Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การออกแบบติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

การออกแบบติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

Published by ธเนศ สัตถาผล, 2020-01-21 04:47:42

Description: การออกแบบติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

Search

Read the Text Version

การอบรมเรอ่ื ง มาตรฐานใหม่ การออกแบบและติดต้ังเครอื่ งกาเนดิ ไฟฟ้า รุน่ ๕ นายวเิ ชียร บุษยบัณฑูร วุฒวิ ิศวกรไฟฟ้ากาลงั กรรมการจรรยาบรรณ สมยั ๕ สภาวิศวกร คณะอนกุ รรมการทดสอบความรูทางวศิ วกรรมระดับภาคีวิศวกรพเิ ศษ สภาวิศวกร ทป่ี รึกษาคณะกรรมการสาขาวศิ วกรรมไฟฟา้ วสท ที่ปรึกษาคณะกรรมการสาขาวศิ วกรรมความปลอดภยั อาคาร วสท 1 ท่ีปรกึ ษาคณะกรรมการสาขาวศิ วกรรมปอ้ งกนั อัคคภี ยั วสท ที่ปรึกษาคณะอนกุ รรมการมาตรฐานตดิ ต้งั ทางไฟฟ้าของประเทศไทย วสท อนุกรรมการรา่ งมาตรฐานออกแบบและติดต้งั เครื่องกาเนิดไฟฟ้า วสท อปุ นายก ๓ สมาคมเคร่อื งกาเนิดไฟฟา้ ไทย กรรมการท่ปี รกึ ษา สมาคมผตู้ รวจสอบและบรหิ ารความปลอดภัยอาคาร กรรมการผจู้ ดั การ บริษัท แอซเซท็ เพอฟอร์แมนซ์ โซลชู นั่ จากดั ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๐

2 5.5 การป้องกนั ทางไฟฟา้ (Electrical Protection)  5.5.1 การเดนิ สายระหวา่ งขว้ั ตอ่ ทางไฟฟ้า (Terminal) เพื่อจ่ายโหลดของเครือ่ งกาเนิดไฟฟา้ สารอง ฉุกเฉิน กับอุปกรณป์ ้องกันกระแสเกิน (Over Current Protective Devices) สาหรบั สว่ นจา่ ยโหลด ชดุ แรกควรอยู่ในตาแหน่งที่เดนิ สายสั้นท่ีสดุ เพื่อความมน่ั คง เชื่อถอื ไดข้ องระบบและเพ่อื ความ ปลอดภยั ในการใช้งาน นายวิเชียร บุษยบณั ฑูร วุฒวิ ิศวกรไฟฟ้ากาลงั วฟก๑๐๕๓ บรษิ ทั แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูช่นั จากดั

 5.5.2 อุปกรณ์ตดั ตอนหลัก (Main Circuit Breaker) 3 5.5.2.1 Circuit Breakers สาหรับเคร่อื งกาเนดิ ไฟฟ้าใชไ้ ด้ทัง้ ประเภท Molded Case หรอื Power Circuit Breaker 5.5.2.2 Molded Case Circuit Breaker จะ ติดตั้งทต่ี ัวเครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟา้ หรือตดิ ตงั้ ในต้ตู ดิ ผนงั แยก ตา่ งหากก็ได้ ท้ังน้ีจะมีขนาดอยใู่ นช่วง 10 – 1,600 A นายวิเชยี ร บุษยบณั ฑูร วฒุ ิวิศวกรไฟฟ้ากาลงั วฟก๑๐๕๓ บรษิ ทั แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู น่ั จากัด

4 5.5.2.3 Power Circuit Breaker จะมขี นาดอยู่ในช่วง 800 – 6,300 A ซึ่งมขี นาดใหญ่กวา่ และทางาน ได้รวดเร็วกว่า Molded Case Circuit Breaker จะติด Power Circuit Breaker ในตชู้ นดิ แยกต่างหากจากเครื่องกาเนดิ ไฟฟ้า เนื่องจากมีขนาดใหญห่ รอื หาก ตดิ ตั้งทต่ี วั เคร่ืองกาเนดิ ไฟฟ้าก็ต้องมี อุปกรณ์ปอ้ งกนั แรงสั่นสะเทอื นเพื่อ ป้องกนั ความเสียหายเนอื่ งจากการ สนั่ สะเทือน นายวเิ ชยี ร บุษยบณั ฑรู วุฒิวศิ วกรไฟฟ้ากาลงั วฟก๑๐๕๓ บริษัท แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู ั่นจากดั

5 5.5.2.4 ในการจัดเตรียม main line breakers จะตอ้ งระบุชนดิ ของอปุ กรณต์ ดั ตอน (Circuit Breakers), ชนดิ ของชดุ สงั่ การ (Trip Unit) และประเภทการใช้งานของอปุ กรณ์ว่า เปน็ ประเภท ใช้งานตอ่ เนื่องหรอื ไม่ (Continuous or non – continuous) นายวเิ ชยี ร บุษยบัณฑูร วฒุ วิ ศิ วกรไฟฟ้ากาลงั วฟก๑๐๕๓ บรษิ ัท แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู ัน่ จากดั

 5.5.3 การปอ้ งกนั การเกิดความผดิ พร่อง (Fault) และกระแสไฟฟ้าเกนิ การหาขนาด 6 Circuit Breaker ปอ้ งกันสายเมน (MAN LINE ) ของเครอื่ งกาเนิดไฟฟ้าสารองฉุกเฉิน ให้เป็นไปดังนี้ นายวเิ ชียร บุษยบณั ฑรู วุฒวิ ศิ วกรไฟฟ้ากาลงั วฟก๑๐๕๓ บริษทั แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู นั่ จากัด

7 5.3.1 100A Continuous 1.25 x 80 = 100A 5.5.3.1 กรณที ี่ Circuit Breaker GEN Continuous ถูกผลติ มาให้ใช้กบั กระแสโหลดเต็มพกิ ัด 100A Load ต่อเนื่อง (Continuous Full Load) ได้ (3Ph 400V 80A ตลอดเวลาก็สามารถใช้เท่ากับกระแสพิกัด 69.3KVA) (Rated Current) เครือ่ งกาเนดิ ไฟฟ้าสารอง Non- ฉกุ เฉินไดห้ รือจะใช้ขนาดกระแสทใี่ หญข่ น้ึ GEN 100A Continuous continuous ถดั ไปหรอื สงู กวา่ โดยใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ จิ ของ ผู้ออกแบบ 100A Load (3Ph 400V 100A 5.5.3.2 กรณที ี่ Circuit Breaker 69.3KVA) ถกู ผลิตมาให้รับกระแสโหลดตอ่ เน่อื งได้ 80% Continuous ขนาดกระแสของ Circuit Breaker ตอ้ ง 5.3.2 125A x 80% = 100A Load ออกแบบ ใหม้ ากกว่ากระแสพกิ ัด (Rated 125A 80% 80A Current) 1.25 เท่า GEN 100A Non- (3Ph 400V continuous 69.3KVA) Load GEN 125A x 80% = 100A 100A 100A 125A 80% (3Ph 400V 69.3KVA) นายวเิ ชยี ร บุษยบณั ฑรู วุฒิวศิ วกรไฟฟ้ากาลงั วฟก๑๐๕๓ บรษิ ทั แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู ัน่ จากัด

8 5.5.3.3 กรณที ่ีมโี หลดต่าง ๆ ใช้งานร่วมกันมาก และเป็น Load ต่างชนิดกัน การหาขนาด ของ Circuit Breaker จะต้องเท่ากบั หรือมากกว่าผลรวมของกระแสตามรายการดังน้ี 5.5.3.3.1 1.25  กระแสตอ่ เน่อื งของโหลดที่ไม่ใช่มอเตอร์ 5.5.3.3.2 กระแส Load ไม่ตอ่ เนอื่ งท่ีไม่เป็นมอเตอร์  DF (Demand Factor) 5.5.3.3.3 1.25  กระแสเตม็ พิกดั ของมอเตอรต์ วั ท่ใี หญท่ สี่ ดุ 5.5.3.3.4 ผลบวกของกระแสเตม็ พิกัดของมอเตอรท์ ุกตวั 5.5.3.3.5 ขนาดสายเมนไฟฟา้ ของเครอื่ งกาเนดิ ไฟฟ้าให้เปน็ ไปตามมาตรฐานของ วสท 1.25 x DF x 1.25 x  5.3.3.1 + 5.3.3.2 + 5.3.3.4 + 5.3.3.5 Non motors load Non motors load Largest Motor Remained Motors continuous noncontinuous นายวเิ ชียร บุษยบณั ฑรู วุฒวิ ศิ วกรไฟฟา้ กาลงั วฟก๑๐๕๓ บริษทั แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู ่นั จากดั

Protection vs Reliability  5.5.4 การปอ้ งกนั การใชง้ านเกินกาลังของเครอื่ งกาเนิดไฟฟา้ (Over Load Protection) ขนาดแรงดนั ต่าตงั้ แต่แรงดนั 600 โวลต์ 9 ลงมา ซงึ่ ใช้เปน็ เครื่องฉุกเฉนิ หรือสารอง ซึง่ แม้ในแตล่ ะปีจะใช้งาน ไม่กชี่ ัว่ โมง ก็ต้องจดั ให้มี เครอื่ งปอ้ งกนั ต่าง ๆ อย่างนอ้ ยตามท่รี ะบุ ไวใ้ นมาตรฐานของ วสท. ทัง้ น้ี ในบางกรณที เี่ คร่ืองกาเนิดไฟฟา้ ต้องจา่ ยโหลดท่เี ปน็ วิกฤตอยา่ งต่อเนอื่ ง การตดิ ต้ังเครื่องป้องกัน ไฟฟ้าเพิม่ เตมิ ให้ถอื เป็นดลุ ยพนิ จิ ของผู้ออกแบบ  5.5.5 การปอ้ งกันอาจจะแบ่งปอ้ งกนั เปน็ Zone เช่น ปอ้ งกัน เครอื่ งกาเนิดไฟฟา้ , ปอ้ งกนั สายป้อน (Feeder) หรือป้องกันความ รอ้ นท่เี กดิ ขึน้ ในขดลวดจากการไหลของกระแส ซึง่ ตรวจสอบจาก Damage Curve ของ Alternator การปอ้ งกันกระแสเกนิ ของ เครื่องกาเนดิ ไฟฟ้ารวมถึง การป้องกันการเกิดการลัดวงจรในทุก ๆ ส่วนใน Zone นนั้ ๆ นายวเิ ชียร บุษยบณั ฑูร วฒุ ิวศิ วกรไฟฟา้ กาลงั วฟก๑๐๕๓ บริษทั แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูชน่ั จากัด

10 5.5.6 อปุ กรณป์ ้องกันกระแส เกนิ (overcurrent protective devices) ที่ติดตงั้ ในระบบไฟฟา้ สารองฉุกเฉินจะต้องทางาน ประสานกันโดยเลือกให้อปุ กรณ์ ทางาน ณ จุดทเ่ี หมาะสมเมือ่ เกดิ เหตกุ ระแสลัดวงจรในระบบ นายวเิ ชยี ร บุษยบณั ฑูร วฒุ วิ ิศวกรไฟฟ้ากาลงั วฟก๑๐๕๓ บริษัท แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู นั่ จากดั

11  5.5.7 ขนาดของกระแสลดั วงจรสูงสดุ (Maximum Interrupting Capacity, IC) ทง้ั ทเ่ี กดิ จากทางดา้ นจา่ ยไฟ หลกั และดา้ นจา่ ยไฟฉกุ เฉินจะตอ้ งได้รับการประเมินเพอื่ กาหนดขนาดของการทางานประสานกนั ของอปุ กรณ์  5.5.8 ขนาดพิกดั กระแสลัดวงจรของอปุ กรณป์ ้องกันกระแส เกนิ (Overcurrent Protective Device Rating) จะตอ้ ง เท่ากบั หรือมากกว่าขนาดกระแสลัดวงจรสงู สุด (Maximum Interrupting Capacity, IC) ท่อี าจเกิดขึน้ ท่ีจดุ ทีต่ ง้ั อปุ กรณน์ ัน้  5.5.9 การเข้าถงึ อปุ กรณป์ อ้ งกนั กระแสเกนิ สาหรับ วงจรไฟฟ้าสารองฉกุ เฉนิ จะสามารถกระทาได้เฉพาะ เจา้ หน้าที่ท่ีไดร้ บั มอบหมายเทา่ นั้น นายวิเชยี ร บุษยบณั ฑรู วฒุ วิ ศิ วกรไฟฟา้ กาลงั วฟก๑๐๕๓ บริษัท แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู ่ันจากดั

12 มาตรฐานการติดตง้ั ทางไฟฟ้าสาหรับระบบจา่ ยไฟฟา้ สารอง (ตอ่ ) (Standby Electrical System Installation) 5.6 ระบบสายดนิ (Grounding System)  5.6.1 ระบบสายดินท่กี ล่าวถึงในหมวดนี้จะครอบคลุมถึงเฉพาะเครอ่ื งกาเนิดไฟฟ้า สารองชนิดแรงดนั ดา้ นออกไมเ่ กนิ 600 V และใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการติดต้งั ระบบ ไฟฟ้าสาหรบั ประเทศไทยของ วสท. ฉบับล่าสดุ  5.6.2 สายดนิ ต้องถกู ตอ่ เขา้ กบั สว่ นที่เปน็ โลหะทไ่ี มม่ ีกระแสไฟฟ้าไหลผา่ น โดยขนาด ของสายดินให้คิดตามพกิ ัดของเครอ่ื งปอ้ งกันกระแสเกนิ และต้องเปน็ ไปตามมาตรฐาน การติดต้ังระบบไฟฟ้าสาหรบั ประเทศไทย ของ วสท.ฉบับลา่ สุด  5.6.3 ระบบสายดินสาหรับเคร่ืองกาเนดิ ไฟฟา้ สารองจะแบ่งเปน็ 2 ส่วนคอื ระบบสาย ดินสาหรบั ระบบไฟฟ้า และระบบสายดินสาหรับอุปกรณ์ ท้งั นี้ สายดินทง้ั 2 จะตอ้ งถกู เชือ่ มถงึ กัน นายวิเชียร บุษยบัณฑรู วฒุ ิวศิ วกรไฟฟา้ กาลงั วฟก๑๐๕๓ บริษัท แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู น่ั จากัด

ขนาดต่าสุดสายต่อหลกั ดนิ (ต.4-1) 13 และขนาดตา่ สดุ ของสายดินบรภิ ัณฑ์ไฟฟา้ (ต.4-2) มาตรฐานติดต้งั ทางไฟฟ้าสาหรบั ประเทศไทย พ.ศ. 2556 นายวเิ ชยี ร บุษยบณั ฑูร วุฒิวศิ วกรไฟฟา้ กาลงั วฟก๑๐๕๓ บริษัท แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู น่ั จากัด

14 TT SYSTEM นายวเิ ชียร บุษยบณั ฑูร วุฒวิ ิศวกรไฟฟา้ กาลงั วฟก๑๐๕๓ บรษิ ทั แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู ัน่ จากัด

15 TN SYSTEM นายวเิ ชียร บุษยบณั ฑูร วฒุ วิ ิศวกรไฟฟา้ กาลงั วฟก๑๐๕๓ บรษิ ทั แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู ัน่ จากัด

16 IT SYSTEM นายวเิ ชียร บุษยบณั ฑรู วุฒวิ ิศวกรไฟฟา้ กาลงั วฟก๑๐๕๓ บรษิ ทั แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู ัน่ จากัด

17 TNCS SYSTEM ขนาดสายต่าสดุ ใช้ตารางท่ี 4-2 ขนาดสายต่าสดุ ใช้ตารางท่ี 4-1 นายวเิ ชียร บุษยบณั ฑูร วฒุ วิ ศิ วกรไฟฟ้ากาลัง วฟก๑๐๕๓ บรษิ ัท แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู ่นั จากัด

18  6.4 การต่อสายดินสาหรบั เคร่ืองกาเนดิ ไฟฟ้าสารองเป็นดงั นี้ โหลด 3 เฟส 3 สาย รูปท่ี 5.5 ระบบ 3 เฟส 3 สาย อุปกรณส์ บั เปล่ียนแหลง่ จา่ ยไฟอัตโนมัตชิ นิด 3 ขัว้ 5.6.4.1 ระบบ 3 เฟส 3 สาย อปุ กรณส์ ับเปล่ียนแหลง่ จา่ ยไฟอตั โนมตั ชิ นดิ 3 ข้ัว การ ต่อระบบสายดินจะเปน็ ชนดิ Solid Grounded หรอื Resistance Grounded หรอื Ungrounded กไ็ ด้ นายวเิ ชยี ร บุษยบัณฑูร วฒุ ิวิศวกรไฟฟ้ากาลัง วฟก๑๐๕๓ บรษิ ัท แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู น่ั จากดั

19 5.6.4.2 ระบบ 3 เฟส 4 สาย อปุ กรณส์ บั เปล่ียนแหล่งจา่ ยไฟอัตโนมตั ิชนิด 3 ขวั้ ทเ่ี ครื่อง กาเนดิ ไฟฟา้ ไมม่ ีการตดิ ตง้ั อปุ กรณป์ ้องกนั ความผิดพรอ่ งลงดิน (Ground Fault Protection, GFP) แต่มกี ารตดิ ต้ังทเี่ มนแหลง่ จ่ายไฟฟา้ หลัก การต่อระบบสายดนิ จะตอ่ ท่ี เมนไฟฟ้าเข้าอาคารเพียงจดุ เดียวทงั้ น้ี ใหจ้ ัดเตรียมปา้ ยสัญลักษณ์บอกถงึ ตาแหนง่ การตอ่ ลงดนิ ของสายศูนย์ (Neutral) ของเคร่อื งกาเนดิ ไฟฟ้าสารองดว้ ย โหลด 3 เฟส 4 สาย รูปที่ 5.6 ระบบ 3 เฟส 4 สาย อุปกรณ์สับเปลย่ี นแหล่งจ่ายไฟอตั โนมตั ิชนดิ 3 ขวั้ การตอ่ ระบบสายดินจะต่อที่เมนไฟฟ้าเขา้ อาคารเพียงจุดเดยี ว นายวเิ ชียร บุษยบณั ฑรู วฒุ วิ ิศวกรไฟฟ้ากาลัง วฟก๑๐๕๓ บริษทั แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูชั่นจากัด

20 5.6.4.3 ระบบ 3 เฟส 4 สาย อุปกรณ์สบั เปล่ยี นแหล่งจ่ายไฟอตั โนมตั ิชนดิ 4 ข้ัวทเ่ี คร่อื ง กาเนิดไฟฟา้ มีการตดิ ตง้ั อุปกรณ์ป้องกันความผดิ พรอ่ งลงดนิ (Ground Fault Protection, GFP) การต่อระบบสายดินจะต่อท่ีเมนไฟฟา้ เขา้ อาคารทเี่ ครื่องกาเนดิ ไฟฟา้ สารอง โหลด 3 เฟส 4 สาย รปู ท่ี 5.7 ระบบ 3 เฟส 4 สาย อปุ กรณ์สบั เปล่ียนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัตชิ นดิ 4 ขวั้ การตอ่ ระบบสายดินจะต่อทเ่ี มนไฟฟา้ เขา้ อาคารทเี่ คร่ืองกาเนดิ ไฟฟ้าสารอง นายวเิ ชียร บุษยบณั ฑรู วุฒวิ ิศวกรไฟฟา้ กาลัง วฟก๑๐๕๓ บรษิ ทั แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูชั่นจากัด

21 นายวเิ ชยี ร บุษยบัณฑูร วฒุ วิ ศิ วกรไฟฟา้ กาลัง วฟก๑๐๕๓ บรษิ ัท แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูช่ันจากดั

22 นายวเิ ชยี ร บุษยบัณฑูร วฒุ วิ ศิ วกรไฟฟา้ กาลัง วฟก๑๐๕๓ บรษิ ัท แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูช่ันจากดั

23 5.6.4.4 เครอื่ งกาเนดิ ไฟฟ้าจ่ายไฟโดยอิสระแยกต่างหาก ให้ทาการตอ่ ลงดนิ ทีส่ ายนวิ ทรลั โดยต่อลงดนิ จดุ ใดก็ได้ระหวา่ งเคร่อื งกาเนดิ ไฟฟา้ กับแผงเมนสวทิ ซ์ สายต่อฝาก รูปที่ 5.8 การตอ่ ลงดินของระบบจ่ายไฟแยกต่างหาก นายวเิ ชียร บุษยบัณฑรู วุฒวิ ศิ วกรไฟฟ้ากาลงั วฟก๑๐๕๓ บริษทั แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู น่ั จากดั

5.6.4.5 ระบบ 1 เฟส 2 สาย 24 5.6.4.5.1 ระบบ 1 เฟส 2 สาย การตอ่ ระบบสายดนิ จะต่อท่ี สายเมนไฟฟา้ เสน้ ใดเสน้ หน่ึงตามรปู ที่ 5.9 รูปที่ 5.9 การต่อสายดนิ ของเคร่อื งกาเนดิ ไฟฟา้ ระบบ 1 เฟส 2 สาย 5.6.4.5.2 ระบบ 1 เฟส 3 สาย 110 V การตอ่ สายดินจะต่อที่ เส้น L0 (Center Tap) ตามรูปท่ี 5.10 ก รปู ที่ 5.10 ก. การตอ่ สายดนิ ของเครอ่ื งกาเนิดไฟฟา้ ระบบ 1 เฟส 3 สาย 110 V/220 V นายวิเชยี ร บุษยบัณฑรู วฒุ ิวศิ วกรไฟฟ้ากาลงั วฟก๑๐๕๓ บรษิ ัท แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูชน่ั จากัด

25 5.6.4.5.3 ระบบ 1 เฟส 3 สาย 220 V การตอ่ สายดนิ จะตอ่ ทสี่ ายเมนไฟฟ้าเส้นใดเส้น หนึ่งตามรปู ที่ 5.10 ข รปู ท่ี 5.10 ข. การตอ่ สายดินของเครื่องกาเนดิ ไฟฟ้าระบบ 1 เฟส 3 สาย 220 V นายวเิ ชียร บุษยบัณฑูร วฒุ ิวศิ วกรไฟฟ้ากาลัง วฟก๑๐๕๓ บริษัท แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู น่ั จากัด

26 3.4 อปุ กรณส์ บั เปลยี่ นแหลง่ จ่ายไฟ (Transfer Switch)  3.4.1 ท่วั ไป 3.4.1.1 อุปกรณส์ ับเปลี่ยนแหลง่ จา่ ยไฟ (Transfer Switch ) มี 2 ประเภทคอื 3.4.1.1.1 อุปกรณส์ ับเปลย่ี นแหล่งจ่ายไฟอตั โนมัติ (Automatic Transfer Switch) เป็นอปุ กรณท์ ่จี ะทาการสบั เปลย่ี นถ่ายโหลดจากแหล่งจา่ ยไฟหนึง่ มาอีกแหล่งจ่ายไฟหนึง่ ได้ เองโดยอัตโนมัตใิ นกรณที ่ใี ช้อุปกรณส์ ับเปลี่ยนแหลง่ จา่ ยไฟอตั โนมัติ (Automatic Transfer Switch) ระหวา่ งแหลง่ จา่ ยไฟฟา้ หลกั กบั เคร่อื งกาเนิดไฟฟา้ ฉกุ เฉนิ อุปกรณ์สบั เปลย่ี น แหลง่ จ่ายไฟอัตโนมตั ิ (Automatic Transfer Switch) จะต่อดา้ นแหล่งจ่ายไฟฟา้ หลกั ยกเว้นในกรณที ่ีดา้ นแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลกั บกพร่อง จงึ จะโอนถา่ ยโหลดไปดา้ นเครื่องกาเนดิ ไฟฟ้าฉุกเฉนิ ถ้าในกรณที ่ีมไี ฟทั้งสองดา้ น อุปกรณ์สับเปลยี่ นแหล่งจ่ายไฟอตั โนมตั ิ (Automatic Transfer Switch) จะต้องเลอื กต่อด้านแหล่งจา่ ยไฟฟ้าหลักเสมอ นายวิเชียร บุษยบณั ฑรู วฒุ วิ ศิ วกรไฟฟ้ากาลงั วฟก๑๐๕๓ บริษทั แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูช่ันจากดั

27 Automatic Transfer Switch นายวิเชยี ร บุษยบณั ฑูร วุฒวิ ิศวกรไฟฟ้ากาลงั วฟก๑๐๕๓ บรษิ ัท แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู ั่นจากดั

28 3.4.1.1.2 อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหลง่ จ่ายไฟแบบไม่อัตโนมัติ (Non-Automatic Transfer Switch) เปน็ อุปกรณ์ท่ที าการสับเปลย่ี นถา่ ยโหลดจากแหลง่ จ่ายไฟหนง่ึ มาอีก แหลง่ จา่ ยไฟหน่ึงดว้ ยมอื โดยตรงหรือชุดควบคมุ ทางไกลดว้ ยไฟฟา้ (Direct manpower or Electrical remote manual control) นายวเิ ชียร บุษยบัณฑูร วฒุ วิ ศิ วกรไฟฟา้ กาลัง วฟก๑๐๕๓ บริษทั แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูช่นั จากัด

29 3.4.1.2 อปุ กรณ์สบั เปลย่ี นแหลง่ จา่ ยไฟจะต้องมีคณุ สมบัติดงั นี้ 3.4.1.2.1 สามารถทนตอ่ กระแสพุง่ สูงชว่ั ขณะท่ีเกิดขน้ึ ในช่วงการสบั ถ่ายโหลด โดยหน้าสมั ผสั ไม่ละลาย (Closing against inrush currents without contact welding) 3.4.1.2.2 สามารถรับกระแสเต็มพิกัดของโหลดไดอ้ ยา่ งต่อเนือ่ งโดยไมเ่ กิดการ เสียหายเนือ่ งจากความรอ้ นสูงเกนิ พกิ ดั (Carrying full rated current continuously without overheating) 3.4.1.2.3 สามารถทนกระแสลัดวงจรท่เี กิดข้ึนโดยหนา้ สมั ผัสไม่เสยี หาย (Withstanding available short-circuit currents without contact separation 3.4.1.2.4 มีความแมน่ ยาในการตดั และสับเปล่ียนโหลดเพือ่ หลีกเลย่ี งการเกิดวาบ ไฟตามผวิ ระหว่างแหล่งจา่ ยไฟท้งั 2 แหลง่ (Properly interrupting the loads to avoid flashover between the two utility services ) นายวิเชียร บุษยบัณฑูร วุฒวิ ิศวกรไฟฟ้ากาลงั วฟก๑๐๕๓ บรษิ ัท แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูช่นั จากดั

30 3.4.1.3 อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟสามารถรับกระแสต่อเนือ่ งได้ 100% ของ กระแสพิกัดอุปกรณส์ ับเปล่ียนแหล่งจา่ ยไฟนั้น ท่อี ุณหภูมแิ วดล้อมไม่เกนิ 40ºC ยกเว้น อุปกรณ์สับเปลยี่ นแหลง่ จ่ายไฟนน้ั ตดิ ตง้ั อปุ กรณป์ ้องกันกระแสเกิน (Integral overcurrent protective devices) ซึง่ จะจากัดใหร้ องรับกระแสตอ่ เนื่องไดไ้ ม่เกิน 80% ของกระแสพิกดั ของอุปกรณ์ ไม่วา่ ผ้ผู ลิตจะระบพุ ิกดั อปุ กรณ์ในขอ้ มลู ทางเทคนิค (Specification Sheet) วา่ สามารถรองรบั กระแสต่อเน่ืองได้100% กต็ าม 3.4.1.4 ในกรณที ใ่ี นระบบมีการตดิ ต้ังอปุ กรณ์สับเปลยี่ นแหล่งจา่ ยไฟมากกวา่ 1 ชดุ จะต้องติดต้งั อปุ กรณส์ บั เปล่ยี นแหลง่ จา่ ยไฟในกล่องหรือมีผนงั ก้ันแยกจากกัน 3.4.1.5 อปุ กรณ์สับเปล่ยี นแหล่งจ่ายไฟจะตอ้ งเปน็ อุปกรณท์ ผ่ี ลติ ขึน้ เพ่อื ใชง้ านใน กรณีฉุกเฉนิ และตอ้ งประกอบเสรจ็ จากโรงงานผู้ผลติ รวมท้ังได้รับการทดสอบการทางาน ด้วยเครอื่ งมอื ทดสอบเป็นการเฉพาะท่โี รงงาน 3.4.1.6 อปุ กรณส์ บั เปลี่ยนแหล่งจา่ ยไฟอาจเป็นชนดิ 2 ข้ัว หรือ 3 ข้วั (ไม่รวม นิวทรลั ) หรือ 4 ขั้ว (รวมนิวทรลั ) กไ็ ด้ข้นึ อยกู่ บั ลกั ษณะการติดตั้งระบบสายดินและความ จาเป็นในการใชง้ าน นายวเิ ชยี ร บุษยบัณฑูร วฒุ ิวิศวกรไฟฟ้ากาลงั วฟก๑๐๕๓ บริษทั แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู ั่นจากัด

31 3.4.1.7 ค่ากระแสลดั วงจรของ อุปกรณ์สับเปล่ียนแหล่งจ่ายไฟต้องมกี ารระบไุ วอ้ ยา่ ง ชัดเจนวา่ ไดผ้ ่านการทดสอบกบั อุปกรณป์ ้องกนั กระแสลัดวงจรประเภทฟวิ สห์ รอื เซอรก์ ติ เบรคเกอร์ ซ่งึ ถ้าการออกแบบใชเ้ ซอรก์ ิตเบรคเกอร์ อุปกรณ์สับเปลยี่ นแหลง่ จา่ ยไฟท่ี นามาใช้กต็ อ้ งมคี า่ ทนกระแสลัดจงวรเม่ือทดสอบกับเซอรก์ ิตเบรคเกอรเ์ ทา่ กบั หรือสูงกวา่ ค่าทค่ี านวณได้  3.4.2 อุปกรณ์สบั เปล่ยี นแหล่งจ่ายไฟอัตโนมตั ิ (Automatic Transfer Switch) 3.4.2.1 อุปกรณส์ ับเปลีย่ นแหลง่ จ่ายไฟอตั โนมตั ิ (Automatic Transfer Switch) จะตอ้ งมอี งค์ประกอบอย่างนอ้ ยดังน้ี 3.4.2.1.1 ทางานดว้ ยไฟฟา้ และมดี ้ามจับเพือ่ ให้ทางานดว้ ยแรงกลได้ 3.4.2.1.2 สับเปล่ยี นโหลดได้โดยอตั โนมตั ทิ ัง้ ไปและกลับ 3.4.2.1.3 สามารถเหน็ การแจ้งเตอื นด้วยตาเปล่ากรณีที่อปุ กรณอ์ ยใู่ นสภาวะการ ทางานแบบไม่อัตโนมตั ิ (Not-in-automatic) นายวเิ ชียร บุษยบณั ฑูร วฒุ วิ ศิ วกรไฟฟา้ กาลัง วฟก๑๐๕๓ บรษิ ัท แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู ัน่ จากดั

32 3.4.2.2 การตรวจสอบแหลง่ จ่ายไฟ (Source Monitoring) 3.4.2.2.1 จะต้องเตรยี มอุปกรณ์ตรวจจับแรงดนั ไฟตกทีส่ ามารถปรบั ตั้งค่าได้เพ่ือ ตรวจสอบแรงดันไฟฟ้าในสายส่งจากแหล่งจา่ ยไฟหลักทกุ เสน้ โดยมีการทางานดงั น้ี 3.4.2.2.1.1 กรณแี รงดนั ไฟฟา้ ในเฟสใด ๆ ลดลงต่ากวา่ แรงดันพกิ ดั ทจี่ ะ สามารถปอ้ นใหอ้ ปุ กรณ์ในระบบทางานไดอ้ ย่างปลอดภัยซงึ่ โดยปกติต้งั ไว้ท่ี 85% ของ แรงดันอุปกรณ์สับเปลยี่ นแหล่งจา่ ยไฟอัตโนมตั ิ จะกระต้นุ ใหเ้ คร่อื งกาเนดิ ไฟฟา้ สารอง ทางานอย่างอตั โนมตั ิ และเร่มิ กระบวนการสบั เปล่ยี นแหลง่ จา่ ยไฟไปยังแหลง่ จา่ ยไฟสารอง 3.4.2.2.1.2 กรณแี รงดนั ไฟฟ้าของแหลง่ จา่ ยไฟหลกั กลับมามีคา่ ตามพิกัด ทกี่ าหนดในทกุ เฟส ซึง่ โดยปกตติ ง้ั ไวท้ ่ี 90% ของแรงดนั อปุ กรณส์ ับเปลี่ยนแหลง่ จ่ายไฟ อัตโนมัติ จะเริ่มตน้ กระบวนการเปล่ยี นถ่ายแหล่งจ่ายไฟมายังแหลง่ จา่ ยไฟหลัก 3.4.2.2.2 จะต้องตดิ ตงั้ อุปกรณต์ รวจจบั แรงดันและอปุ กรณ์ตรวจจบั ความถท่ี ี่ สามารถปรับต้ังคา่ ไดเ้ พือ่ เฝา้ ระวังสายเมนของเครอ่ื งกาเนิดไฟฟา้ สารองฉุกเฉิน นายวิเชยี ร บุษยบัณฑรู วุฒวิ ศิ วกรไฟฟ้ากาลงั วฟก๑๐๕๓ บรษิ ทั แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูชั่นจากัด

3.4.2.2.3 การสบั เปลี่ยนแหลง่ จา่ ยไฟไปยงั เครื่องกาเนดิ ไฟฟ้าสารองฉกุ เฉิน 33 จะไมส่ ามารถทาได้จนกว่าแรงดนั และความถ่ไี ฟฟา้ จากเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้าจะอยใู่ นระดับทกี่ าหนด ไว้เพ่อื ป้องกนั ไมใ่ หโ้ หลดไดร้ บั ความเสียหายถา้ การโอนถา่ ยเกดิ ขน้ึ 3.4.2.3 อุปกรณ์การโอนถ่ายโดยไม่มกี ารขาดหายของแหลง่ จา่ ยไฟ (Closed Transition Transfer Switch) ในบางกรณที ี่ผ้ใู ช้ตอ้ งการไฟฟ้าท่มี เี สถยี รภาพมากขึน้ การโอนถา่ ยโดยไมม่ ี การขาดหายของแหลง่ จ่ายไฟจึงเป็นทางเลือกหนง่ึ การทางานแบบน้ีได้ต้องใช้ อุปกรณก์ ารโอน ถ่ายโดยไม่มีการขาดหายของแหลง่ จา่ ยไฟที่สามารถทางานไดท้ ้งั แบบ Break before Make หรือ Make before Break นน้ั ตอ้ งมชี ดุ ควบคุมทีส่ ามารถสัง่ งานแบบ Break before Make เมอ่ื มีแหล่งจา่ ยเพียงดา้ นเดยี วและสัง่ งานแบบ Make before Break เม่อื มแี หล่งจา่ ยทง้ั สอง ด้านและทงั้ สองแหลง่ จ่ายเช่ือมประสานกัน (Synchronized) นายวเิ ชียร บุษยบัณฑรู วุฒิวิศวกรไฟฟา้ กาลงั วฟก๑๐๕๓ บริษทั แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู นั่ จากัด

3.4.2.3.1 ในกรณีทกี่ ระแสไฟฟา้ จากแหลง่ จ่ายไฟหลกั ขัดขอ้ งอปุ กรณก์ ารโอนถ่ายโดยไม่ 34 มกี ารขาดหายของแหลง่ จ่ายไฟ (Closed Transition Transfer Switch) จะโอนถา่ ยแหลง่ จา่ ยไฟ ไปยังเครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟา้ ฉกุ เฉินแบบ Break before Make (เปดิ หน้าสมั ผสั ดา้ นแหล่งจา่ ยไฟหลกั กอ่ น ปิดหน้าสัมผสั ดา้ นเคร่อื งกาเนดิ ไฟฟา้ ฉกุ เฉิน) เพราะวา่ มีแหล่งจา่ ยดา้ นเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้า เพยี งดา้ นเดียว นายวิเชียร บุษยบัณฑรู วุฒวิ ศิ วกรไฟฟ้ากาลัง วฟก๑๐๕๓ บรษิ ทั แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูชนั่ จากัด

3.4.2.3.2 เมื่อไฟด้านแหล่งจา่ ยไฟฟา้ หลกั กลบั มา อปุ กรณก์ ารโอนถา่ ยโดยไม่มกี ารขาด 35 หายของแหล่งจา่ ยไฟ (Closed Transition Transfer Switch)จะทาการโอนถ่ายแหลง่ จ่ายไฟไปยงั แหล่งจา่ ยไฟหลักแบบ Make before Break (ปดิ หน้าสัมผสั ด้านแหล่งจ่ายไฟหลักกอ่ นเปดิ หน้าสัมผัสด้านเครือ่ งกาเนดิ ไฟฟ้าฉกุ เฉนิ ) เมอ่ื แหลง่ จ่ายทงั้ สองแหล่ง เช่อื มประสานกนั (Synchronized) ทาให้ไมเ่ กดิ ไฟกระพรบิ ท่ีดา้ นโหลด นายวิเชียร บุษยบณั ฑรู วุฒิวิศวกรไฟฟ้ากาลงั วฟก๑๐๕๓ บรษิ ัท แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูชนั่ จากัด

3.4.2.4 อปุ กรณ์ป้องกันการทางานพรอ้ มกนั (Interlocking) เปน็ ชนดิ ทางานทางกลหรือ 36 ชนิดอื่นทีไ่ ด้รับการอนุมตั ใิ ห้ใช้งานแทนกนั ไดเ้ พ่อื ปอ้ งกันการทางานพรอ้ มกันของแหลง่ จ่ายไฟหลัก กับแหลง่ จา่ ยไฟสารองหรอื ระหวา่ งแหลง่ จา่ ยไฟอ่นื ทแ่ี ยกกนั ทงั้ น้ี ยกเว้นในกรณที ่ี อุปกรณ์ สบั เปลยี่ นแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) เป็นอปุ กรณก์ ารโอนถ่ายโดยไม่ มกี ารขาดหายของแหล่งจา่ ยไฟ (Closed Transition Transfer Switch) นายวิเชียร บุษยบณั ฑูร วุฒิวิศวกรไฟฟ้ากาลัง วฟก๑๐๕๓ บริษทั แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูชัน่ จากดั

37 Closed Transition Transfer Switch นายวิเชียร บุษยบัณฑูร วุฒวิ ิศวกรไฟฟ้ากาลงั วฟก๑๐๕๓ บรษิ ัท แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู ั่นจากดั

3.4.2.5 จะต้องจัดเตรยี มคาแนะนาพร้อมอปุ กรณเ์ พือ่ ให้สามารถทางานดว้ ยมือ (Manual 38 Operation) ในกรณอี ุปกรณส์ ับเปลย่ี นแหล่งจ่ายไฟอัตโนมตั ิไมส่ ามารถทางานได้ตามปกติ 3.4.2.6 ตอ้ งจัดเตรียมอปุ กรณ์หนว่ งเวลาในการทางานของเครอ่ื งกาเนิดไฟฟา้ สารองเพื่อ ป้องกนั การสตาร์ทของเครอ่ื งโดยไมจ่ าเป็นในกรณีท่ีเกดิ ไฟกระพริบและการหายไปช่วั ขณะ (D.P) ของแหล่งจ่ายไฟหลกั 3.4.2.7 จะตอ้ งจัดเตรยี มอปุ กรณ์หนว่ งเวลาสาหรับการสับเปลยี่ นแหลง่ จา่ ยไฟสาหรบั อปุ กรณท์ ่ีติดตั้งในระดับ 1 เพือ่ ป้องกันแรงดนั ไฟตกมากเกินกาหนด และจะเรม่ิ ทางานเมือ่ เครอื่ ง กาเนิดไฟฟ้าสารองสามารถผลิตระดบั แรงดนั ไฟฟ้าและความถ่ีไฟฟา้ ไดค้ า่ ตามทีก่ าหนด นายวิเชยี ร บุษยบัณฑรู วุฒิวิศวกรไฟฟา้ กาลัง วฟก๑๐๕๓ บริษทั แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูชั่นจากดั

39 3.4.2.8 คา่ หน่วงเวลาสตาร์ทเครอ่ื งกาเนิดไฟฟ้าสารองฉุกเฉิน (Engine Starting Time Delay) เป็นการหนว่ งเวลากอ่ นสตาร์ทเครื่องกาเนดิ ไฟฟ้าสารองฉกุ เฉินหลังจากที่ไฟด้าน แหล่งจ่ายไฟฟ้าหลักไมไ่ ด้คุณภาพตามท่ีตั้งไว้ เพ่ือลดการสตาร์ทเคร่อื งกาเนดิ ไฟฟา้ บอ่ ยเกินไป โดยสามารถปรบั ตง้ั ได้ทั้งที่ อุปกรณส์ บั เปล่ยี นแหล่งจา่ ยไฟอัตโนมตั ิ (Automatic Transfer Switch) หรอื ที่ชดุ ควบคุมของเคร่อื งกาเนิดไฟฟ้าสารองฉกุ เฉนิ โดยปกตกิ าหนดไว้ที่ 3 วินาทหี รอื ตามความต้องการของผูใ้ ชง้ าน 3.4.2.9 คา่ หนว่ งเวลาโอนถ่ายไปเคร่ืองกาเนดิ ไฟฟา้ สารองฉกุ เฉิน (Normal to Emergency Time Delay) เป็นการหน่วงเวลาก่อนท่ี อปุ กรณ์สบั เปล่ียนแหล่งจา่ ยไฟอตั โนมัติ (Automatic Transfer Switch) จะโอนถา่ ยไปเครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟา้ สารองฉกุ เฉิน โดยสามารถปรบั ตง้ั ได้ทัง้ ท่ี อุปกรณส์ ับเปล่ยี นแหล่งจา่ ยไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) และเคร่ืองกาเนดิ ไฟฟ้า สารองฉกุ เฉนิ ปกติกาหนดไวไ้ ม่เกิน 1 นาทีหรอื ตามความตอ้ งการของผู้ใชง้ านซึ่งการเรม่ิ นับเวลา นัน้ จะเร่ิมเมอ่ื แรงดนั และความถข่ี องไฟฟา้ ดา้ นเครื่องกาเนิดไฟฟา้ เทา่ กับหรือสงู กวา่ ค่าทต่ี ง้ั ไว้ นายวเิ ชยี ร บุษยบณั ฑูร วุฒวิ ศิ วกรไฟฟา้ กาลงั วฟก๑๐๕๓ บริษทั แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูชน่ั จากดั

3.4.2.10 ค่าหนว่ งเวลาโอนถา่ ยกลับมาแหลง่ จ่ายไฟฟา้ หลกั (Emergency to Normal 40 Time Delay) เปน็ การหน่วงเวลากอ่ นที่ อปุ กรณ์สับเปลยี่ นแหล่งจา่ ยไฟอตั โนมตั ิ (Automatic Transfer Switch) จะโอนถา่ ยไปแหล่งจา่ ยไฟฟ้าหลักเพอ่ื ให้ม่ันใจว่าไฟด้านแหลง่ จา่ ยไฟฟ้า หลกั ได้คณุ ภาพจรงิ โดยท่อี ุปกรณส์ บั เปลีย่ นแหล่งจา่ ยไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) ต้องมสี วิทชส์ าหรับยกเลกิ คา่ หนว่ งเวลา (Override) นีไ้ ว้ด้วย โดยปกตสิ ามารถ กาหนดไดต้ ง้ั แต่ 0 – 30 นาที หรือมากกว่า ขนึ้ อยูก่ บั การใช้งาน 3.4.2.11 ในขณะทร่ี อการนบั เวลาในข้อ 3.4.2.10 อยู่นัน้ กรณที เ่ี ครอ่ื งกาเนิดไฟฟา้ ไม่ สามารถสรา้ งแรงดนั และความถี่ไดต้ ามท่ตี ้องการ การนับเวลาจะถกู ยกเลกิ และ อุปกรณ์ สบั เปล่ียนแหลง่ จา่ ยไฟอัตโนมตั ิ (Automatic Transfer Switch) ต้องทาการโอนถา่ ยไปด้าน แหลง่ จ่ายไฟหลัก เมอื่ แรงดันและความถขี่ องไฟฟ้าดา้ นแหลง่ จา่ ยไฟหลกั อยู่ในเกณฑ์ทยี่ อมรับ ได้ 3.4.2.12 ค่าหน่วงเวลา เพ่ือทาการระบายความร้อน (Engine Cool Down Time Delay) เป็นค่าหน่วงเวลาเพอ่ื ให้เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าทาการระบายความร้อนเปน็ เวลาอยา่ งนอ้ ย 5 นาที โดยท่ีสามารถปรับตง้ั ไดท้ ั้งท่ี อุปกรณ์สบั เปลย่ี นแหล่งจา่ ยไฟอตั โนมัติ (Automatic Transfer Switch) หรอื ทีช่ ุดควบคุมของเคร่ืองกาเนดิ ไฟฟ้า นายวิเชยี ร บุษยบัณฑูร วุฒวิ ศิ วกรไฟฟา้ กาลัง วฟก๑๐๕๓ บรษิ ัท แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู ั่นจากดั

3.4.2.13 การเดินเคร่อื งเพ่อื ตรวจสอบความพร้อมของเครื่องกาเนดิ ไฟฟ้า (Exercised) 41 เครื่องกาเนดิ ไฟฟา้ จะต้องทาการเดินเคร่อื งเพอื่ ตรวจสอบความพร้อมอยา่ งน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ๆ ละอยา่ งน้อย 30 นาที โดยมวี ธิ ีการเดินเคร่อื งดงั นี้ 3.4.2.13.1 เดนิ เคร่อื งจา่ ยโหลดโดยรักษาอุณหภูมิตา่ สดุ ของก๊าซไอเสยี ไว้ตาม ขอ้ กาหนดของบริษัทผผู้ ลิต 3.4.2.13.2 จ่ายโหลด 30 เปอรเ์ ซ็นต์ของขนาดเครอื่ งกาเนดิ ไฟฟา้ (Name Plate KW) ภายใตส้ ภาวะอณุ หภูมใิ ช้งาน (Under Operating Temperature Condition) โปรแกรมสาหรบั การเดนิ เคร่ืองเพือ่ ตรวจสอบความพร้อม (Exercise) เครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟ้าตอ้ งถกู ติดตงั้ ไว้ท่ี อุปกรณส์ ับเปลี่ยนแหล่งจา่ ยไฟอตั โนมตั ิ (Automatic Transfer Switch) หรือเคร่อื งกาเนิดไฟฟ้า 3.4.2.14 สวทิ ชห์ รือปุ่มกดสาหรบั ทดสอบ (Test Switch) สวิทชห์ รอื ปมุ่ กดสาหรับทดสอบ อปุ กรณ์สบั เปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมตั ิ (Automatic Transfer Switch) ต้องถูกตดิ ตั้งไว้ทอี่ ุปกรณ์สบั เปล่ียนแหล่งจา่ ยไฟอตั โนมัติ (Automatic Transfer Switch) ทกุ ตัวเพ่ือจาลองการทางานขณะท่เี กดิ ไฟฟา้ ดบั และโอนถ่ายแหลง่ จ่ายไฟ ไปยังเครือ่ งกาเนดิ ไฟฟ้า นายวเิ ชียร บุษยบณั ฑูร วฒุ ิวศิ วกรไฟฟา้ กาลัง วฟก๑๐๕๓ บริษัท แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูชั่นจากัด

3.4.2.15 อปุ กรณบ์ อกตาแหน่งของ อปุ กรณ์สับเปลย่ี นแหลง่ จา่ ยไฟอตั โนมัติ (Automatic 42 Transfer Switch) ต้องมีหลอดไฟแสดงตาแหนง่ พร้อมป้ายบอกตาแหน่ง หรืออปุ กรณ์บอก ตาแหนง่ แบบอ่นื ท่ไี ด้รบั การอนุมตั ิเพ่ือแสดงว่า อปุ กรณส์ ับเปล่ยี นแหล่งจา่ ยไฟอตั โนมัติ (Automatic Transfer Switch) ในขณะน้ันต่ออยู่ด้านแหล่งจา่ ยไฟฟา้ หลักหรอื เคร่อื งกาเนิด ไฟฟา้ และตดิ ต้งั อยใู่ นจุดท่สี ามารถมองเห็นได้ชดั เจน 3.4.2.16 การโอนถา่ ยโหลดที่เปน็ มอเตอร์ ในการโอนถ่ายโหลดทเ่ี ป็นมอเตอร์ บางคร้งั จะ เกดิ กระแสกระชาก (Inrush Current) เน่ืองจากความต่างเฟสกนั อุปกรณ์สับเปลย่ี น แหลง่ จ่ายไฟอตั โนมัติ (Automatic Transfer Switch) ตอ้ งมคี ุณสมบัตใิ นการลดกระแส กระชากขณะโอนถ่ายโหลดมอเตอร์เพ่อื ลดความเสยี หายทเ่ี กดิ ขึ้นกับโหลดมอเตอร์และการทริ ปของอปุ กรณ์ปอ้ งกนั โดยไมจ่ าเปน็ 3.4.2.17 หน้าสมั ผัสสายศูนย์ (Neutral Contact) ในกรณที ีม่ กี ารแยกระบบสายดินระหวา่ ง สองแหลง่ จ่ายคอื แหลง่ จ่ายไฟฟ้าหลกั และเครอื่ งกาเนิดไฟฟ้าเพอ่ื ให้การทางานของชุดปอ้ งกัน ความผดิ พรอ่ งลงดิน (Ground fault) ถูกต้อง ต้องมขี ัว้ หนา้ สมั ผัสสายศนู ย์ตดิ ตงั้ ท่ี อุปกรณ์ สับเปลี่ยนแหล่งจา่ ยไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) เพ่ือแยกสายศนู ยข์ อง แหลง่ จ่ายไฟฟา้ หลกั กบั เคร่อื งกาเนิดไฟฟา้ ออกจากกนั เพื่อลดกระแสไหลวนเมอ่ื เกดิ ความผดิ พรอ่ งลงดิน (Ground fault) ที่มผี ลทาใหก้ ารตรวจเช็คของชุดปอ้ งกนั ความผิดพร่องลงดิน (Ground fault) ผิดพลาด นายวิเชยี ร บุษยบัณฑูร วฒุ วิ ศิ วกรไฟฟา้ กาลงั วฟก๑๐๕๓ บรษิ ทั แอซเซท็ เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูช่ันจากดั

 3.4.3 อปุ กรณ์สบั เปลย่ี นแหล่งจา่ ยไฟฟ้าแบบไม่อตั โนมตั ิ (Non-Automatic Transfer 43 Switch) เป็นอปุ กรณ์สับเปลย่ี นแหลง่ จา่ ยไฟดว้ ยมือโดยตรงหรอื ดว้ ยไฟฟ้าโดยการควบคุม ระยะไกลดว้ ยมอื (Remote Manual Control) ท้งั นี้ จะต้องมอี ปุ กรณ์อย่างน้อยดังนี้ 3.4.3.1 อปุ กรณ์ปอ้ งกันการต่อถึงกัน (Interlocking) เปน็ ชนดิ ทางานทางกลหรือชนดิ อ่ืน ที่ไดร้ บั การอนมุ ัตใิ ห้ใช้งานแทนกันไดเ้ พอ่ื ปอ้ งกันการต่อถงึ กนั ของแหลง่ จ่ายไฟหลกั กบั แหล่งจ่ายไฟสารองหรอื ระหว่างแหลง่ จ่ายไฟอ่นื ท่ีแยกกนั 3.4.3.2 อุปกรณ์บอกตาแหน่งของ อุปกรณส์ บั เปล่ียนแหล่งจา่ ยไฟแบบไม่อัตโนมตั ิ (Non- Automatic Transfer Switch) ต้องมหี ลอดไฟแสดงตาแหน่งพรอ้ มปา้ ยบอกตาแหนง่ หรอื อุปกรณบ์ อกตาแหน่งแบบอืน่ ทไี่ ด้รบั การอนมุ ตั ิ เพื่อแสดงวา่ อปุ กรณ์สับเปล่ียนแหลง่ จา่ ยไฟ แบบไม่อัตโนมตั ิ (Non-Automatic Transfer Switch) ในขณะนั้นต่ออยูด่ า้ นแหล่งจ่ายไฟฟา้ หลกั หรือเครอื่ งกาเนิดไฟฟา้ และตดิ ตั้งอยูใ่ นจุดท่ีสามารถมองเหน็ ไดช้ ัดเจนทง้ั นี้ การสับเปลีย่ น แหลง่ จ่ายไฟฟา้ ของอปุ กรณข์ า้ งตน้ จะต้องทาการสบั เปลี่ยนในขณะไม่มีโหลด นายวิเชียร บุษยบัณฑูร วุฒวิ ิศวกรไฟฟา้ กาลัง วฟก๑๐๕๓ บรษิ ัท แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู น่ั จากัด

 3.4.4 สวิทช์ต่อตรง (Bypass-Isolation 44 Switch) 3.4.4.1 สวิทชต์ ่อตรงมีไว้สาหรับต่อ ตรงกระแสทจ่ี า่ ยไปยงั โหลดใหผ้ า่ นชดุ สวิทช์ ตอ่ ตรงแทนทจี่ ะผ่านตัว อปุ กรณส์ ับเปลยี่ น แหลง่ จา่ ยไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) แล้วทาใหส้ ามารถถอด หรือแยกชุด อปุ กรณส์ ับเปลี่ยนแหลง่ จ่ายไฟ อตั โนมตั ิ (Automatic Transfer Switch) ออกมาได้โดยทไ่ี ม่ตอ้ งดบั ไฟทจ่ี ่ายไปยงั โหลด ทั้งน้ี สวิทชต์ ่อตรงดังกลา่ วจะต้องมกี ลไก สบั เปลย่ี นไมม่ ากกว่า 2 ชดุ เพ่อื ปอ้ งกัน ความผดิ พลาดในการทางาน นายวเิ ชียร บุษยบัณฑรู วุฒวิ ศิ วกรไฟฟา้ กาลัง วฟก๑๐๕๓ บริษทั แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู ัน่ จากดั

3.4.4.2 ตอ้ งมขี นาดกระแสพิกัดและ 45 แรงดันพกิ ัดเท่ากับ อปุ กรณ์สับเปลี่ยน แหลง่ จา่ ยไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) ทต่ี ่ออยู่ และต้องผลติ , ประกอบและ ทดสอบสมบูรณ์เรยี บร้อยมาจากโรงงาน ผู้ผลิต 3.4.4.3 การต่อตรงสโู่ หลดต้องสามารถ ต่อตรงไปด้านแหล่งจา่ ยไฟฟา้ หลกั (Bypass to Normal) หรือเครื่องกาเนดิ ไฟฟ้า (Bypass to Emergency) อย่างใดอย่างหน่งึ หรือทั้ง สองอย่างก็ได้ 3.4.4.4 ตอ้ งเตรยี มสวิทช์ต่อตรงไว้ สาหรับการตอ่ ตรงสู่โหลดไปยังด้าน แหล่งจ่ายไฟหลัก (Bypass to Normal) และ เคร่ืองกาเนิดไฟฟา้ (Bypass to Emergency) สาหรับโหลดระดับ 1 (Level 1) นายวิเชยี ร บุษยบณั ฑรู วุฒวิ ิศวกรไฟฟ้ากาลงั วฟก๑๐๕๓ บริษัท แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู ั่นจากดั

46 3.5 การขนานแหลง่ จ่ายไฟเขา้ ระบบ (Synchronization) การทาการขนานแหลง่ จา่ ยไฟเขา้ ระบบต้องเปน็ แบบอัตโนมตั ิโดยจะต้องใช้ Synchronizing Relay และ Main protective Device ต้อง เปน็ เซอร์กิตเบรคเกอร์แบบทใ่ี ชม้ อเตอร์ขบั (Motor Operated) เมือ่ Synchronizing Relay ตรวจสอบได้วา่ แหลง่ จา่ ยไฟมีเฟสทที่ ิศทางตรงกันและทาบกัน ได้พอดี (In Phase) แลว้ อุปกรณ์จะสั่งให้ สบั เซอร์กิตเบรกเกอรโ์ ดยอตั โิ นมัติเมือ่ ค่าต่าง ๆ ได้ถกู ปรับเปลยี่ นใหเ้ ป็นค่าเดียวกัน ดงั น้ี  แรงดันเทา่ กนั  ความถเี่ ทา่ กัน  การหมุนของเฟสไปทางเดียวกัน  เครอื่ งต้องมีเฟสทีท่ ศิ ทางตรงกันและทาบกนั ไดพ้ อดี (In Phase) เมื่อจะทาการสับเซอรก์ ิตเบรคเกอร์  อปุ กรณค์ วบคุมแรงดนั (Voltage Regulator) มคี ณุ สมบัติคลา้ ยกัน  อุปกรณ์ควบคุมความเร็วรอบ (Governor) ของเครื่องยนตม์ ีคุณสมบัติคลา้ ยกัน นายวิเชยี ร บุษยบณั ฑูร วุฒิวิศวกรไฟฟ้ากาลัง วฟก๑๐๕๓ บริษัท แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู น่ั จากัด

47 นายวเิ ชยี ร บุษยบัณฑูร วฒุ วิ ศิ วกรไฟฟา้ กาลัง วฟก๑๐๕๓ บรษิ ัท แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูช่ันจากดั

48 นายวเิ ชยี ร บุษยบัณฑูร วฒุ วิ ศิ วกรไฟฟา้ กาลัง วฟก๑๐๕๓ บรษิ ัท แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลูช่ันจากดั

49 สสี าย ๓ เฟส ตามมาตรฐานใหม่ นายวเิ ชยี ร บุษยบัณฑรู วฒุ ิวิศวกรไฟฟ้ากาลงั วฟก๑๐๕๓ บรษิ ัท แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู ่นั จากดั

สสี าย ๑ เฟส ตามมาตรฐานใหม่ 50 นายวเิ ชยี ร บุษยบัณฑรู วุฒวิ ศิ วกรไฟฟ้ากาลัง วฟก๑๐๕๓ บริษัท แอซเซ็ท เพอฟอรแ์ มนซ์ โซลชู ัน่ จากดั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook