที ี่ 3 1 84 85 0 188 ประถมศึกษาปีที่ 4 6 0 180 ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 2 192 161 0 190 ประถมศึกษาปที ่ี 6 4 0 186 4 72 84 0 1059 รวมประถมศกึ ษา 3 0 75 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 20 78 74 0 62 มธั ยมศึกษาปีที่ 2 4 0 90 มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 4 109 77 0 227 6 0 1641 รวมมธั ยมศกึ ษา 14 95 81 0 รวม 36 0 ร้อยละ 2.2 112 74 100 83 566 473 32 39 38 20 44 40 ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 114 99 872 733 53.1 44.7 จากตารางท่ี 11 เมอ่ื พจิ ารณาในภาพรวมพบวา่ นกั เรยี นในเขตบรกิ าร ทอี่ ยหู่ า่ งไกลโรงเรยี นเกนิ 3 กิโลเมตร เดินทางมาเรียนโดยใช้ยานพาหนะแบบเสียค่าโดยสาร มากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 53.1 รองลงมาคือ การเดินทางมาเรียนโดยใช้ยานพาหนะแบบไม่เสียค่าโดยสารคิดเป็น ร้อยละ 44.7 และมาเรียนโดยใช้วิธีเดินเท้า คิดเป็นร้อยละ 2.2 ส่วนนักเรียนท่ีเดินทางมา เรียนโดยวิธีใช้จักรยานยืมเรียน ไม่มีเลย 27 2559 .indd 27 28/9/2559 22:55:26

แผนภูมิที่ 9 จ�ำนวนนักเรียนในเขตบริการท่ีอยู่ห่างไกลโรงเรียนเกิน 3 กม.จ�ำแนกตาม วิธีการเดินทางมาเรียน จากแผนภมู ทิ ี่ 9 พบวา่ นกั เรยี นในระดบั ประถมศกึ ษามกี ารเดนิ ทางมาเรยี นโดยยานพาหนะแบบ เสียค่าโดยสารมากท่ีสุด รองลงมา คือ มาเรียนโดยยานพาหนะแบบไม่เสียค่าโดยสาร ในระดับ ก่อนประถมศึกษานักเรียนเดินทางมาเรียนโดยยานพาหนะแบบเสียค่าโดยสารมากที่สุด รองลงมา มาเรียนโดยยานพาหนะแบบไม่เสียค่าโดยสาร ส่วนในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียน เดินทางมาเรียนโดยยานพาหนะแบบเสียค่าโดยสารมากที่สุดรองลงมา คือการมาเรียนโดยยาน พาหนะแบบไม่เสียค่าโดยสาร ซ่ึงเมื่อดูจากข้อมูลแล้วจะพบว่า โดยรวมแล้วนักเรียนเดินทาง มาเรียนโดยยานพาหนะแบบเสียค่าโดยสารมากท่ีสุด ตารางท่ี 12 จ�ำนวนนักเรียนออกกลางคันจ�ำแนกตามสาเหตุและรายชั้นปีการศึกษา 2558 สาเหตุ �จำนวนนักเรียนต้น ีป ช้นั ฐานะยากจน มี ัปญหาครอบค ัรว สมรส ีม ัปญหาการปรับ ัตว ้ตองคดี/ ูถกจับ เ ็จบ ่ปวย/อุ ับ ิตเหตุ อพยพตาม ู้ผปกครอง หาเ ้ลียงครอบครัว ่ือนๆ รวม ร้อยละของ ันกเรียนออก กลาง ัคน ักบ ันกเ ีรยน ้ตน ีป อนุบาล 1 782 - - - - - - - - - - - อนบุ าล 2 774 - - - - - - - - - - - รวมก่อนประถม 1556 - - - - - - - - - - - ประถมศึกษาปท่ี ่ี 1 805 - - - - - - - - - - - ประถมศึกษาปีท่ ี่ 2 856 - - - - - - - - - - - ประถมศึกษาป่ที ี่ 3 881 - - - - - - - - - - - ประถมศึกษาปี่ที่ 4 865 - - - - - - 1 - - 1 0.12 28 www.lpg3.go.th 2559 .indd 28 28/9/2559 22:55:26

สาเหตุ จ�ำนวน ันกเรียน ้ตน ีป ฐานะยากจน ีมปัญหาครอบครัว สมรส ีมปัญหาการปรับ ัตว ต้องค ีด/ ูถก ัจบ เจ็บป่วย/อุ ับ ิตเห ุต อพยพตามผู้ปกครอง หาเ ้ีลยงครอบครัว อื่นๆ รวม ้รอยละของ ันกเรียนออก กลางคันกับ ันกเรียน ้ตน ีป ช้ัน ประถมศกึ ษาปที่ ี่ 5 996 - - - - - - 1 - - 1 0.10 ประถมศึกษาปท่ี ี่ 6 865 - - - - - - 1 - - 1 0.12 รวมประถมศกึ ษา 5268 - - - - - - 3 - - 3 0.06 มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 202 - - - - - - - - - - - มัธยมศึกษาปีที่ 2 230 - - - - - - 1 - - 1 0.43 มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 175 - - - - - - - - - - - รวม ม.ต้น 607 - - - - - - 1 - - 1 0.16 รวมทง้ั สน้ิ 7431 - - - - - - 4 - - 4 0.05 จากตารางท่ี 12 พบว่า ในสิ้นปีการศึกษา 2558 มีนักเรียนชั้นประถมศึกษา ออกกลางคัน อยู่ 3 คน และช้ันมัธยมศึกษา 1 คน สาเหตุอพยพตามผู้ปกครอง ตารางท่ี 13 จ�ำนวนนักเรียนพักนอน จ�ำแนกตามระดับการศึกษาปี 2559 ประเภทการพักนอน ก่อน ประถม มธั ยมศึกษา รวม รอ้ ยละ ประถมศกึ ษา ศึกษา ตอนต้น บ้านพักนักเรียน/หอนอน 54.4 บ้านพักครู - 74 12 86 9.5 ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 พักรวมกับชมุ ชน/อื่นๆ 36.1 - - 15 15 รวม รอ้ ยละ 1 47 9 57 1 121 36 158 0.63 76.58 22.78 100 จากตารางที่ 13 จ�ำนวนนักเรียนพักนอนจ�ำแนกตามระดับการศึกษา พบว่านักเรียน ระดับประถมศึกษามีจ�ำนวนนักเรียนพักนอนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 83.5 รองลงมาคือระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น ท่ีร้อยละ 11.0 ส่วนระดับก่อนประถมศึกษา มีจ�ำนวนนักเรียนพักนอน น้อยท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 5.49 29 2559 .indd 29 28/9/2559 22:55:26

แผนภูมิท่ี 10 จ�ำนวนนักเรียนพักนอน จ�ำแนกตามระดับการศึกษา ปี 2559 จากแผนภูมิท่ี 10 เม่ือจ�ำแนกรายการแล้วจะพบได้ว่า ในระดับประถมจะพักนอนบ้านพัก นักเรียน/ หอนอน มากท่ีสุด รองลงมาในระดับประถมศึกษาเป็นการพักนอนท่ีรวมกับชุมชน ตารางท่ี 14 น้�ำหนัก ส่วนสูงนักเรียนเทียบเกณฑ์มาตรฐาน จ�ำแนกตามระดับการศึกษาปี 2559 ประเภทนำ้� หนัก สว่ นสงู กอ่ น ประถม มัธยมศึกษา รวม ร้อยละ ประถมศึกษา ศึกษา ตอนต้น นำ้� หนกั ต่�ำกวา่ เกณฑ์ 278 690 44 1012 13.8 ส่วนสงู ต�่ำกว่าเกณฑ์ 179 540 27 746 10.2 นำ�้ หนักและส่วนสงู ต่�ำกวา่ เกณฑ์ 109 351 19 479 6.5 น้�ำหนกั สงู กวา่ เกณฑ์ 140 790 94 1024 14.0 สว่ นสงู สูงกวา่ เกณฑ์ 110 471 58 639 8.7 น�้ำหนกั และส่วนสูงสูงกวา่ เกณฑ์ 55 278 26 359 4.9 น้ำ� หนกั อย่ใู นเกณฑ์ 1124 3709 459 5292 72.2 สว่ นสูงอยูใ่ นเกณฑ์ 1253 4178 512 5943 81.1 น�้ำหนักและส่วนสูงอย่ใู นเกณฑ์ 1000 3331 420 4751 64.8 นักเรยี นท้งั หมด 1542 5189 597 7328 100 รอ้ ยละ จากตารางท่ี 14 น�้ำหนักส่วนสูงของนักเรียนที่อยู่ในเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 64.8 ของจ�ำนวนนักเรียนท้ังหมด ส่วนจ�ำนวนนักเรียนท่ีมีน�้ำหนักและส่วนสูงต่�ำกว่าเกณฑ์คิดเป็น ร้อยละ 6.5 ของจ�ำนวนนักเรียนท้ังหมด 30 www.lpg3.go.th 2559 .indd 30 28/9/2559 22:55:27

แผนภูมิที่ 11 น�้ำหนัก ส่วนสูงนักเรียนเทียบเกณฑ์มาตรฐาน ปี 2559 จากแผนภูมิท่ี 11 เม่ือจ�ำแนกรายการแล้วจะพบได้ว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีน�้ำหนักและ ส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์เม่ือเทียบเกณฑ์มาตรฐาน ตารางท่ี 15 จ�ำนวนนักเรียนท่ีจบการศึกษาช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2558 รายการ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 นกั เรยี นตน้ ปี จ�ำนวน ( คน ) รอ้ ยละ จำ� นวน ( คน ) ร้อยละ นักเรยี นเรยี นจบ - ศึกษาต่อ 867 100 171 100 - ประกอบอาชพี - บวชในศาสนา 868 100 161 94.2 - อื่นๆ 868 100 160 93.6 หมายเหตุ -- 1 1.71 ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 -- -- -- -- **มีนักเรียนยา้ ยเขา้ - **มีนักเรยี นรอ - ระหวา่ งปี 1คน ด�ำเนินการ 10 คน จากตารางท่ี 15 พบว่า นักเรียนที่จบประถมศึกษาปีที่ 6 ศึกษาต่อท้ังหมด ส่วนใน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นนั้น มีนักเรียนท่ีจบแล้วไม่ศึกษาต่อเน่ืองจากออกไปประกอบอาชีพ มีจ�ำนวน 1 คน 2559 .indd 31 31 28/9/2559 22:55:27

แผนภูมิที่ 12 สถานะนักเรียนท่ีเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี การศึกษา 2558 จ�ำแนกออกเป็นเปอร์เซ็นต์ จากแผนภูมิที่ 12 พบว่านักเรียนท่ีจบช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยส่วนใหญ่จะศึกษาต่อ และส่วนในเรื่องของการประกอบอาชีพน้ันจะมีเฉพาะนักเรียนที่ส�ำเร็จ การศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 เท่าน้ัน ตารางที่ 16 สรุปผลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2558 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 ปี 2558 เปรียบเที่ยบระดับเขตพ้ืนท่ี เปา้ หมาย คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ปกี ารศึกษา 2559 ท่ี รายวิชา ระดับ ระดับ สพฐ. ระดับประเทศ เพ่ิม/ เพ่ิม/ลด เพมิ่ ขึน้ คะแนน เขตพืน้ ที่ เฉล่ีย 1 ภาษาไทย 2557 2558 ลด ร้อยละ รอ้ ย 2 สงั คมศึกษาฯ สพฐ. เพ่มิ /ลด ประเทศ เพ่ิม/ลด ละ 3 3 ภาษาองั กฤษ 4 คณิตศาสตร์ 50.13 48.39 1.74 49.33 0.80 47.15 50.13 2.98 6.32 1.50 51.63 5 วทิ ยาศาสตร์ 48.77 47.64 1.13 49.18 -0.41 52.25 48.77 -3.48 -6.66 1.46 50.23 ค่าเฉลยี่ 36.88 36.61 0.27 40.31 -3.43 32.87 36.88 4.01 12.20 1.11 37.99 46.36 41.76 4.60 43.47 2.89 41.61 46.36 4.75 11.42 1.39 47.75 43.66 41.55 2.11 42.59 1.07 43.82 43.66 -0.16 -0.16 1.31 44.97 45.16 43.19 1.97 44.98 0.18 43.54 45.16 1.62 3.72 1.35 46.51 32 www.lpg3.go.th 28/9/2559 22:55:27 2559 .indd 32

แผนภูมิท่ี 13 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายวิชาผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2558 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ระดับส�ำนักงานเขต พื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 แผนภูมิที่ 14 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียรายวิชาผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2558 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับส�ำนักงานเขต พื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 กับระดับสังกัด (สพฐ.) แผนภูมิที่ 15 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายวิชาผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2558 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับส�ำนักงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 กับระดับประเทศ ส ุรปสารสนเทศทางการ ึศกษา ีปการศึกษา 2559 2559 .indd 33 33 28/9/2559 22:55:27

แผนภูมิที่ 16 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายวิชาผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2558 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับส�ำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 ระดับสังกัด (สพฐ.) และระดับประเทศ แผนภูมิที่ 17 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียรายวิชาผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม ศึกษาล�ำปาง เขต 3ปีการศึกษา 2557 กับ ปีการศึกษา 2558 ตารางท่ี 17 สรุปผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2558 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาล�ำปาง เขต 3 ปี 2558 เปรยี บเทีย่ บระดับเขตพืน้ ที่ เปา้ หมาย คะแนนเฉล่ยี คะแนนเฉลย่ี ปกี ารศกึ ษา 2559 ที่ รายวิชา ระดบั ระดบั สพฐ. ระดบั ประเทศ เพิม่ / เพ่มิ /ลด เพ่ิมขน้ึ คะแนน เขตพ้นื ท่ี เฉลี่ย 1 ภาษาไทย 2557 2558 ลด ร้อยละ รอ้ ย 2 สังคมศกึ ษาฯ สพฐ. เพม่ิ /ลด ประเทศ เพ่มิ /ลด ละ 3 3 ภาษาอังกฤษ 4 คณติ ศาสตร์ 43.29 42.89 0.40 42.64 0.65 35.22 43.29 8.07 22.91 1.30 44.59 5 วทิ ยาศาสตร์ 46.13 46.42 -0.29 46.21 -0.11 47.83 46.13 -1.70 -3.55 1.38 47.51 ค่าเฉลี่ย 27.67 30.16 -2.49 30.62 -2.95 26.86 27.67 0.81 3.02 0.83 28.50 31.71 32.42 -0.71 32.40 -0.69 27.04 31.71 4.67 17.27 0.95 32.66 37.85 37.88 -0.03 37.63 0.22 37.81 37.85 0.04 0.11 1.14 38.99 37.33 37.95 -0.62 37.91 -0.58 34.95 37.33 6.80 6.80 1.12 38.45 34 www.lpg3.go.th 2559 .indd 34 28/9/2559 22:55:27


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook