Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สุรพล ศรีศิลป์

สุรพล ศรีศิลป์

Published by สุรพล ศรีศิลป์, 2022-07-20 06:47:34

Description: รวมเล่ม

Search

Read the Text Version

เอกสารข้อตกลงการพั ฒนางาน (Performance Agreement : PA) สตำำหแหรันบ่งข้ศาึรกาษชากน ิาเรทคศรกู์แลวิะทบยุคาลฐาานกะรชทำานงากญากรศาึรกพิษเศา ษ ประจำปีงบประมาณ 2565 จัดทำข้อตกลงโดย นายสุรพล ศรีศิลป์ ตำแหน่ง ศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ \"\"..นิเทศวิถีใหม่ ใส่ใจมาตรฐาน วิชาการเป็นเลิศ..\"\" กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2

แบบข้อตกลงในการพฒั นางาน (PA) สาหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งศกึ ษานิเทศก์ วิทยฐานะศกึ ษานิเทศก์ชานาญการ (ทุกสงั กดั ) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ระหว่างวันท่ี 1 เดือนตลุ าคม พ.ศ. 2564 ถึงวนั ที่ 30 เดือน กนั ยายน พ.ศ. 2565 จัดทาขอ้ ตกลงโดย นายสุรพล ศรศี ิลป์ ตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์ วทิ ยฐานะ ชานาญการพิเศษ กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

PA 1/ศน. แบบขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA) สาหรบั ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ตาแหน่งศึกษานเิ ทศก์ วิทยฐานะศึกษานิเทศกช์ านาญการ (ทกุ สงั กัด) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระหวา่ งวันที่ 1 เดอื นตลุ าคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 30 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2565 ผจู้ ดั ทาขอ้ ตกลง ชอ่ื – สกุล นายสุรพล ศรศี ิลป์ ตาแหน่ง ศึกษานิเทศก์ วทิ ยฐานะ ศกึ ษานเิ ทศกช์ านาญการพเิ ศษ ตาแหนง่ เลขท่ี 107 หนว่ ยงานศกึ ษา สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาแมฮ่ ่องสอน เขต 2 สว่ นราชการ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน รับเงนิ เดอื นอนั ดับ คศ.3 อตั ราเงินเดอื น 45,200 บาท ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจานงในการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน ตาแหน่งศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพเิ ศษ ซงึ่ เปน็ ตาแหน่งและวิทยฐานะท่ีดารงอย่ใู นปัจจบุ ันกบั ผ้บู งั คบั บัญชา ไวด้ ังตอ่ ไปน้ี ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตาแหนง่ 1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด  เตม็ เวลา  ไมเ่ ต็มเวลา เนือ่ งจาก ................................................................................................ 2. งานทจ่ี ะปฏบิ ัติตามมาตรฐานตาแหน่งศกึ ษานิเทศก์ (ใหร้ ะบุรายละเอียดของงานท่ีจะปฏิบัติ ในแต่ละด้านวา่ จะดาเนินการอยา่ งไร โดยอาจระบรุ ะยะเวลาท่ใี ชใ้ นการดาเนินการด้วยก็ได)้ ลกั ษณะงานท่ปี ฏบิ ัติ ตาม งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวช้ีวดั มาตรฐานตาแหนง่ ทจ่ี ะดาเนินการพฒั นา (Outcomes) (Indicators) ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตาม ท่จี ะเกิดขน้ึ กับผูร้ บั การ การประเมนิ ขอ้ ตกลงทค่ี าดหวงั นิเทศ หรอื สถานศกึ ษา (โปรดระบ)ุ ใหเ้ กดิ ข้นึ ผรู้ ับการ หรือหน่วยงานการศึกษา นเิ ทศ หรือ ท่แี สดงใหเ้ หน็ ถึงการ สถานศึกษา หรือ เปลย่ี นแปลงในทางทดี่ ี หนว่ ยงาน ขนึ้ หรอื มกี ารพฒั นามาก การศกึ ษา ขึน้ หรอื ผู้เรียนมีผล (โปรดระบ)ุ สมั ฤทธิ์สูงขน้ึ (โปรดระบ)ุ 1. ด้านการนเิ ทศการศึกษา 1. การนิเทศการศกึ ษา 1.ผลที่เกิดข้ึนกับ 1.ผลทเ่ี กิดขนึ้ กบั ลักษณะงานทเ่ี สนอให้ ในศูนยบ์ รหิ ารจัด สานักงานเขตพื้นที่ สานักงานเขตพนื้ ที่ ครอบคลุมถงึ การออกแบบ การศึกษาทร่ี ับผดิ ชอบ” 1) มแี ผนการนิเทศ 1) มแี ผนการนเิ ทศท่ี จดั ทาแผนการนิเทศ ซึ่งดาเนินการดงั นี้ ทีป่ ฏิบตั ไิ ดจ้ ริงและมี ปฏบิ ตั ไิ ด้จรงิ และมีความ การศึกษา การคดั สรร สร้าง 1) การใช้กระบวนการ ความเหมาะสมกับ เหมาะสมกับสภาพบรบิ ท พฒั นาสือ่ นวตั กรรมและ นิเทศแบบ PIDRE มาใช้ สภาพบริบทพืน้ ที่ พืน้ ท่ี ภาคเรยี นละ 1 แผน

ลักษณะงานท่ปี ฏบิ ตั ิ ตาม งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตัวชวี้ ัด มาตรฐานตาแหนง่ ทีจ่ ะดาเนินการพฒั นา (Outcomes) (Indicators) เทคโนโลยี การปฏิบัตกิ าร นิเทศ การพฒั นางาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตาม ที่จะเกดิ ขน้ึ กบั ผ้รู บั การ วชิ าการ การประสานงาน กบั หน่วยงาน สถาน การประเมนิ ข้อตกลงทค่ี าดหวงั นเิ ทศ หรือสถานศกึ ษา ประกอบการ และการ รายงานผลการนเิ ทศ (โปรดระบุ) ใหเ้ กิดข้นึ ผู้รับการ หรือหนว่ ยงานการศึกษา นเิ ทศ หรือ ทีแ่ สดงให้เหน็ ถึงการ สถานศกึ ษา หรือ เปล่ียนแปลงในทางทดี่ ี หนว่ ยงาน ขึ้น หรอื มกี ารพฒั นามาก การศกึ ษา ข้ึน หรือผู้เรยี นมผี ล (โปรดระบุ) สมั ฤทธ์ิสงู ข้ึน(โปรดระบ)ุ ในการนเิ ทศ ติดตาม 2) มกี ารประชา- 2) มีการประชาสัมพันธ์ โรงเรยี นในศูนยบ์ รหิ าร สมั พันธ์กจิ กรรมการ กจิ กรรมการนิเทศให้ จัดการศึกษา ซึ่งประกอบ นิเทศใหบ้ ุคลากร บคุ ลากรและหน่วยงานที่ ดว้ ย 5 ข้ันตอน คือ และหน่วยงานท่ี เก่ยี วขอ้ งไดร้ บั ทราบ อย่าง 1.1) การวางแผน -P เกยี่ วข้องได้รบั ทราบ น้อยภาคเรียนละ 2 1.2) การใหค้ วามรู้-I กิจกรรม 1.3) การปฏบิ ัตงิ าน-D ผลทีเ่ กิดขน้ึ กับ 1.4) การสะทอ้ นผล-R สถานศึกษา ผลทเ่ี กิดขน้ึ กับสถานศกึ ษา 1.5) การประเมนิ ผล-E สถานศกึ ษาใน รอ้ ยละ 100 ของ 2) การวางแผนและจดั ทา ศูนย์บรหิ ารจัด สถานศึกษาในศนู ยบ์ ริหาร แผนการนิเทศ การศึกษาได้รบั การ จัดการศกึ ษาไดร้ บั การ 3) การใหค้ วามรู้งาน นิเทศ ติดตาม และ นิเทศ ติดตาม และ วิชาการในด้านต่างๆ คือ ประเมินผลการจดั ประเมินผล 1. ด้านหลกั สูตร การศึกษา 2. ด้านการวัดและ ผลท่ีเกิดกับผรู้ บั การนิเทศ ประเมนิ ผล ผลทเ่ี กดิ ขึ้นกับผูร้ บั 1) ร้อยละ 80 ของครู 3. ดา้ นสื่อ นวัตกรรม การนเิ ทศ ผสู้ อนสามารถจดั การเรียน และแหลง่ เรียนรู้ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา การสอนอยา่ งมคี ุณภาพ 4. ด้านงานประกนั และครูผู้สอนมี 2) ร้อยละ 80 ของ คุณภาพการศึกษา ความรคู้ วามเข้าใจ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา 5. ด้านงานการนิเทศ ในงานวิชาการด้าน สามารถบริหารจดั ภายในโรงเรียน ต่างๆ การศกึ ษาได้อย่างมี 6. โรงเรียนสุจรติ ฯ คุณภาพ 7. ความรดู้ า้ นอืน่ ๆ ผลทีเ่ กดิ ข้นึ กับ 4) ปฏิบตั งิ าน การนเิ ทศ นกั เรยี น ผลทเี่ กดิ ขนึ้ กับนกั เรียน ติดตาม การจัดการศกึ ษา นกั เรียนมผี ลสัมฤทธิ์ ร้อยละ 70 ของนกั เรียนมี ของโรงเรียนในศูนย์ ทางการเรยี นทีส่ งู ขน้ึ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นท่ี บรหิ ารจัดการศกึ ษา สูงข้นึ

ลักษณะงานท่ปี ฏบิ ตั ิ ตาม งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วดั มาตรฐานตาแหนง่ ที่จะดาเนินการพฒั นา (Outcomes) (Indicators) ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตาม ที่จะเกดิ ข้ึนกับผรู้ ับการ การประเมนิ ขอ้ ตกลงท่ีคาดหวัง นิเทศ หรอื สถานศึกษา (โปรดระบ)ุ ให้เกิดขึน้ ผ้รู ับการ หรือหน่วยงานการศึกษา นเิ ทศ หรอื ท่แี สดงให้เห็นถึงการ สถานศึกษา หรือ เปล่ียนแปลงในทางทีด่ ี หนว่ ยงาน ขน้ึ หรอื มีการพัฒนามาก การศึกษา ขึน้ หรอื ผ้เู รียนมผี ล (โปรดระบุ) สมั ฤทธส์ิ ูงขึน้ (โปรดระบุ) 5) สะท้อนผลการนิเทศ ใหค้ าแนะนา ช่วยเหลือ และการใหข้ วัญกาลังใจ 6) ประเมนิ ผลการนิเทศ แล้วสรปุ และรายงานผล 2. การปฏบิ ตั ิงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย 2. ดา้ นการส่งเสริมและ การส่งเสริม สนับสนนุ สานกั งานเขตพน้ื ท่ี สานกั งานเขตพืน้ ท่ี สนับสนนุ การจดั การศึกษา ความเข้มแข็งของ มรี ายงานการ 1. มกี ารรายงานการ ลักษณะงานที่เสนอให้ สถานศึกษาและศนู ย์ นิเทศของศนู ย์ นิเทศของศนู ยบ์ ริหารจดั ครอบคลุมถึงการวางแผน บริหารจัดการศึกษา บริหารจดั การศึกษา การศกึ ษา (MAS Center) การสง่ เสริม สนับสนุน และ 1. การส่งเสรมิ และ (MAS Center) ปกี ารศึกษาละ 1 ครงั้ พฒั นาการจัดการศึกษา สนบั สนนุ การนิเทศ 2. มี Best Practice การ ผลท่เี กดิ ข้นึ กบั นิเทศภายในโรงเรียนของ การเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ภายในโรงเรียน - การจัดแผนการ สถานศึกษา ใหก้ ับสถานศกึ ษา/ ศนู ยบ์ ริหารจดั การศึกษา มีรายงานการ (MAS Center) อย่างนอ้ ย หน่วยงานการศึกษา การ นิเทศภายในโรงเรยี น - การดาเนินงานการ นิเทศภายใน ตดิ ตามประเมินผล การ 1 โรงเรยี น สง่ เสรมิ สนับสนนุ การจดั นิเทศภายในโรงเรยี น โรงเรยี น การศึกษา และการจัดทา - การประเมนิ ผลและ ผลที่เกิดข้ึนกับสถานศกึ ษา รายงานสารสนเทศ รายงานผลการนเิ ทศ มีการรายงานการนิเทศ ภายในโรงเรียน ภายในโรงเรยี น ปี 2. การสง่ เสรมิ และ การศกึ ษาละ 1 ครง้ั สนับสนนุ ศูนย์บรหิ ารจดั การศึกษา (MAS Center) - การจัดทาโครงสร้าง การบรหิ ารงาน - การจัดทาสารสนเทศ ท่เี ปน็ ปัจจุบนั

ลักษณะงานทปี่ ฏบิ ตั ิ ตาม งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตัวช้วี ัด มาตรฐานตาแหนง่ ท่ีจะดาเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators) ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตาม ทีจ่ ะเกิดข้ึนกบั ผ้รู บั การ การประเมิน ข้อตกลงทีค่ าดหวัง นเิ ทศ หรือสถานศกึ ษา (โปรดระบุ) ให้เกดิ ขนึ้ ผ้รู บั การ หรือหน่วยงานการศกึ ษา นเิ ทศ หรอื ท่ีแสดงใหเ้ ห็นถงึ การ สถานศกึ ษา หรอื เปล่ียนแปลงในทางท่ดี ี หนว่ ยงาน ขึน้ หรือมกี ารพฒั นามาก การศึกษา ขึ้น หรือผเู้ รียนมผี ล (โปรดระบ)ุ สมั ฤทธิ์สงู ข้นึ (โปรดระบุ) - การนเิ ทศโรงเรยี นใน ศูนย์บรหิ ารจัดการศึกษา 3). ภารกิจงานอน่ื ที่ ได้รับหมอบหมาย 3. ด้านการพฒั นาตนเอง การพฒั นาตนเองของ 1. มกี ารพัฒนา 1. มีเกยี รตบิ ตั รการอบรม และวิชาชีพ ศกึ ษานเิ ทศก์ มดี งั น้ี ตนเองในการใช้ พฒั นาอย่างนอ้ ย 1 เรอื่ ง ลักษณะงานท่เี สนอให้ 1. การอบรมพฒั นา เทคโนโลยกี ารศกึ ษา ตอ่ ภาคเรียน ครอบคลุมถึงการพฒั นา 1.1) ด้านเทคโนโลยี หรอื งานวิชาการ 2. มีการเผยแพร่ ตนเองใหม้ ีความรู้ ความ และสารสนเทศ โดย 2. มกี ารศึกษางาน นวัตกรรมการศึกษาใน สามารถ ทักษะ การเขา้ รว่ ม อบรมการใชโ้ ปรแกรม วชิ าการในงานที่ ช่องทางต่างๆอย่างน้อย 1 แลกเปลีย่ นเรียนรูท้ าง หรือ App ด้านการศึกษา รบั ผิดชอบหรอื งาน เรอ่ื งต่อภาคเรียน วิชาชพี เพ่ือปรบั ประยกุ ต์ใน เชน่ Zoom, Google วชิ าการอ่ืนๆท่ี การจัดการเรียนรู้และการ Meet, ฯลฯ เก่ียวขอ้ ง แลว้ นามา จัดการศึกษา การนาความรู้ 1.2) ด้านงานวิชาการ จดั ทาเปน็ นวัตกรรม ความสามารถ ทักษะทไ่ี ด้ โดยศึกษาบทความ การศกึ ษา เช่น จากการพฒั นาตนเองและ งานวจิ ยั เอกสาร เว็บไซต์ เว็บไซต์ คลปิ วิดีโอ วชิ าชพี มาใช้ในการ เก่ียวกับการนเิ ทศแบบมี เอกสารวิชาการ พฒั นาการจดั การเรยี นรู้ สว่ นรว่ ม ฯลฯ และเผยแพร่ การพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน 2. พัฒนานวัตกรรมท่ี แก่บุคลากรท้งั ใน รวมถงึ การพฒั นานวัตกรรม ไดร้ บั จากการอบรมแล้ว และนอกสงั กดั การจัดการเรยี นรู้ที่มผี ลตอ่ เผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ดา้ น คุณภาพครู และผู้เรยี นและ การนิเทศ เช่น เวบ็ ไซต์ เผยแพรอ่ งค์ความรู้ดา้ นการ คลิปวดิ ีโอ คมู่ ือ เอกสาร นเิ ทศ การจัดการเรยี นรู้ วชิ าการ ฯลฯ และการจดั การศกึ ษา และ บรกิ ารวชิ าการแกห่ นว่ ยงาน การศกึ ษาหรือหนว่ ยงาน ต่างๆ

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานทเี่ ปน็ ประเด็นท้าทายเพอ่ื พัฒนาคุณภาพการจัดการเรยี นรู้ หรือ การจัดการศึกษาของผ้รู ับการนิเทศ หรือการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาหรือหน่วยงานการศึกษาทสี่ ่งผลตอ่ คณุ ภาพผู้เรียนในหน่วยงานการศึกษาที่รับผิดชอบ ประเดน็ ทา้ ทาย เรอ่ื ง การนิเทศแบบมสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม สาหรับโรงเรยี นขนาดเล็ก สังกดั สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 1. สภาพปัญหาของการจดั การเรียนรแู้ ละการจัดการศกึ ษา การเปลีย่ นแปลงทเ่ี กดิ ขึน้ อยา่ งรวดเร็วในศตวรรษท่ี 21 ทั้งด้านสังคม เศรษฐกจิ และเทคโนโลยี สง่ ผล ให้เกดิ การเปล่ียนแปลงอย่างมากตอ่ พฤติกรรมในการใช้ชวี ิต การทางาน ตลอดจนการเรียนรู้ ทาใหม้ นษุ ยต์ ้องปรับตัว และยกระดบั สมรรถนะของตน เพอ่ื ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลง ตลอดจนสามารถเปน็ กาลงั สาคัญของการขับเคลื่อน สู่ประเทศ 4.0 ซึ่งปรับเปลี่ยนจากเศรษฐกิจท่ีขับเคลื่อนด้วยประสิทธิภาพเป็นเศรษฐกิจท่ีขับเคลื่อนด้วย นวัตกรรม อันเป็นเป้าหมายของการปฏิรูปประเทศไทย (ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2560) โดยประเทศไทยต้องสร้าง และพัฒนาคนไทยให้เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ มี ความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ เน้นการอ่านออก เขียนได้ คิดวิเคราะห์เป็น สามารถสร้างวิสัยทัศน์ และ วางแผนอนาคตที่ดีของตนเองได้ รวมถึงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของคนไทย โดยคานึงถึง ประโยชน์ส่วนรวมและประเทศชาติเป็นหลัก (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2559, น. 2) ซ่ึง การศึกษาเปน็ เคร่อื งมอื สาคญั ในการยกระดบั คุณภาพทรัพยากรมนุษย์ในประเทศเพ่ือเตรียมกาลงั คนให้พร้อมใน การเป็นกลไกสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทยสูเ่ ศรษฐกจิ ระดับภูมิภาคและระดับนานาชาติ จากการติดตามผลการสอบวดั ความรู้นักเรียนนานาชาติ (Programme for International Student Assessment : PISA) ปี พ.ศ. 2562 พบว่า นักเรียนไทยมีคะแนนเฉล่ียต่ากว่าค่าเฉล่ียของประเทศสมาชิก องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for Economic Co-operation and Development : OECD) ทั้งด้านการอ่าน คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี, 2562) ซึ่งสอดคล้องกับรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปี การศึกษา 2562 ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ของสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2 ท่ีพบว่า มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าคะแนนเฉล่ียระดับชาติทั้ง 4 กลุ่มสาระวิชาหลัก (สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศกึ ษาแมฮ่ ่องสอน เขต 2, 2563, น. 19) โดยประเด็นปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทีอ่ ยู่ในเกณฑต์ ่าน้ันมี สาเหตุมาจากปจั จยั หลัก คือ ครผู สู้ อน ซงึ่ โรงเรยี นมีครสู อนไมค่ รบชั้นหรอื ครสู อนไมต่ รงวฒุ ิ (สานักงานเลขาธกิ าร สภาการศึกษา, 2552, น. 6) ทั้งน้ี สภาพของครูสอนไม่ครบช้ัน และครูสอนไม่ตรงวุฒิเป็นปัญหาสาคัญในการจดั การศึกษาในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน เนื่องจากจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีสภาพภูมิประเทศที่ล้อมรอบด้วยภูเขาสูง ทรุ กันดาร อยหู่ า่ งไกลความเจรญิ การเดนิ ทางในพ้ืนทเ่ี ปน็ ไปด้วยความยากลาบาก จงึ เปน็ การยากทจี่ ะหาครูเข้า ไปสอนตามอาเภอและโรงเรียนต่างๆ ได้อย่างทั่วถึง (สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2552, น. 7) ประกอบกับในสถานการณ์ปัจจุบัน จานวนนักเรียนของโรงเรียนต่างๆมีแนวโน้มลดลงไปเรื่อยๆ ส่งผลใหส้ านักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาแมฮ่ อ่ งสอน เขต 2 มโี รงเรยี นขนาดเลก็ ในสงั กัดมากถึงร้อยละ 70.35 ซ่ึงทาให้ประสบปญั หาเก่ยี วกับ มจี านวนครนู อ้ ย แตต่ อ้ งรับผดิ ชอบสอนหลายชัน้ เรยี น และครมู ีภาระงาน ในหน้าท่ีอนื่ มาก จงึ ทาใหไ้ ม่สามารถสอนนักเรยี นได้เต็มเวลา และเต็มศักยภาพ ซึ่งส่งผลให้ ผลสมั ฤทธ์ิทางการ เรียนของนักเรยี นตา่ มาอย่างต่อเน่ือง

นับตั้งแต่ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2557 เป็นต้นมา กระทรวงศึกษาธิการได้เร่งรัดพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกลซ่ึงประสบปัญหาขาดแคลนครู ครูสอนไม่ครบชั้น ครูสอนไม่ตรงสาขา วิชาเอก รวมทั้งเป็นการเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาให้แก่เด็ก โดยการขยายผลโครงการพัฒนาการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television : DLTV) ไปยังโรงเรียนขนาดเล็กท่ัวประเทศ จานวน 15,369 โรงเรียน รับสัญญาณการเรียนการสอนจากโรงเรียนวังไกลกังวล (ศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยี การศึกษาทางไกล, 2559, น. 2) โดยมีโรงเรียนขนาดเล็กทุกโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2 เข้ารว่ มโครงการดงั กล่าว ทั้งน้ีมผี ลการวจิ ัยของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาอื่น ยืนยันว่าการนาการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็กสามารถ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้จริง เช่น งานวิจัยของอนุสรณ์ ฟูเจริญ (2557) ท่ีวิจัยเรื่อง รูปแบบการจัด การศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 พบว่า 1) ครูและผู้อานวยการโรงเรียน มีความรู้ความเข้าใจในรูปแบบโดย ภาพรวมหลังการใช้สูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบ และมีความคิดเห็นต่อรูปแบบโดย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) นักเรียนมีความรู้ตามหลักสูตร โดยภาพรวมหลังการใช้สูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบ และงานวิจัยของ รุ่งทิพย์ สิงห์สุติน และคณะ (2558) ที่ศึกษาเกี่ยวกับการประเมินการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียน ขนาดเลก็ สงั กัดสานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาลาพนู เขต 2 พบว่า ผลการทดสอบสอบทางการศึกษา ระดบั ชาติ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 (O-NET) ของโรงเรยี นขนาดเล็กทจ่ี ัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม มผี ล การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ 5 กลุม่ สาระการเรียนรู้สงู กว่าคะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศทกุ วิชา ผ่านเกณฑ์ การประเมินผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และการเขียน นอกจากนี้ ผลการประเมินคุณลักษณะท่ีพึง ประสงค์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ในภาพรวม มีผลการประเมินอยู่ในระดับดี-ดีเยี่ยม โดยผ่าน เกณฑ์การประเมิน แต่อย่างไรก็ตาม ในช่วงที่ผ่านมา แม้โรงเรียนขนาดเล็กในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 จะมีการจัดการเรียนการสอนด้วยการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม แต่ผลการ ทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติข้นั พ้นื ฐาน ในระดับสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษายงั มีคะแนนเฉล่ียต่ากว่าคะแนน เฉล่ียระดับชาติอย่างต่อเน่ือง ซึ่งปัญหาน้ี ผู้วิจัยในฐานะท่ีเป็นศึกษานิเทศก์และได้รับผิดชอบกลุ่มงานส่งเสริม พฒั นาส่อื นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา และจากการได้นิเทศ กากบั ติดตาม การจัดการศึกษาทางไกล ผา่ นดาวเทียมของโรงเรียนในสังกัด พบว่า การจดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเล็กยังไม่มี ประสิทธิภาพ เพราะ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน ส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ขาดความชัดเจนใน บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา บทบาทของครูผู้สอน ตลอดจนการปฏิบตั งิ านในการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียมของโรงเรียน และเม่ือมีการนิเทศ ติดตาม จากผู้นิเทศภายนอกโรงเรียน บุคลากรในโรงเรียนยังไม่ให้ ความไวว้ างใจในการให้ข้อมูล และท่ีสาคญั การจดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียนยังไม่เกิดจากการ มีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเก่ียวข้องเท่าท่ีควร แต่เป็นเพียงการปฏิบัติตามนโยบายของต้นสังกัดเท่าน้ัน นอกจากนี้ จนั ทร์ วงั กลั ยา (2562, สัมภาษณ์) กล่าววา่ การนเิ ทศการศกึ ษาภายในโรงเรยี น โดยผู้อานวยการโรงเรียนหรือผู้ ได้รบั มอบหมาย ได้ดาเนนิ การนิเทศการศกึ ษาแกค่ รูผสู้ อน ซึ่งครูผู้สอนจะถูกนิเทศเพียงฝา่ ยเดียว และไม่มีโอกาส ในการวางแผนการนเิ ทศรว่ มกนั ประกอบกับผู้นิเทศยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการนเิ ทศการศึกษา ทาให้ การนิเทศท่ีผ่านมาไม่ได้ผลเท่าท่ีควร ทาให้บางครั้งครูผู้สอนไม่ยอมรับข้อเสนอแนะการนิเทศ นอกจากนี้ ผู้บริหารสถานศกึ ษา ครผู ูส้ อน มคี วามตอ้ งการให้ศึกษานิเทศก์ สังกดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษา แมฮ่ อ่ งสอน เขต 2 ดาเนินการนิเทศ กากบั ตดิ ตาม การจัดการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียมอย่างตอ่ เนื่อง เพื่อให้ ผมู้ สี ว่ นเกย่ี วข้องทุกคนได้ตระหนกั เหน็ ความสาคัญ มีความรู้ ความเข้าใจ และสง่ เสริมให้ทกุ คนมีส่วนร่วมในการ จัดการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี มของโรงเรียนให้บรรลุตามเปา้ หมาย ทง้ั น้ีสอดคลอ้ งกบั รายงานของสานักงาน

เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 (2562, น. 4) ที่กล่าวว่า การนิเทศเป็นปัจจัยสาคัญที่จะทา ให้การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึ กษาประถม ศึกษา แม่ฮ่องสอน เขต 2 ประสบความสาเร็จตามเป้าหมายได้ ซ่ึงสอดคล้องกับยอดชาย มาน่ิม และฐิตินันท์ ด้วง สุวรรณ (2559) ที่ได้ศึกษาเรื่องแนวทางการดาเนินงานการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมของ โรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 2 พบว่า แนวทางในการแกป้ ญั หาใน การจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม คือ โรงเรียนควรได้รับการนิเทศการจัดการเรียน การสอน ทางไกลผ่านดาวเทียม และสอดคล้องกับอวัฒฆ์ชฎา ศรีจันทร์ และวีรพันธ์ุ ศิริฤทธ์ิ (2558) ที่ได้ศึกษาเร่ือง การ บริหารวิชาการที่จัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียนในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 ให้ข้อเสนอแนะวา่ โรงเรียนควรจัดให้มีการนิเทศ กากับ ติดตาม การจัดการเรียน การสอนทางไกลผา่ นดาวเทียมอย่างต่อเนอื่ ง และเปน็ รปู ธรรม และสอดคลอ้ งกบั สงดั อุทธานันท์, 2540,น. 116) ท่ีกล่าวว่า การนิเทศเป็นการใช้ภาวะผู้นาท่ีทาให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเกิดความร่วมมอื ร่วมใจ ประสานงาน และใช้ ศักยภาพในการทางานอย่างเต็มที่และต่อเนือ่ ง ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการเรียนการ สอนใหส้ งู ขึน้ และใชท้ รัพยากรในสถานศึกษาให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ การนิเทศที่เกิดจากความร่วมมือของผู้มีส่วนเก่ียวข้อง เป็นเครื่องมือสาคัญอย่างหนึ่งของผู้บริหาร สถานศึกษาที่จะช่วยให้ภารกิจต่างๆประสบความสาเร็จ ทาให้ครูมีความม่ันใจ มีขวัญกาลังใจ และมีความ ภาคภูมิใจที่ประสบความสาเร็จในการปฏิบัติงาน ทาให้เกิดการพัฒนาท่ีถาวร (สานักงานคณะกรรมการการ ประถมศึกษาแห่งชาติ, 2541ก, น. 43) โดยการนิเทศลักษณะน้ี เรียกว่า การนิเทศแบบมีส่วนร่วม ซึ่งเป็น กระบวนการท่สี าคญั ในการสง่ เสรมิ และเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการเรยี นการสอน อนั นามาซ่ึงคุณภาพของโรงเรียนและ ของผู้เรียนให้อยู่ในระดับท่ีน่าพอใจ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2542, น.109) และเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้ภารกิจ ของโรงเรียนประสบความสาเร็จ (สานกั งานสภาสถาบนั ราชภัฎ, 2546, น. 55) ทั้งน้ี การนเิ ทศแบบมีส่วนรว่ ม มี ความจาเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนของครู สามารถช่วยแนะนา ช่วยแก้ปัญหาได้ ทันท่วงที โดยผู้บริหารสถานศึกษา ทีมงาน หรือศึกษานิเทศก์ ตามความเหมาะสมของแต่ละโรงเรียน และมี ผลการวิจัยยืนยันว่าการนิเทศแบบมีส่วนร่วมสามารถพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรียนได้ เช่น ฮาซานะห์ บนิ มะองุ และคณะ (2561) ได้ศกึ ษาเรื่อง การนเิ ทศแบบมีส่วนรว่ มเพ่อื พฒั นาการสอนอ่านเชิงวิพากษ์ สาหรับครูผู้สอนภาษาอังกฤษระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา นราธิวาส เขต 2 พบว่า พฤติกรรมการสอนการอ่านเชิงวิพากษ์ของครูพัฒนาข้ึนในเชิงบวก และสามารถเป็น แนวทางในการสอนการอ่านเชงิ วพิ ากษ์ในต่างบริบท และตา่ งรายวิชาได้ สอดคลอ้ งกบั การศึกษาของ ถาวรวิทย์ อินทมล (2554) ได้ศึกษาเรื่อง การพัฒนาระบบการนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วมโรงเรียนบ้านถ่ิน อาเภอกุดจับ จงั หวดั อดุ รธานี พบวา่ ทาใหค้ รูมีความกระตอื รือรน้ ที่จะพฒั นาตนเองให้ทนั กับการเปล่ียนแปลง มคี วามเช่ือมั่น ในตนเอง มีความรคู้ วามเขา้ ใจ มีความรับผดิ ชอบตอ่ งาน มีการจดั เก็บข้อมลู อยา่ งเป็นระบบ สามารถนาขอ้ มูลมา วิเคราะหแ์ ละสรุปรายงานผลการดาเนนิ งานได้เป็นอย่างดี ทั้งพัฒนาครผู ูส้ อนในด้านการเรียนการสอนใหเ้ ป็นไป ตามจุดมุ่งหมายของการศึกษา เน่ืองจากโรงเรียนจะเข้าใจปัญหาการเรียนการสอนได้ดี สามารถสร้างความ รว่ มมอื การแกป้ ญั หาการทางานร่วมกัน และนเิ ทศกันเองได้ ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงต้องการศึกษาเกี่ยวกับการนิเทศแบบมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม สาหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 เพ่ือรู้ถึง สภาพและความต้องการการนิเทศแบบมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม สาหรับโรงเรียน ขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 ว่าเป็นอย่างไร ควรมีแนวทางการ นิเทศแบบมสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม สาหรับโรงเรยี นขนาดเล็ก สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 แบบไหนที่จะมีความเหมาะสมกับสภาพบริบทพ้ืนที่ และหลังจากใช้

แนวทางการนิเทศแบบมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม สาหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัด สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 ที่พัฒนาข้ึนมาไปแล้วผลที่เกิดข้ึนจะเป็นอย่างไร ทง้ั นี้ เพือ่ เปน็ ประโยชน์ตอ่ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาแมฮ่ ่องสอน เขต 2 ในการส่งเสริม สนับสนุน การนิเทศการจัดการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรยี นขนาดเล็กในสังกัดใหม้ ีประสทิ ธิภาพต่อไป 2. วธิ ีการดาเนินการใหบ้ รรลผุ ล ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพและความต้องการการนิเทศแบบมีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม สาหรับโรงเรียนขนาดเลก็ สงั กัดสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาแมฮ่ ่องสอน เขต 2 ระยะท่ี 2 การพัฒนาแนวทางการนิเทศแบบมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม สาหรับโรงเรียนขนาดเลก็ สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 ระยะท่ี 3 การศึกษาผลการใช้แนวทางการนิเทศแบบมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม สาหรับโรงเรยี นขนาดเลก็ สังกัดสานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาแมฮ่ อ่ งสอน เขต 2 3. ผลลพั ธ์การพัฒนาทคี่ าดหวัง 3.1 เชิงปรมิ าณ 1) การศึกษาสภาพการนิเทศแบบมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม สาหรับ โรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 มีผู้บริหารสถานศึกษา ครูผ้สู อน และศกึ ษานิเทศก์ ใหข้ ้อมลู จานวน 681 คน 2) โรงเรียนขนาดเล็กร่วมการทดลองใช้แนวทางการนิเทศแบบมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียม สาหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 จานวน 15 โรงเรยี น 3) ครูผู้สอนที่ได้รับการนิเทศ ร้อยละ 80 สามารถจัดการเรียนการสอนโดยใช้การศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทยี มได้ 4) ผู้บริหารสถานศึกษาท่ีได้รับการนิเทศ ร้อยละ 80 สามารถบริหารจัดการจัดการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียมได้ 5) นกั เรียนรอ้ ยละ 80 มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับ 3 ขนึ้ ไป 3.2 เชิงคณุ ภาพ 1) แนวทางการนิเทศแบบมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม สาหรับ โรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 ผ่านการประเมินคุณภาพ ตง้ั แต่ระดบั ดีขึ้นไป 2) ครูผู้สอนท่ีได้รับการนิเทศ สามารถจัดการเรียนการสอนโดยใช้การศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทยี มได้อย่างมคี ุณภาพ 3) ผู้บริหารสถานศึกษาที่ได้รับการนิเทศ สามารถบริหารจัดการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทยี มไดอ้ ย่างมีคุณภาพ ลงชอ่ื ..................................................... (นายสรุ พล ศรศี ิลป)์ ตาแหน่ง ศึกษานเิ ทศก์ชานาญการพิเศษ ผ้จู ัดทาขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน 1 ตุลาคม 2564

ความเหน็ ของผู้บังคับบัญชา ( ) เห็นชอบใหเ้ ป็นขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน ( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพ่ือนาไปแก้ไข และเสนอ เพื่อพจิ ารณาอกี ครงั้ ดงั น้ี ........................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ..................................................... (นายคุณาพชิ ศน์ แซมสีมว่ ง) ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา ประถมศึกษาแมฮ่ อ่ งสอน เขต 2 ผบู้ งั คับบญั ชา 1 ตุลาคม 2564

พัฒนาคน พัฒนางาน ประสานสัมพันธ์ สร้างขวัญกำลังใจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook