Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา ม.1

ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา ม.1

Description: ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา ม.1

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ๑ สาหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา เล่มท่ี ๑ ประวตั ิและความสำคญั ของพระพทุ ธศาสนา สาระท่ี ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบตั ิตามหลักธรรม เพือ่ อยู่ร่วมกนั อย่างสันตสิ ุข 0 ตัวชี้วดั : สิง่ ทีน่ ักเรยี นพึงร้แู ละปฏิบัติได้ ส ๑.๑ ม.๑/๑ อธิบายการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศไทย ส ๑.๑ ม.๑/๒ วิเคราะหค์ วามสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ทีม่ ตี ่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทย รวมทั้งการพฒั นาตนเอง และครอบครัว สาระสาคัญ พระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนาที่คนไทยนับถือมากที่สดุ และมีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิต ของคนไทยมาช้านาน การศกึ ษาประวัติการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทยและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา จะทาให้เข้าใจการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทยได้ ท้ังยังทาให้ พุทธศาสนิกชนตระหนักถึงความสาคญั ของพระพุทธศาสนาที่มีต่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทย รวมทั้งการพัฒนาตนเองและครอบครัว

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ๒ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑. บอกความหมาย สาเหตุ ประโยชน์ ประวตั ิ และรูปแบบการสงั คายนาพระไตรปิฎกได้ ๒. บอกความเป็นมาของการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาที่เข้ามาสู่ประเทศไทยได้ ๓. บอกความสาคญั ของพระพุทธศาสนาทีม่ ตี ่อชีวติ และความเปน็ อยู่ของคนไทยได้ ๔. มีทกั ษะกระบวนการทางานเป็นรายบคุ คลและรายกลุ่ม ๕. มีคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ด้านความมวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ และมุ่งม่ันในการทางาน ขอบข่ายเนือ้ หา เอกสารประกอบการเรียนวิชาพระพุทธศาสนา เร่ือง หลักธรรมนาชีวิต กลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา สาสนา และวฒั นธรรม ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคัญ ของพระพุทธศาสนา ใช้เวลาเรียนท้ังหมด ๓ ชั่วโมง ประกอบด้วยเน้ือหาที่สาคัญ จานวน ๓ ตอน ดังน้ี ตอนที่ ๑ การสังคายนา ตอนที่ ๒ การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทย ตอนที่ ๓ ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาต่อสังคมไทย

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ๓ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา ประวตั ิและความสาคัญของพระพุทธศาสนา คาชี้แจง ๑. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวน ๑๕ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน ๒. ใชเ้ วลาในการทดสอบ ๑๕ นาที ๓. ใหน้ ักเรียนทาเครอ่ื งหมายกากบาท () ทบั ตวั ก ข ค หรอื ง ลงในกระดาษคาตอบที่แจกให้ ********************************************************************************* ๑. ข้อใดมีความหมายตรงกบั คาวา่ “สงั คายนา” ก. การจดั พิมพ์พระไตรปิฎก ข. การประชมุ สงฆ์ทุก ๑๕ วัน ค. การแก้ไขปรบั ปรุงพระพุทธวจนะ ง. การรวบรวมพระธรรมวินัยเป็นหมวดหมู่ ๒. ข้อใดไมใ่ ช่ประโยชน์ของการสังคายนา ก. ทาให้เกิดพระไตรปิฎก ข. เกิดการตั้งหวั หนา้ คณะสงฆ์หรอื พระสังฆราชขนึ้ ค. กาจัดและป้องกันพวกอลัชชีไม่ใหป้ ลอมเข้ามาบวช ง. สร้างความเข้าใจในพระธรรมวินัยให้ถกู ต้องตรงกันในหมู่พทุ ธบริษัท ๓. เหตผุ ลในข้อใดที่ทาให้มีการสังคายนาคร้ังที่ ๑ ก. มีเดียรถีย์ปลอมบวชกนั มาก ข. พระสงฆ์แตกความสามคั คีกนั ค. สภุ ัททะกล่าววาจาดูหมน่ิ พระพทุ ธองค์ ง. พระภิกษสุ งฆ์สว่ นมากประพฤติเหลวไหล

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ๔ สาหรับนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา ๔. การทาสังคายนาคร้ังที่ ๓ อยู่ในความอุปถัมภ์ของใคร ก. พระเจ้ากาฬาโศก ข. พระเจา้ อโศกมหาราช ค. พระเจา้ วัฏฏคามณีอภยั ง. พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ ๕. สถานที่ใดคือสถานทีใ่ นการทาสงั คายนาคร้ังแรกในประเทศไทย ก. วดั โพธาราม จงั หวัดเชียงใหม่ ข. เจดีย์วดั เจ็ดยอด จังหวดั เชียงใหม่ ค. พระปรางค์สามยอด จังหวัดลพบรุ ี ง. วัดมหาธาตยุ ุวราชรังสฤษฎิ์ กรุงเทพมหานคร ๖. พระเถระทีม่ ีบทบาทในการนาพระพุทธศาสนาเข้ามาเผยแผย่ ังดินแดนสวุ รรณภูมิคอื ข้อใด ก. พระโสณเถระและพระอุตตรเถระ ข. พระโสณเถระและพระมหนิ ทรเถระ ค. พระมหาเทวเถระและพระมหารักขิตตเถระ ง. พระโยนกธัมมรักขิตตเถระและพระอุตตรเถระ ๗. หลกั ฐานใดที่ขุดพบในเขตภาคกลางของไทย ซึ่งเปน็ การแสดงถึงความเจรญิ ของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย ก. พระไตรปิฎก ข. พระพทุ ธรูปโบราณ ค. โบราณสถานที่เก่าแก่ ง. ธรรมจักรศิลากบั กวางหมอบ ๘. พทุ ธศาสนานิกายมหายานมีความเจรญิ รุ่งเรืองในอาณาจักรโบราณใดของไทย ก. อาณาจักรขอม ข. อาณาจกั รฟูนนั ค. อาณาจักรศรวี ิชยั ง. อาณาจักรล้านนา

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ๕ สาหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา ๙. พระพทุ ธศาสนาประดิษฐานทีก่ รงุ สโุ ขทยั ครั้งแรกในรัชสมยั ของพระมหากษตั ริย์พระองค์ใด ก. พญาลิไท ข. พ่อขนุ บานเมอื ง ค. พ่อขุนศรีอนิ ทราทิตย์ ง. พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ๑๐. พระพุทธศาสนาในอาณาจักรล้านนาได้รบั อิทธิพลมาจากอาณาจกั รใด ก. อาณาจักรขอม ข. อาณาจกั รฟนู ัน ค. อาณาจักรสุโขทยั ง. อาณาจกั รล้านช้าง ๑๑. พระมหากษัตรยิ ์พระองค์ใดของอาณาจักรอยธุ ยาทีท่ รงส่งคณะสงฆ์ไปวางพืน้ ฐาน ของพระพุทธศาสนาทีล่ งั กาจนมคี วามมั่นคงอีกคร้ัง ก. พระบรมโกษฐ์ ข. พระนเรศวรมหาราช ค. พระบรมไตรโลกนาถ ง. พระนารายณ์มหาราช ๑๒. การฟืน้ ฟูพระพทุ ธศาสนาในสมยั ธนบรุ ีได้กระทาโดยวิธีการใด ก. การสังคายนาพระไตรปิฎก ข. การตง้ั หวั หนา้ คณะสงฆ์หรือพระสงั ฆราช ค. การสรา้ งวัดไทยขึ้นมาใหม่หลงั ถูกพม่าทาลาย ง. การจดั การข้ันเด็ดขาดกบั พระสงฆ์ที่ปฏิบัตินอกลู่นอกทาง ๑๓. พระราชกรณียกิจสาคญั ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว ด้านพระพทุ ธศาสนา คือขอ้ ใด ก. สร้างมหามกุฏราชวิทยาลัย ข. ก่อตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ค. โปรดเกล้าฯ ให้มกี ารสังคายนาพระไตรปิฎก ง. โปรดเกล้าฯ ให้พิมพพ์ ระไตรปิฎกฉบบั สยามรัฐ

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ๖ สาหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา ๑๔. ข้อใดคือเหตุผลทีพ่ ระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เปลีย่ น การนับศกั ราชจาก ร.ศ มาเปน็ พ.ศ. ก. มีคณะสงฆ์ทูลใหท้ รงเปลีย่ นแปลง ข. เพือ่ จะได้เทียบกับเวลาสากลได้สะดวก ค. เพราะ ร.ศ. ใชม้ าเป็นระยะเวลานานแล้ว ง. เพราะทรงยกย่องพระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนาของชาติไทย ๑๕. “พระมหากษัตรยิ ์มีพระพทุ ธศาสนาอยู่เคียงคู่ รวมทั้งเปน็ หลกั ประกนั ว่าพระประมุข ของชาติเปน็ ชาวพทุ ธ นับถือศาสนาร่วมกันกบั ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ” มีความสัมพันธ์กับข้อใด ก. พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นพทุ ธมามกะ ข. พระพทุ ธศาสนาเปน็ สถาบนั คู่ชาติไทย ค. รฐั บาลไทยส่งเสริมสนบั สนุนพระพทุ ธศาสนา ง. ให้วันสาคัญทางพระพุทธศาสนาเป็นวนั หยุดราชการ

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ๗ สาหรบั นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา การสังคายนา ความหมายของสังคายนา คาว่า สังคายนา หรอื สังคีติ แปลว่า การสวดพร้อมกันหรอื ร่วมกันสวด โดยความหมาย คือ การร้อยกรองพระธรรมวินัย ดังน้ัน การสังคายนาจึงได้แก่ การรวบรวมพระธรรมวินัย ซึ่งเป็นคาสอนของพระพุทธเจ้า เพื่อสอบทานความถูกต้องตรงกัน และจัดเป็นหมวดหมู่ เพือ่ ให้งา่ ยต่อการท่องจา การศกึ ษา และการเผยแผพ่ ระธรรมวินัย สาเหตุของการสงั คายนา ภายหลังการปรินิพพานของพระพุทธเจ้า พระพทุ ธวจนะทีพ่ ระองค์ได้ตรัสตามโอกาส และเหตุการณ์ต่าง ๆ ตลอดพระชนม์ชีพ ส่วนมากจะมีการสืบทอดโดยการท่องจาและการบอกเล่า ทีเ่ รียกว่า มุขปาฐะ อย่างไรก็ตามการทรงจาพระธรรมวินัยจะมากน้อยย่อมขึ้นอยู่กับความสามารถ ของพระสาวกแต่ละรูป ในชั้นต้นพระสาวกที่เป็นพระอรหันต์ยังมีอยู่มาก ความเข้าใจคลาดเคลื่อน ในพระธรรมวินัยย่อมไม่เกิดขึ้น แต่ต่อมาเมื่อพระอรหันตสาวกมีลดน้อยลง ความสงสัย และความเข้าใจผดิ ในพระธรรมวนิ ัยย่อมมีมากขึ้น

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ๘ สาหรบั นกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา ประโยชนข์ องการสงั คายนา การสังคายนาก่อใหเ้ กิดประโยชน์อย่างยิง่ ทั้งต่อพระพุทธศาสนาและพุทธบริษัท ดงั นี้ ๑. กาจัดและป้องกันพวกอลัชชีไม่ให้ปลอมเข้ามาบวช เพื่ออาศัยพระพุทธศาสนา แสวงหาผลประโยชน์ ๒. สร้างความเข้าใจในพระธรรมวินัยใหถ้ ูกต้องตรงกันในหมู่พุทธบริษทั อันเป็นการรกั ษา ความบริสุทธิข์ องพระพุทธวจนะให้สบื ทอดเรือ่ ยมาจนถึงปัจจบุ นั ๓. ทาใหพ้ ระพุทธศาสนาเจริญมั่นคงแพร่หลาย และทาใหเ้ กิดพระไตรปิฎก อนั เป็นคัมภีร์ ทีส่ าคัญต่อการศกึ ษาเรียนรู้พระพุทธศาสนา ประวัติของการสงั คายนา ด้วยเหตุที่พระพุทธศาสนามีสองนิกายหลัก คือ นิกายเถรวาทและนิกายมหายาน การนับจานวนคร้ังในการสังคายนาพระไตรปิฎกจึงไม่ตรงกัน อย่างไรก็ตาม การสังคายนา ได้กระทาติดตอ่ กันมาหลายคร้ัง ท้ังในอินเดียและประเทศอน่ื ๆ รวม ๑๐ ครั้ง ดังน้ี การสังคายนา คร้ังท่ี ๑ สาเหตุ เน่ืองมาจากพระภิกษุชื่อ สุภัททะ ได้กล่าววาจาในทานองดูหมิ่นพระพุทธองค์ และได้แสดงความดีใจเม่ือได้ข่าวพุทธเจ้าปรินิพพาน พระมหากัสสปะเกรงว่าจะเป็นเหตุ ให้พระธรรมวินัยเสื่อมสูญจึงเรียกประชมุ พระสงฆ์เพือ่ กระทาการสังคายนา เวลาท่กี ระทา เริม่ หลงั จากที่พระพุทธเจา้ ปรินิพพานได้ ๓ เดือน กระทาอยู่ ๗ เดือนจงึ สาเร็จ พระสงฆผ์ ูก้ ระทา พระมหากัสสปะเป็นประธาน โดยเปน็ ผสู้ อบถามพระธรรมและพระวินัย โดยมีพระอุบาลี เป็นผู้ตอบด้านพระวินัย และพระอานนท์เป็นผู้ตอบด้านพระธรรม พระสงฆ์ที่เข้าร่วม กระทาการสังคายนาครั้งนี้ มีจานวน ๕๐๐ รปู ซึง่ ล้วนแต่เป็นพระอรหันต์ท้ังสิน้ สถานทแ่ี ละผ้อู ุปถัมภ์ ถ้าสตั ตบรรณคูหา ใกล้กรุงราชคฤห์ โดยมีพระเจา้ อชาติศัตรูเป็นผู้อุปถมั ภ์

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ๙ สาหรบั นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา การสงั คายนา ครัง้ ท่ี ๒ สาเหตุ ภิกษุกลุ่มหนึ่งมีชื่อว่า พระวัชชีบุตร ได้ปฏิบัติหย่อนทางวินัย ๑๐ ประการ เช่น เก็บสะสมเกลือไว้ในเขาสัตว์แล้วนามาผสมอาหารฉันได้หลายวันหรอื ฉันเม่ือตะวันบ่ายแล้ว สองนิ้ว (เทียบราวบ่ายสองโมง) เป็นต้น พระยสกากัณฑบุตรจึงชวนพระเถระต่าง ๆ ให้มาร่วมกนั วินจิ ฉัยแก้ความผดิ ในครั้งนี้ เวลาทก่ี ระทา กระทาใน พ.ศ. ๑๐๐ กระทาอยู่ ๘ เดือนจงึ สาเร็จ พระสงฆ์ผู้กระทา พระยสกากัณฑบุตร เป็นผู้ชวนพระเถระท้ังหลายให้ทาการสังคายนา พระเรวตะ เป็นผู้ซักถามและพระสัพพกาเป็นผู้ตอบปัญหาเกี่ยวกับพระวินัยทั้งหมด โดยมีพระสงฆ์ มาร่วมประชุมกนั ๗๐๐ รปู สถานทแ่ี ละผู้อปุ ถัมภ์ วาลิการาม เมืองเวสาลี (ไพศาลี) แคว้นวัชชี โดยมีพระเจา้ กาฬาโศกเป็นผอู้ ุปถัมภ์ การสังคายนา ครง้ั ท่ี ๓ สาเหตุ มีพวกนอกศาสนาปลอมเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนามากขึ้น ทาให้พระพุทธศาสนา มวั หมอง พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระเห็นว่า อาจเป็นเหตุให้พระพุทธศาสนามัวหมองได้ จงึ ขอความร่วมมือจากพระมหากษตั รยิ ์ให้สังคายนาชาระสะสางพระศาสนาให้บริสทุ ธิ์ เวลาท่กี ระทา กระทาใน พ.ศ. ๒๓๔ กระทาอยู่ ๙ เดือนจงึ สาเร็จ พระสงฆผ์ กู้ ระทา พระโมคคลั ลีบุตรตสิ สเถระเปน็ ประธานและมีพระสงฆ์ประชมุ กัน ๑,๐๐๐ รปู สถานท่แี ละผู้อปุ ถมั ภ์ อโศการาม กรุงปาฏลีบุตร โดยมีพระเจ้าอโศกมหาราชเปน็ ผู้อุปถัมภ์

๑๐เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา การสังคายนา คร้งั ท่ี ๔ สาเหตุ ต้องการวางรากฐานพระพุทธศาสนาในประเทศศรีลงั กา เวลาทก่ี ระทา เริม่ ทาใน พ.ศ. ๒๓๘ โดยไม่ปรากฏระยะเวลาทีก่ ระทา พระสงฆ์ผู้กระทา พระมหินทเถระเป็นประธาน พระอริฏฐะเถระเป็นผู้สวดวินัย และมีพระสงฆ์ ร่วมประชุมกนั ท้ังสิน้ ๖๘,๐๐๐ รปู สถานท่แี ละผ้อู ุปถัมภ์ ถูปาราม เมืองอนุราธปุระ ประเทศศรีลังกา โดยมีพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ เปน็ องค์อุปถัมภ์ การสงั คายนา ครงั้ ท่ี ๕ สาเหตุ พระสงฆ์ในลังกาต่างเห็นพ้องต้องกันว่าพระพุทธวจนะที่ถ่ายทอดกันมาโดยวิธี ท่องจานั้น อาจจะขาดตกบกพร่องได้ในภายภาคหน้า เพราะผู้ที่สามารถจดจาได้มีเหลือน้อยลง ประกอบกับสถานการณ์ทางการเมืองในขณะนั้นกาลังอยู่ในความไม่สงบ เพราะได้เกิด ศึกยืดเยือ้ ระหว่างพวกทมิฬกับชาวสิงหล จงึ ได้บันทึกพระไตรปิฎกเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร เวลาทก่ี ระทา กระทาใน พ.ศ. ๔๓๓ (บางแหง่ ว่า พ.ศ. ๔๕๐) โดยไม่ปรากฏระยะเวลาที่กระทา พระสงฆ์ผูก้ ระทา พระสงฆ์ชาวลงั กา สถานทแ่ี ละผ้อู ปุ ถมั ภ์ อาโลกเลณสถาน มตเลณชนบท (หรือมลัยชนบท) ประเทศศรีลังกา โดยมี พระเจา้ วัฏฏคามณีอภัยเป็นผู้อปุ ถมั ภ์

๑๑เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา การสงั คายนา ครั้งท่ี ๖ สาเหตุ เน่ืองจากในประเทศอินเดีย มเี พียงพระไตรปิฎก ไม่มีอรรถกถา พระพทุ ธโฆษาจารย์ จงึ เดินทางมาแปลอรรถกถาพระไตรปิฎกจากภาษาลังกาเปน็ ภาษาบาลี เวลาท่กี ระทา เริม่ ทาใน พ.ศ. ๙๕๖ โดยไม่ปรากฏระยะเวลาทีก่ ระทา พระสงฆ์ผ้กู ระทา พระพุทธโฆษาจารย์ และพระเถระแหง่ วดั มหาวิหารจานวนหนึ่ง สถานทแ่ี ละผ้อู ุปถัมภ์ วดั มหาวิหาร ประเทศศรีลงั กา โดยมีพระเจ้ามหานามเป็นผู้อุปถัมภ์ การสงั คายนา ครัง้ ท่ี ๗ สาเหตุ เนื่องจากที่ลังกา ยังขาดคัมภีร์ฎีกา (คัมภีร์อรรถกถา) พระเถระทั้งหลาย อันมีพระกัสสปะเป็นประธาน จึงได้ประชุมกันเพื่อรจนาคัมภีร์ฎีกาขึ้น เพื่อประโยชน์ แก่การศกึ ษาพระพุทธศาสนา เวลาท่กี ระทา กระทาใน พ.ศ. ๑๕๘๗ โดยไม่ปรากฏว่าใชร้ ะยะเวลาเท่าใด พระสงฆ์ผู้กระทา พระกัสสปะเถระเปน็ ประธานสงฆร์ ่วมกบั พระสงฆ์อีกจานวน ๑,๐๐๐ รปู สถานท่แี ละผอู้ ุปถัมภ์ ประเทศศรีลงั กา โดยมีพระเจ้าปรากรมพาหมุ หาราชเปน็ องค์อุปถัมภ์

๑๒เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา การสงั คายนา คร้ังท่ี ๘ สาเหตุ พระไตรปิฎกยังขาดตกบกพร่อง ผิดเพี้ยนและไม่ครบ พระเถระผทู้ รงพระไตรปิฎก หลายร้อยรปู จงึ รว่ มกนั ชาระพระไตรปิฎกใหส้ มบรู ณ์ยิง่ ข้ึน เวลาท่กี ระทา กระทาใน พ.ศ. ๒๐๒๐ (รัชสมัยพระเจ้าติโลกราช แห่งอาณาจักรล้านนา) โดยใช้ เวลากระทาอยู่ ๑ ปีจงึ สาเรจ็ พระสงฆ์ผูก้ ระทา พระธรรมทินนเถระเปน็ ประธานสงฆ์ ทาร่วมกบั พระเถระหลายรอ้ ยรูป สถานทแ่ี ละผอู้ ุปถัมภ์ วัดโพธาราม จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย (นับเป็นการสังคายนาครั้งแรก ในประเทศไทย) โดยมีพระเจ้าติโลกราชเป็นองค์อุปถัมภ์ การสงั คายนา ครัง้ ท่ี ๙ สาเหตุ พระผู้ใหญ่ถูกถอดและถูกจับสึก เพราะความประพฤติหย่อนยานในพระธรรมวินัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จึงทรงมีพระราชประสงค์ให้ชาระ พระไตรปิฎกขึ้น เพื่อให้พระสงฆ์ศึกษาพระธรรมวินยั ทีถ่ ูกต้อง เวลาทก่ี ระทา กระทาใน พ.ศ. ๒๓๓๑ (รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช) ใช้เวลากระทาอยู่ ๕ เดือน จงึ สาเร็จ พระสงฆ์ผ้กู ระทา พระเถระ ๒๑๘ รูป และราชบัณฑติ คฤหัสถ์อีก ๓๒ คน ได้ร่วมกนั ชาระคัดลอก สร้างพระไตรปิฎกฉบับหลวง เรียกว่า “ฉบับทองใหญ่” (ต่อมาสร้างอีกสองฉบับ คือ ฉบับรองทอง และฉบับทองชุบ) สถานทแ่ี ละผอู้ ุปถมั ภ์ วดั มหาธาตยุ วุ ราชรงั สฤษฎิ์ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย โดยมีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเปน็ องค์อปุ ถมั ภ์

๑๓เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา การสงั คายนา ครัง้ ท่ี ๑๐ สาเหตุ เพื่อชาระพระไตรปิฎกแล้วจัดพิมพ์ในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเจริญพระชนมายุครบ ๖๐ พรรษา ในพ.ศ. ๒๕๓๐ โดยเรียกว่า “พระไตรปิฎกฉบบั สังคายนา” เวลาทก่ี ระทา กระทาใน พ.ศ. ๒๕๒๘ โดยไม่ปรากฏระยะเวลาที่กระทา พระสงฆ์ผูก้ ระทา มีสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (วาสน์ วาสโน) เป็นองค์ประมุขรว่ มกับพระสงฆ์ท้ังฝ่ายมหานิกายและธรรมยตุ ิกนิกาย สถานท่แี ละผอู้ ปุ ถมั ภ์ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย โดยมีรัฐบาล เป็นผู้อปุ ถมั ภ์ วธิ ีการสังคายนา การสังคายนาจะเริ่มจากการประกาศสมมติตนเป็นผถู้ าม (ปุจฉา) และผู้ตอบ (วิสัชนา) โดยผู้ถามจะสอบถามพระวินัยแต่ละข้อตามลาดับ เม่ือผู้ตอบตอบแล้ว พระสงฆ์ที่เข้าร่วมประชุม จะสวดพระวินัยข้อนั้นพร้อมกัน เม่ือตรงกัน ไม่ผิดพลาด และที่ประชุมสงฆ์รับว่าถูกต้องแล้ว จงึ ถามข้ออ่นื ต่อไปจนจบพระวินยั ปิฎก หลงั จากนั้น จะเริม่ สังคายนาพระสูตรเปน็ ลาดบั ถดั มา

๑๔เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา แบบฝึกหัด

๑๕เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา แบบฝึกหัดท่ี ๑.๑ คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (๕ คะแนน) ************************************************************************************ ๑. การสงั คายนา ความหมายว่าอย่างไร ๒. การสังคายนามีผลตอ่ ความเจริญรงุ่ เรอื งของพระพุทธศาสนาอย่างไร ๓. ประโยชน์ของการสังคายนามีอะไรบ้าง ๔. พระพุทธศาสนามีสองนกิ ายหลกั คอื นิกายใด ๕. การทาสังคายนาทีจ่ ดั ขึ้นในประเทศไทย มีจานวนกี่ครั้ง ได้แก่ครั้งทีเ่ ท่าไร และกระทาที่ใดบ้าง

๑๖เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั นกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา แบบฝึกหัดท่ี ๑.๒ คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนตอบคาถามเกี่ยวกับการทาสังคายนา คร้ังที่ ๑-๑๐ ตามประเด็นทีก่ าหนดให้ถูกต้อง (๑๐ คะแนน) ************************************************************************************ การสังคายนา สาเหตุ : ครง้ั ท่ี ๑ ผเู้ ปน็ ประธานและคณะ : จานวนพระสงฆ์ท่เี ขา้ ร่วม : สถานท่ี : เวลาทก่ี ระทา : ผอู้ ปุ ถัมภ์ : การสังคายนา สาเหตุ : ครั้งท่ี ๒ ผู้เป็นประธานและคณะ : จานวนพระสงฆ์ทเ่ี ข้าร่วม : สถานท่ี : เวลาท่กี ระทา : ผ้อู ุปถัมภ์ :

๑๗เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา การสังคายนา สาเหตุ : ครัง้ ท่ี ๓ ผเู้ ป็นประธานและคณะ : จานวนพระสงฆ์ท่เี ข้าร่วม : สถานท่ี : เวลาทก่ี ระทา : ผอู้ ปุ ถัมภ์ : การสังคายนา สาเหตุ : คร้ังท่ี ๔ ผู้เปน็ ประธานและคณะ : จานวนพระสงฆ์ทเ่ี ข้าร่วม : สถานท่ี : เวลาท่กี ระทา : ผู้อุปถัมภ์ : การสังคายนา สาเหตุ : ครั้งท่ี ๕ ผเู้ ป็นประธานและคณะ : จานวนพระสงฆ์ท่เี ขา้ ร่วม : สถานท่ี : เวลาทก่ี ระทา : ผู้อุปถัมภ์ :

๑๘เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา การสังคายนา สาเหตุ : คร้ังท่ี ๖ ผเู้ ป็นประธานและคณะ : จานวนพระสงฆ์ท่เี ข้าร่วม : สถานท่ี : เวลาทก่ี ระทา : ผอู้ ปุ ถัมภ์ : การสังคายนา สาเหตุ : ครั้งท่ี ๗ ผู้เปน็ ประธานและคณะ : จานวนพระสงฆ์ทเ่ี ข้าร่วม : สถานท่ี : เวลาท่กี ระทา : ผู้อุปถัมภ์ : การสังคายนา สาเหตุ : ครั้งท่ี ๘ ผเู้ ป็นประธานและคณะ : จานวนพระสงฆ์ท่เี ขา้ ร่วม : สถานท่ี : เวลาทก่ี ระทา : ผูอ้ ุปถัมภ์ :

๑๙เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา การสังคายนา สาเหตุ : ครงั้ ท่ี ๙ ผเู้ ป็นประธานและคณะ : จานวนพระสงฆ์ทเ่ี ข้ารว่ ม : สถานท่ี : เวลาทก่ี ระทา : ผอู้ ปุ ถัมภ์ : การสังคายนา สาเหตุ : ครัง้ ท่ี ๑๐ ผ้เู ปน็ ประธานและคณะ : จานวนพระสงฆ์ท่เี ข้ารว่ ม : สถานท่ี : เวลาทก่ี ระทา : ผ้อู ปุ ถมั ภ์ :

๒๐เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทย ภายหลังการสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ ๓ พระเจ้าอโศกมหาราชได้ทรงจัดส่ง พระโสณเถระและพระอุตตรเถระเข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนายังดินแดนสุวรรณภูมิ ทั้งนี้การนับถือพระพุทธศาสนาในดินแดนสุวรรณภูมินี้ แต่ละอาณาจักรจะนับถือนิกายต่างกัน เช่น อาณาจักรทวารวดี อาณาจักรพุกาม และอาณาจักรหริภุญชัย จะนับถือนิกายเถรวาท ส่วนอาณาจักรศรวี ิชัย นับถือนิกายมหายาน เป็นต้น สาหรับการนบั ถือพระพุทธศาสนาในประเทศไทยนั้น สามารถแบ่งได้เปน็ ๔ ยคุ ดังน้ี ยุคเถรวาทสมยั พระเจ้าอโศกมหาราช ในรัชสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ของอินเดียนั้น พระพุทธศาสนา ได้รับการทานุบารุงจนมีความเจริญรุ่งเรืองอย่างมาก พระราชกรณียกิจที่สาคัญประการหนึ่ง ของพระองค์ คือ ทรงจัดให้มีการสังคายนาพระธรรมวินัยขึ้นเป็นครั้งที่ ๓ ซึ่งหลังจากเสร็จสิ้น การสังคายนาครั้งนี้แล้ว พระองค์ได้ส่งคณะสมณฑูตให้เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา ยังดินแดนต่าง ๆ รวม ๙ สาย คอื สายที่ ๑ มีพระมัชฌนั ติกเถระเป็นหวั หนา้ ไปแคว้นแคชเมียและคัณธาระ สายที่ ๒ มีพระมหาเทวเถระเป็นหัวหนา้ ไปมหสิ สก มณฑลทางทิศใต้ของแม่น้าโคธาวารี สายที่ ๓ มีพระรกั ขิตตเถระเปน็ หัวหน้าไปวนวาสปี ระเทศ สายที่ ๔ มีพระโยนกธัมมรกั ขิตตเถระเป็นหวั หน้าไปในอปรันตชนบท สายที่ ๕ มีพระมหาธัมมรกั ขิตตเถระเปน็ หัวหนา้ ไปมหารฏั ฐประเทศ สายที่ ๖ มีพระมหารักขิตตเถระเปน็ หัวหนา้ ไปโยนกประเทศ สายที่ ๗ มีพระมัชฌิมเถระเปน็ หวั หน้าไปทิศวนั ตประเทศ สายที่ ๘ มีพระโสณเถระและพระอุตตรเถระเป็นหวั หน้าไปยังดินแดนสวุ รรณภมู ิ สายที่ ๙ มีพระมหนิ ทรเถระเป็นหวั หน้าไปทวีปลงั กา

๒๑เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา สนั นิษฐานว่าพระโสณเถระและพระอุตตรเถระได้เดินทางมาเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา ยังดินแดนสุวรรณภูมิซึ่งรวมถึงดินแดนอันเป็นที่ตั้งของประเทศไทยในปัจจุบันช่วงก่อนปี พ.ศ. ๕๐๐ โดยสังเกตได้จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยทวารวดีที่ขุดพบบริเวณภาคกลางของไทย เช่น สถูป เจดีย์ ธรรมจักรศิลากับกวางหมอบ รวมท้ังพระพุทธรูปที่ปรากฏในดินแดนแถบนี้ ล้วนเป็นศิลปกรรมอินเดียสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชทั้งสิ้น สาหรับอาณาจักรแรกในดินแดน ที่เป็นที่ตั้งของประเทศไทยปัจจุบันที่ได้รับอิทธิพลของพระพุทธศาสนา คือ อาณาจักรทวารวดี (สันนิษฐานว่าศูนย์กลางอยู่บริเวณภาคกลางของประเทศไทยในปัจจุบัน) โดยนบั ถือพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ภาพที่ ๑.๑ ธรรมจกั รศิลากบั กวางหมอบ ทม่ี า : http://www.thaigoodview.com/ files/u90476/TAVA03.jpg

๒๒เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา ยคุ มหายาน ประมาณ พ.ศ. ๑๓๐๐ อาณาจักร ศรีวชิ ยั เรืองอานาจมาก มีอิทธิพลครอบคลุม พืน้ ที่ทางคาบสมทุ รตอนใต้ ตลอดจนหมู่เกาะ ชวาและสุมาตรา กษัตริย์ศรีวิชัยทรงนับถือ และอุปถัมภ์การเผยแผ่พระพุทธศาสนา นิกายมหายานให้แพร่หลายไปทั่วคาบสมุทร ภาคใต้ ดังมีหลักฐาน เช่น พระโพธิสัตว์ อวโลกิเตศวรสาริด เจดีย์พระบรมธาตุไชยา จังหวดั สุราษฎรธ์ านี เป็นต้น ภาพท่ี ๑.๒ พระโพธสิ ัตวอ์ วโลกิเตศวรสารดิ ต่อมาประมาณ พ.ศ. ๑๕๕๐ ที่มา : https://i.pinimg.com/originals/2a/0b/96/ สมยั พระเจ้าสุริยวรมนั ที่ ๒ แหง่ อาณาจักร 2a0b96b39ca4b916c539587cbb3f0d85.jpg ขอมเรืองอานาจ ได้ทรงแผ่ขยายอิทธิพล ทางการเมืองและพระพุทธศาสนานิกายมหายานมายังเมืองละโว้ ซึ่งนับถือพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาทและศาสนาพราหมณ์-ฮินดูอยู่ก่อนแล้ว ส่งผลให้การนับถือศาสนาในเมืองละโว้ มีการผสานกันระหว่างพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท นิกายมหายาน และศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ดงั มีหลกั ฐานสาคัญ เชน่ พระปรางค์องค์ใหญ่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ และพระปรางค์สามยอด ในจงั หวัดลพบรุ ี ภาพที่ ๑.๓ พระปรางคส์ ามยอด จังหวดั ลพบรุ ี ทมี่ า : http://www.traave.com/wp-content/uploads/Phra-Prang-Sam-Yot.jpg

๒๓เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา ยคุ เถรวาทแบบพุกาม ประมาณ พ.ศ. ๑๖๐๐ สมัยพระเจ้าอนุรุทธมหาราชแห่งอาณาจักรพุกาม ซึ่งนับถือ พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท ได้ทรงแผ่อิทธิพลเข้ามายังล้านนา ส่งผลให้พระพุทธศาสนา นิกายเถรวาทแบบพุกามได้เจริญรุ่งเรอื งขึ้นทางตอนเหนือของไทย หลักฐานสาคัญทางโบราณคดี ทีพ่ บในดินแดนแถบนี้ ได้แก่ เจดีย์วัดเจด็ ยอด จงั หวัดเชียงใหม่ ที่สร้างเลียนแบบเจดีย์พุทธคยา ในอินเดีย และเจดีย์ที่วัดเชียงมั่น จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งได้รับอิทธิพลทางศิลปะแบบพุกาม คือ เป็นเจดีย์ที่มีฐานสูงแบบเรือนธาตุ มีซุ้มจระนาประดับทั้งสี่ด้าน และมีหลังคาซ้อนกันเป็นชั้น เป็นต้น ภาพที่ ๑.๔ เจดยี ์วัดเจ็ดยอด จงั หวดั เชยี งใหม่ ที่มา : http://www.chin54.com/wp-content/uploads/2016/09/108.jpg ภาพท่ี ๑.๕ เจดีย์วดั เชียงมน่ั จังหวดั เชียงใหม่ ทมี่ า : http://www.finearts.go.th/fad8/images/fad8/-02.jpg

๒๔เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา ยุคเถรวาทแบบลังกาวงศ์ ใน พ.ศ.๑๖๙๖ พระเจ้าปรากรมพาหุมหาราช กษัตริย์แห่งลังกา ได้ทรงทานุบารุง พระพุทธศาสนา โดยรวมพระสงฆ์เป็นนิกายเดียวกัน และโปรดเกล้าฯ ให้มีการสังคายนา พระธรรมวินัย คร้ังที่ ๗ ขึ้น ทาให้พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรอื งมาก มีพระสงฆ์จากดินแดนสุวรรณภูมิ เดินทางไปศกึ ษาพระพุทธศาสนาที่ลังกา แล้วนากลบั มาเผยแผ่ในดินแดนของตนเป็นจานวนไม่น้อย สาหรับประเทศไทย พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์นี้เป็นต้นแบบที่คนไทยยอมรับ และนับถือสืบกันมาเป็นเวลาหลายสมัยจนกลายเป็นศาสนาประจาชาติในปัจจุบัน ซึ่งสามารถ สรุปได้ ดังน้ี สมัยสโุ ขทัย ในช่วง พ.ศ. ๑๘๒๐ พ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงทราบกิตติศัพท์การประพฤติเคร่งครัด พระวินัยของพระสงฆใ์ นเมอื งนครศรีธรรมราช ที่นบั ถือพระพทุ ธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์ จึงโปรดเกล้าฯ ให้นิมนต์พระสังฆราชจากเมืองนครศรีธรรมราชขึ้นมาเทศนาส่ังสอนประชาชน ที่กรุงสุโขทัย ปรากฏว่าพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์นี้ เป็นที่เคารพนับถือ ของชาวเมืองสุโขทัยเปน็ อย่างยิง่ ส่งผลให้ลัทธิมหายานค่อย ๆ เสือ่ มสญู ไป หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการนับถือพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทมีมากมาย อาทิ วัดมหาธาตุ ซึ่งเป็นวัดเก่าแก่ที่พระยาเลอไทย กษัตริย์สุโขทัยทรงบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้น โดยมีรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบสุโขทัยอย่างชัดเจน แสดงถึงการนับถือพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาทแบบลังกาวงศข์ องอาณาจักรสุโขทยั นอกจากนีย้ งั มีวรรณคดีพระพทุ ธศาสนาที่สาคัญ ของไทยเร่ือง เตภูมิกถาหรือไตรภูมิพระร่วงก็กาเนิดขึ้นในสมัยนี้ โดยเป็นบทพระราชนิพนธ์ ของพระยาลิไทย กษัตริย์องค์ที่ ๖ ของสโุ ขทยั ภาพที่ ๑.๖ เจดยี ์ทรงพุ่มขา้ วบณิ ฑ์ วัดมหาธาตุ จงั หวดั สุโขทัย ทมี่ า : https://i.ytimg.com/vi/PXwPzHzm4xo/maxresdefault.jpg

๒๕เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา สมัยลา้ นนา เม่ือ พ.ศ. ๑๙๑๓ พระเจ้ากือนา ภาพท่ี ๑.๗ เจดยี ว์ ัดสวนดอก จงั หวัดเชียงใหม่ กษัตริย์แห่งล้านนาได้ทรงส่งพระราชทูต มาอาราธนาพระสังฆราชสุมนเถระจาก ทมี่ า : https://upload.wikimedia.org/wikipedia พระยาลิไทยขึ้นไปล้านนา อันเป็นการเริ่มต้น พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ในดินแดน ภาคเหนือของไทยตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา ดงั มีหลกั ฐานมากมาย อาทิ เจดีย์ที่วดั สวนดอก พระธาตุดอยสุเทพ และเกิดวรรณคดีต่าง ๆ ทางพระพุทธศาสนา อาทิ มังคลัตถทีปนี จักรวาลทีปนี เป็นต้น สมยั อยุธยา ชาวอยุธยานับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทมาแต่เดิม เพราะมีเขตแดน ติดกับสุโขทัย ทาให้พระพุทธศาสนาเผยแผ่ถึงกัน พระสงฆ์อยุธยายังได้เดินทางไปศึกษา พระพทุ ธศาสนาที่ลงั กา จน พ.ศ. ๒๒๙๖ พระพุทธศาสนาในลังกาถึงจุดเสือ่ ม พระเจา้ กิตติศิรริ าชสิงห์ กษตั รยิ ์ลังกาจึงทรงสง่ พระราชสาส์นมาถวายพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เพือ่ ทูลขอพระสงฆ์อยุธยา ไปบวชใหช้ าวสิงหล ซึง่ ได้ทรงส่งพระอุบาลีและ พระอริยมุนีเป็นหัวหน้าคณะสงฆ์ จานวน ๑๕ รูป เดินทางไปยังลังกา นับจากน้ันมาพระพุทธศาสนา ในลังกาจึงได้เจริญขึ้นเป็นลาดับ และทาให้ เกิดเป็นนิกายอบุ าลีวงศ์ หรอื สยามวงศ์ตั้งมั่น อยู่ในลังกาจนถึงทุกวันนี้ หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ที่สาคัญ ในสมัยอยุธยา อาทิ วัดพระศรีสรรเพชญ์ วัดหน้าพระเมรุ วัดราชบูรณะ รวมทั้งเกิด ภาพท่ี ๑.๘ เจดีย์ ๓ องค์ท่ีวัดพระศรสี รรเพชญ์ วรรณคดีพระพุทธศาสนาที่สาคัญหลายเร่ือง อาทิ มหาชาติคาหลวง พระมาลัยคาหลวง ทม่ี า : https://upload.wikimedia.org/wikipedia สมทุ รโฆษคาฉันท์ เปน็ ต้น

๒๖เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา สมยั ธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้ทรงฟื้นฟูพระพุทธศาสนาที่เสื่อมโทรม เพราะภยั สงครามในคราวเสียกรงุ ศรีอยุธยา เม่อื พ.ศ. ๒๓๑๐ โดยโปรดเกล้าฯ ใหน้ ิมนต์พระสงฆ์ ที่หลบหนีภัยสงครามไปยงั ทีต่ ่าง ๆ ใหก้ ลับเข้ามาจาพรรษาอยู่ทีว่ ัดเหมอื นเดิม และใหม้ ีการประชมุ สงฆ์ คัดเลือกพระสงฆ์ทีม่ ีภมู ธิ รรมสูงขึ้นเป็นพระสังฆราช ซึ่งในทีส่ ุดได้มีมติให้พระอาจารย์ดี วดั ประดู่ กรงุ ศรอี ยุธยา เป็นสมเด็จพระสังฆราชองค์แรกของธนบรุ ี นอกจากนี้ ยังโปรดเกล้าฯ ให้ขอยืมพระไตรปิฎกสยามวงศ์ฉบับสมบูรณ์จากทางเหนือ และนครศรธี รรมราชมาคดั ลอกให้เปน็ ต้นฉบับหลวง เพือ่ รักษาหลกั ธรรมไว้ให้ม่นั คง สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ยังทรงปฏิสังขรณ์พระอารามสาคัญและ โปรดเกล้าฯ ให้สมโภชวัดพระมหาธาตุ เมืองนครศรีธรรมราชให้เป็นศูนย์กลาง พระพุทธศาสนาในภาคใต้ ตลอดจนทรงสร้างวัด ในกรุงธนบุรี วัดที่ทรงสร้างมีเพียงวัดเดียว คือ วัดบางยี่เรือเหนือ (วัดราชคฤห์วรวิหาร) ภาพที่ ๑.๙ วดั ราชคฤหว์ รวหิ าร ส่วนวัดที่ทรงปฏิสังขรณ์ คือ วัดบางหว้าใหญ่ วัดแจง้ วดั บางยีเ่ รอื ใต้ และวัดหงส์ ที่มา : https://commons.wikimedia.org ภาพท่ี ๑.๑๐ วัดอรณุ ราชวราราม หรอื เดมิ ชอ่ื วัดแจ้ง ทีม่ า : http://updatetoday.in.th/wp-content/uploads/2017/12/ara.png

๒๗เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา สมยั รตั นโกสินทร์ พระพุทธศาสนาในสมัยรัตนโกสินทร์เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่รับสืบต่อมา จากอยุธยาและธนบุรี พระมหากษัตริย์และประชาชนเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาโดยพระพทุ ธศาสนา ได้หย่ังรากลึกในสังคมสมัยรัตนโกสินทร์อย่างมั่นคง พระมหากษตั ริย์ทุกพระองค์ทรงเป็นอัครอปุ ถมั ภก ของพระพทุ ธศาสนาตลอดมา เช่น รัชกาลที่ ๑ ภาพที่ ๑.๑๑ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช ท่มี า : https://54040733m.wordpress.com เหตุการณ์ทางดา้ นพระพุทธศาสนาทส่ี าคัญ ทรงสร้างวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และทรงปฏิสังขรณ์วัดสุทัศนเทพวราราม โปรดเกล้าฯฯ ให้สังคายนาคร้ัง ๙ มีการแต่งและแปลคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา เช่น ไตรภมู โิ ลกวินจิ ฉัยกถา รตั นพิมพวงศ์ สงั คีตยิ วงศ์ มหาวงศ์ เปน็ ต้น

๒๘เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา รัชกาลที่ ๒ ภาพท่ี ๑.๑๒ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัย ท่ีมา : https://54040733m.wordpress.com เหตุการณท์ างด้านพระพุทธศาสนาท่สี าคัญ ทรงฟื้นฟูประเพณีวิสาขบูชา ทรงส่งพระสงฆ์ไปสืบพระพุทธศาสนายังลังกา ทรงสร้างพระวิหารหลวงวัดสุทัศนฯ์ ทรงสลักบานประตไู ม้ประดบั พระวิหาร ทรงใหห้ ล่อ พอกพระเศยี รและต่อนิว้ พระหัตถ์พระศรีศากยมุนี ซึง่ เดิมส้ันยาวไม่เท่ากัน ใหย้ าวเสมอกัน

๒๙เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั นกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา รชั กาลที่ ๓ ภาพที่ ๑.๑๓ พระบาทสมเด็จพระนง่ั เกล้าเจา้ อยู่หวั ทีม่ า : https://54040733m.wordpress.com เหตกุ ารณ์ทางด้านพระพุทธศาสนาท่สี าคัญ โปรดเกล้าฯ ให้ราชบัณฑิตแต่งและจารึกสรรพวิทยาและทรงให้สร้างพระนอน ยาว ๔๙ เมตร ไว้ที่วัดพระเชตุพนฯ มีการแต่งวรรณคดีพระพุทธศาสนา เช่น ร่ายยาว มหาเวสสันดรชาดก ปฐมสมโพธิกถา สรรพสิทธิค์ าฉนั ท์ โปรดเกล้าฯ ใหช้ ะลอพระพุทธชินสีห์ จากพิษณุโลกมาประดิษฐานทีว่ ัดบวรนิเวศวิหาร

๓๐เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา รชั กาลที่ ๔ ภาพที่ ๑.๑๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทีม่ า : https://54040733m.wordpress.com เหตกุ ารณท์ างด้านพระพุทธศาสนาทส่ี าคัญ เมื่อยังทรงเป็นเจ้าฟ้ามงกุฎ ทรงผนวชเป็นภิกษุ ทรงมีพระฉายานามว่า “วชิรญาโณ” ทรงเลื่อมใสในวัตรปฏิบัติของพระรามัญวงศ์ จึงทรงอุปสมบทใหม่ ภายหลังมีผู้บวชตามมาก จึงทรงต้ังเป็นนิกายใหม่เรียกว่า ธรรมยุติกนิกาย ทรงคิดสร้าง พระพทุ ธรูปที่มพี ุทธลักษณะใกล้เคียงกับมนุษย์มากขนึ้ เช่น พระนิรันตราย โปรดเกล้าฯ ให้มพี ิธีมาฆบชู าขึน้ เป็นครั้งแรก

๓๑เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา รชั กาลที่ ๕ ภาพที่ ๑.๑๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทีม่ า : https://54040733m.wordpress.com เหตกุ ารณท์ างดา้ นพระพุทธศาสนาทส่ี าคัญ ทรงวางรูปแบบการศึกษาคณะสงฆ์ใหม่เป็นแผนกนักธรรมและแผนกบาลี ทรงสถาปนาสถาบันการศึกษาสงฆ์ขั้นสูง คือ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สาหรับให้การศึกษาคณะสงฆ์มหานิกาย และมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย สาหรับคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ทรงให้จัดพิมพ์พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย แทนการจารึก ลงในใบลานเปน็ คร้ังแรก เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๑

๓๒เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา รัชกาลที่ ๖ ภาพท่ี ๑.๑๖ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอย่หู วั ทีม่ า : https://54040733m.wordpress.com เหตุการณท์ างดา้ นพระพุทธศาสนาท่สี าคัญ ทรงพระราชนิพนธ์วรรณคดีพระพุทธศาสนา เช่น พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร มงคลสูตรคาฉันท์ จดหมายเหตุเรื่องพระภิกษุดูฟุตบอล เป็นต้น โปรเกล้าฯ ให้เปลี่ยน ร.ศ. (รัตนโกสินทร์ศก) เป็น พ.ศ. เพื่อยกย่องพระพุทธศาสนา ทรงปฏิสังขรณ์ และพระราชทานนามพระพุทธรูปยืนที่พบที่เมอื งศรีสัชนาลยั ว่า “พระร่วงโรจนฤทธิ์”

๓๓เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา รัชกาลที่ ๗ ภาพที่ ๑.๑๗ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ทม่ี า : https://54040733m.wordpress.com เหตกุ ารณ์ทางด้านพระพุทธศาสนาท่สี าคญั ทรงผนวชและทรงจาพรรษาที่วัดบวรนิเวศวิหาร โดยทรงมีพระฉายานาม ว่า “ปชาธิโป” โปรดเกล้าฯ ให้จัดพิมพ์พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ และทรงให้มีการจัดประกวด หนงั สือสอนพระพทุ ธศาสนาสาหรบั เยาวชน

๓๔เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา รัชกาลที่ ๘ ภาพที่ ๑.๑๘ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล พระอฐั มรามาธบิ ดนิ ทร ทมี่ า : https://54040733m.wordpress.com เหตกุ ารณ์ทางดา้ นพระพุทธศาสนาท่สี าคัญ มีการแปลพระไตรปิฎกเป็นสานวนธรรมดาและสานวนเทศนา เรียกว่า “พระไตรปิฎกเทศนาฉบับหลวง” มีการออกพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๘๔ ซึ่งแบ่งการปกครองคณะสงฆ์เป็นประชาธิปไตยตามแบบการปกครองประเทศ

๓๕เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา รชั กาลที่ ๙ ภาพท่ี ๑.๑๙ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทม่ี า : http://img.sportringside.com/userfiles/images/001.jpg เหตุการณ์ทางดา้ นพระพุทธศาสนาท่สี าคัญ ทรงออกผนวช โดยมีพระฉายานามว่า “ภูมิพโล” มีการบัญญัติกฎหมายคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ กาหนดให้สมเด็จพระสังฆราชเป็นประมุขฝ่ายพุทธจักร มีการสร้างวัดไทยขึ้น ในต่างประเทศ และประเทศไทยกลายเป็นศูนย์กลางในการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาของโลก

๓๖เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา แบบฝึกหัด

๓๗เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา แบบฝึกหัดท่ี ๑.๓ คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนทาเครื่องหมาย () หน้าข้อที่ผดิ และทาเครื่องหมาย () หนา้ ข้อทีถ่ ูกต้อง (๑๐ คะแนน) ************************************************************************************ ( ) ๑. การเผยแพรพ่ ระพุทธศาสนาในสมยั พระเจา้ อโศกมหาราชแบ่งออกเป็น ๙ สาย ( ) ๒. การเผยแพรพ่ ระพทุ ธศาสนายังดินแดนสุวรรณภมู มิ ีพระมหาเทวเถระเปน็ สมณฑูต ( ) ๓. ในปี พ.ศ. ๑๕๕๐ สมัยพระเจา้ สรุ ิยวรมันที่ ๒ แหง่ อาณาจกั รขอมเรืองอานาจ ได้ทรงแผ่ขยายอิทธิพลทางการเมอื งและพระพุทธศาสนานิกายมหายาน มายังเมืองละโว้ ( ) ๔. เจดีย์ท่ีวัดเชียงมั่น จังหวัดเชียงใหม่ เป็นเจดีย์ที่สร้างเลียนแบบเจดีย์พทุ ธคยา ในอินเดีย ( ) ๕. พระพทุ ธศาสนาเผยแผ่เข้าสู่อาณาจกั รสโุ ขทยั ในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๑ ( ) ๖. พระพทุ ธศาสนาเจริญสูงสุดในอาณาจกั รล้านนาสมยั พระเจา้ กือนา ( ) ๗. อยธุ ยารบั เอาความเชื่อทางพระพุทธศาสนามาจากอาณาจกั รล้านนา ( ) ๘. พระพุทธศาสนาที่เผยแผใ่ นประเทศไทยชอ่ื นิกายมหายาน ( ) ๙. ความเสือ่ มโทรมของพระพุทธศาสนาในสมัยธนบุรีเกิดจากการถูกพม่ารกุ ราน ( ) ๑๐. พระพทุ ธศาสนาในสมัยรัตนโกสินทร์เปน็ มรดกทางวัฒนธรรมที่รบั สืบต่อมาจากอยธุ ยา และธนบุรี

๓๘เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา แบบฝึกหัดท่ี ๑.๔ คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนเติมข้อความลงในช่องว่างตอ่ ไปนี้ ให้มคี วามสมบูรณ์ (๑๕ คะแนน) ************************************************************************************ ๑. พระพทุ ธศาสนาถือกาเนิดในประเทศ มีตวามเจริญร่งึ เรอื งสูงสุด ในสมยั ได้มกี ารส่งสมณทูตไปเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา ๙ สาย ๒. การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาส่วนใหญ่ไปเผยแผใ่ นดินแดนชมพูทวีป (อินเดีย) โดยพระโสณเถระ และพระอตุ ตรเถระเปน็ หวั หน้ามาเผยแผพ่ ระพุทธศาสนายงั ดินแดน พระมหินทรเถระเป็นหัวหน้าไปเผยแผ่พระพทุ ธศาสนายังดินแดน ๓. ในช่วง พ.ศ. ๑๘๒๐ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ทรงโปรดเกล้าฯ ให้นมิ นต์ จากเมอื ง ทีน่ ับถือพระพทุ ธศาสนานิกาย ขึน้ มาเทศนาสงั่ สอนประชาชนที่กรงุ สุโขทัย ๔. พระพุทธศาสนาในอาณาจักรอยธุ ยา เป็นลัทธิ โดยได้รับแบบอย่าง มาจาก ๕. พระมหากษัตรยิ ์ของอาณาจกั รรตั นโกสินทร์ทรงเป็น ของทุกศาสนา โดยในสมยั รชั กาลที่ ๑ ได้ทรงโปรดให้มี รชั กาลที่ ๒ ทรงฟืน้ ฟู รชั กาลที่ ๔ ทรงตงั้ นกิ ายใหม่ เรียกว่า รัชกาลที่ ๕ ทรงสถาปนาสถาบนั การศกึ ษาสงฆ์ข้ันสูง คือ สาหรับให้การศึกษาคณะสงฆ์มหานิกาย และ สาหรบั คณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย

๓๙เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา แบบฝึกหัดท่ี ๑.๕ คาชี้แจง ให้นกั เรียนพิจารณาศาสนสถานหรอื ศาสนวัตถใุ นภาพ ว่าเปน็ ศลิ ปกรรมในยคุ ใด และมีชื่อเรียกว่าอะไร (๑๖ คะแนน) ************************************************************************************ ยุค ยคุ ชือ่ ศาสนสถาน-ศาสนวัตถใุ นภาพ ชื่อศาสนสถาน-ศาสนวตั ถุในภาพ ยคุ ยุค ชื่อศาสนสถาน-ศาสนวตั ถุในภาพ ชือ่ ศาสนสถาน-ศาสนวัตถุในภาพ

๔๐เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา ยุค ยคุ ชื่อศาสนสถาน-ศาสนวัตถใุ นภาพ ชือ่ ศาสนสถาน-ศาสนวัตถุในภาพ ยคุ 1 ชือ่ ศาสนสถาน-ศาสนวตั ถใุ นภาพ ยุค 1 ชื่อศาสนสถาน-ศาสนวัตถุในภาพ

๔๑เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา ความสาคญั ของพระพุทธศาสนาต่อสงั คมไทย ประชากรส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนา ภาพท่ี ๑.๒๐ วิถีชวี ติ ของชาวพทุ ธ จนมีคากล่าวว่า สังคมไทยเป็นสังคมพุทธ ประเพณี วัฒนธรรม และวิถีการดาเนินชีวิตของคนไทยส่วนใหญ่ ทีม่ า : http://www.kalyanamitra.org ได้รับการหล่อหลอมจากพระพุทธศาสนา ทาใหค้ นไทย มีบคุ ลิกและนสิ ยั ใจคอทีเ่ ปน็ มติ ร และมีน้าใจ พระพทุ ธศาสนามีความสาคัญต่อสังคมไทย นานัปการ แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงพระพุทธศาสนาในฐานะ เป็นศาสนาสาคัญของชาติไทย ในฐานะเป็นสถาบันหลัก ของสังคมไทย และในฐานะที่เป็นสภาพแวดล้อม ของสังคมไทย พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาสาคญั ของชาตไิ ทย พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่คนไทยนับถือมากที่สุด สืบทอดกันมาเป็นเวลายาวนาน พระพุทธศาสนากับคนไทยได้มีความสัมพันธ์กันอย่างแนบแน่นเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ทั้งในทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เพราะนับต้ังแต่ที่ชนชาติไทยมีประวัติศาสตร์อันชัดเจน กป็ รากฏว่าชาวไทยได้นับถือพระพทุ ธศาสนาอย่างต่อเนือ่ งตลอดมา ดงั น้ัน ไม่ว่าจะมองในแง่ใด พระพุทธศาสนาก็มคี วามสาคัญและมอี ิทธิพลในฐานะเป็นศาสนาสาคญั ของชาติไทย ดังน้ี ๑. พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาท่ีคนไทยส่วนใหญ่ยอมรบั นับถอื การยอมรบั นบั ถือ พระพุทธศาสนาของคนไทยมีมาต้ังแต่อดีตสืบเน่ืองจนถึงปัจจุบัน ท้ังนี้เพราะพระพุทธศาสนา เป็นศาสนาอันดับแรก ๆ ที่สังคมรู้จักและคุ้นเคย แมภ้ ายหลังจะมีศาสนาอ่ืนเผยแผเ่ ข้ามาบ้าง หรอื แม้สงั คมไทยจะเปิดกว้างใหม้ ีการเผยแผ่ศาสนาต่าง ๆ ได้อย่างเสรี แต่ผคู้ นส่วนใหญ่ ในสังคมไทยประมาณร้อยละ ๙๕ ก็ยงั เลือกนบั ถือพระพทุ ธศาสนา

๔๒เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา ๒. พระพุทธศาสนาสอดคล้องกับลักษณะนิสัยของคนไทย ชาติไทยเป็นชาติที่รัก ความเปน็ อิสรเสรี และมีความเป็นตัวของตวั เอง พระพุทธศาสนาจัดว่าเป็นศาสนาแห่งอิสรภาพ จุดมุ่งหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา คือ วิมุตติ แปลว่า ความหลุดพ้น กล่าวคือ หลุดพ้นจากสิ่งผูกรัดบีบค้ันครอบงา อันหมายถึง ความเป็นอิสระในการประพฤติปฏิบัติตามหลักพระพุทธศาสนา จึงเป็นการดาเนินในแนวทาง ของความเป็นอิสระ เพื่อความเป็นอิสระทุกขั้นตอน ดังมีพระพุทธพจน์แสดงหลักการ ของพระพุทธศาสนาในเรอ่ื งน้ีไว้ว่า การอยใู่ ตอ้ านาจคนอื่นเป็นทกุ ข์ทง้ั สิ้น อิสรภาพเป็นสุขทั้งสิน้ ๓. พระมหากษัตริย์ไทยทรงเป็น ภาพท่ี ๑.๒๑ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวฯ รัชกาลที่ ๙ ทรงออกผนวก พุทธมามกะ พระมหากษัตริย์ไทยในอดีต จนถึงปัจจุบันทุกพระองค์ทรงเป็นพุทธมามกะ ที่มา : http://www.dhammajak.net ตามขัตติยราชประเพณี ทุกพระองค์ทรงมีศรัทธา ยึดม่ันในพระพุทธศาสนา และเม่ือถึงเวลาเหมาะสม พระองค์จะเสด็จออกผนวชตามโบราณราชประเพณี รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งเป็น กฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ ได้บัญญัติ ใหพ้ ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ (มาตรา ๙) อันแสดงว่าพระประมุขของชาติทรงเป็น พุทธศาสนิกชน เหมือนกับประชาชนส่วนใหญ่ ในประเทศ

๔๓เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา ๔. ประเทศไทยกาหนดให้วันสาคัญทางพระพุทธศาสนาเป็นวันหยุดราชการ และนับปีเป็นพุทธศักราช เพื่อยกย่องเชิดชูพระพุทธศาสนาและยังกาหนดให้วันสาคัญ ที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนาเป็นวันหยุดราชการ อันได้แก่ วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา และวันเข้าพรรษา รวมทั้งยังกาหนดให้วันสาคัญในชีวิตของตน เช่น วันเกิด วันขึ้นบ้านใหม่ และวันมงคลอื่น ๆ มีความผูกพันกับพระพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังกาหนดให้ เทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาเป็นช่วงเวลาแห่งการทาความดี เช่น การลด ละ เลิก ความประพฤติเสียหายในช่วงเทศกาลเข้าพรรษา เป็นต้น ภาพที่ ๑.๒๒ วิธงี ดเหลา้ -เลิกเหลา้ เขา้ พรรษา ท่ีมา : http://aomkred.go.th/public/news_upload/backend/pics_313_1.jpg

๔๔เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา พระพทุ ธศาสนาเป็นสถาบันหลักของสังคมไทย สถาบันหลักทางสังคมของไทย ได้แก่ สถาบันชาติ สถาบันศาสนาและสถาบัน พระมหากษัตริย์เป็นโครงสร้างอันแข็งแกร่งในการค้าจุนสังคมไทยให้ดารงอยู่ได้ โดยการเกื้อหนุน ซึ่งกันและกัน ในที่น้ีสถาบนั ศาสนา หมายถึง พระพุทธศาสนา ซึ่งสามารถอธิบายได้ ดังน้ี ๑. พระพุทธศาสนาเป็นสถาบันคู่ชาติไทย พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เข้ามา ในดินแดนสุวรรณภูมิอันเปน็ ที่ตั้งของประเทศไทยในปัจจุบัน นับตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๓ อาณาจักรต่าง ๆ ของคนไทย ล้วนสืบทอดพระพุทธศาสนาไว้ตั้งแต่สมัยสุโขทัย สมยั อยธุ ยา สมัยธนบุรี จนมาถึง สมยั รตั นโกสินทร์ไว้อย่างม่ันคง จงึ กล่าวได้ว่าพระพทุ ธศาสนาเป็นสถาบนั คู่ชาติไทยมาโดยตลอด ๒. พระพทุ ธศาสนาเปน็ สถาบันคู่พระมหากษัตริย์ไทย พระมหากษตั ริย์ไทยทุกพระองค์ ทรงเป็นพทุ ธมามกะ ยึดม่นั ในพระรตั นตรัย ได้ทรงออกผนวชเพื่อศกึ ษาหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา และนาหลกั ธรรมทีไ่ ด้ศกึ ษาไปประยุกต์ใชใ้ นการปกครองประเทศ และพสกนิกรของพระองค์ ๓. พระมหากษตั รยิ ์ไทยทรงเปน็ องคอ์ ัครศาสนูปถัมภก พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ ทรงดารงฐานะองค์อัครศาสนูปถัมภก ทรงมพี ระราชภารกิจในการอปุ ถมั ภบ์ ารุงพระพุทธศาสนา เช่น ทรงสร้างพระอารามประจารัชกาล ทรงปฏิสงั ขรณ์วดั และปูชนียสถาน ทรงอุปถัมภก์ ารศกึ ษา และการปฏิบัติของคณะสงฆ์ ทรงยกย่องพระสงฆ์ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ให้ดารงสมณศักดิ์ ตามความสามารถและความเหมาะสม และทรงวางพระองค์ให้เป็นแบบอย่างของพุทธศาสนิกชน ที่ดี ๔. รัฐบาลส่งเสริมสนับสนุนพระพุทธศาสนา เม่ือประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลง การปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย พระราชอานาจและพระราชภารกิจหลายประการ ในการอุปถัมภ์บารุงพระพุทธศาสนาของพระมหากษัตริย์แต่เดิม ได้มอบหมายให้รัฐบาลทาหน้าที่ สืบแทนต่อไป เพราะฉะนั้นรฐั บาลจงึ มีหน้าที่โดยตรงที่จะอุปถมั ภ์พระพุทธศาสนาท้ังด้านการศึกษา และด้านการปฏิบตั ิพระศาสนา โดยกาหนดเป็นนโยบายที่แน่นอน และปฏิบตั ิให้บรรลุผลตามนโยบาย ที่กาหนดไว้ ท้ังนี้โดยการดาเนินงานผ่านทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงวฒั นธรรม กระทรวงมหาดไทย และสานกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ เป็นต้น

๔๕เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเปน็ สภาพแวดล้อมทีก่ วา้ งขวางและครอบคลมุ สังคมไทย คนไทยส่วนใหญ่ภายในสังคมไทยเป็นชาวพุทธโดยกาเนิด ไม่ต้องมีการประกาศ เพราะวิถีชีวิตของคนไทยได้รับการผสมผสานกลมกลืนเป็นอันหนึ่งอนั เดียวกับพระพุทธศาสนา มาทุกยุคทุกสมัย สภาพแวดล้อมรอบตัวทั้งทางกายภาพและสภาพแวดล้อมทางสังคม ส่วนใหญ่มักได้รับอิทธิพลจากพระพุทธศาสนา หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ตั้งแต่เกิดจนตาย คนไทยส่วนใหญ่มักต้องสัมผสั กบั พระพทุ ธศาสนามากหรือน้อยบ้างตามโอกาส ดังนั้นพระพทุ ธศาสนา จงึ เปน็ สภาพแวดล้อมที่กว้างขวางและครอบคลุมสังคมไทยอย่างแท้จริง ด้วยเหตุผลดังนี้ ๑. มีวัดและสานักสงฆ์มากมายท่ัวประเทศ จากสถิติ พ.ศ.๒๕๕๒ ในประเทศไทยมีวดั ประมาณ ๓๕,๒๗๑ วัด และสานักสงฆ์ อีกจานวนมาก มีพระภิกษุและสามเณร ประมาณ ๓๒๒,๐๐๐ รูป ไม่นับพระภิกษุสามเณร ผู้บวชชั่วคราว ทุกหมู่บ้านมีวัดประจาหมู่บ้าน แม้เม่ือจะก่อต้ังหมู่บ้านขึ้นใหม่ก็นิยมสร้างวัดไว้ เปน็ สถานที่บาเพ็ญบญุ ทางพระศาสนาด้วย วดั จงึ นับเป็น “ศูนย์กลาง” ของสังคมไทยส่วนใหญ่ มาแตอ่ ดีตถึงปจั จบุ นั ภาพที่ ๑.๒๓ วัดท่ีสาคญั ในจังหวดั น่าน ทม่ี า : https://www.pailaew.com

๔๖เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา ๒. มีปชู ยีนสถาน ปชู นียวตั ถุมากมาย เหตุที่วัดเป็นสภาพแวดล้อมที่ครอบคลุมสังคมไทยทั่วไป จึงมีปูชนียสถาน และปูชนียวัตถุสาคัญ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาประดิษฐานเก็บรักษาอยู่มากมาย เช่น พระบรมธาตุไชยา พระปฐมเจดีย์ พระธาตุดอยสเุ ทพ พระพุทธรปู ตู้พระไตรปิฎก วิหาร เปน็ ต้น ๓. ประเพณีพธิ ีกรรมตา่ ง ๆ ของคนไทย มาจากพระพุทธศาสนาโดยตรง เช่น ประเพณีการอุปสมบท ประเพณีวันสาคัญ ทางพระพุทธศาสนา ประเพณีทอดผ้าป่า ประเพณีทอดกฐิน และคติบางอย่างก็นาเอาแนวคิด ทางพระพุทธศาสนาไปปรับใช้ให้ผสมผสานกลมกลืน เช่น การตั้งชื่อ โกนผมไฟ ขึ้นบ้านใหม่ ทาบุญอายุ งานศพ ถ้าไม่มีพระพุทธศาสนา ประเพณีพิธีกรรมเหล่านี้อาจเป็นไปในรูปแบบอื่น นอกจากนีจ้ ิตใจของคนไทยส่วนใหญ่ก็อาจขาดการขัดเกลาหรอื มิได้ถกู หล่อหลอมใหม้ ีลักษณะ เป็นคนไทยอย่างที่เห็นเป็นอยู่ในปัจจบุ นั นกี้ ไ็ ด้ ๔. ลักษณะนิสัยและมารยาทของคนไทยสว่ นใหญ่มีรากฐานจากพระพุทธศาสนา คนไทยได้รับการยกย่องจากชาวต่างชาติว่าเป็นคนที่มีลักษณะนิสัยดีงาม เช่น มีความเอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ มีน้าใจ เมตตา กรุณา เกรงใจ พร้อมให้อภัยคนอื่นเสมอ ยิ้มแย้มแจม่ ใส เป็นต้น คนไทยมีคาพูดติดปาก คือ “ไม่เป็นไร” อนั หมายถึง ไม่ถือโทษ ไม่อาฆาตมาดร้าย ให้อภัยอยู่เสมอ ลกั ษณะนิสยั เหล่านี้ล้วนหล่อหลอมมาจากพระพุทธศาสนา อันเป็นสภาพแวดล้อมที่ครอบคลุม สังคมไทยอย่างกว้างขวาง ด้วยกิริยามารยาทน้ัน คนไทยมีกิริยามารยาทเรียบร้อย นุ่มนวล การไหว้ การกราบ มารยาทในการต้อนรับ การแต่งกาย ตลอดจนอิริยาบถของคนไทย ล้วนได้รับการชื่นชมจากท่ัวโลก ท้ังนี้มารยาทเหล่านี้ล้วนมีพื้นฐานมาจากหลักธรรมคาสอน ทางพระพทุ ธศาสนา เชน่ หลักคารวธรรม หลกั การปฏิสันถาร เป็นต้น

๔๗เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา แบบฝึกหัด

๔๘เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา แบบฝึกหัดท่ี ๑.๖ คาชี้แจง ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้ (๕ คะแนน) ************************************************************************************ ๑. บอกเหตผุ ลทีค่ นไทยส่วนใหญ่ในสงั คมไทยนบั ถือพระพุทธศาสนาประมาณร้อยละ ๙๕ มาอย่างนอ้ ย ๒ ข้อ ๒. ประเทศไทยได้กาหนดใหว้ นั ทีเ่ กีย่ วเนื่องกับพระพทุ ธศาสนาเป็นวันหยุดราชการ คือวนั ใดบ้าง ๓. สถาบนั หลกั ตามโครงสร้างของสงั คมไทยทีม่ สี ่วนช่วยค้าจนุ ให้สังคมไทยและชาติไทย ดารงอยู่มาจนถึงปัจจุบนั ประกอบด้วยสถาบนั ใดบ้าง ๔. “พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก” หมายความว่าอย่างไร ๕. ประเพณีพิธีกรรมของคนไทยที่มาจากพระพุทธศาสนาโดยตรง ได้แก่อะไรบ้าง

๔๙เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา แบบฝึกหัดท่ี ๑.๗ คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนระบเุ อกลกั ษณ์เฉพาะของคนไทยที่ได้รบั การหล่อหลอม มาจากพระพุทธศาสนาลงในแผนผงั ให้ถกู ต้อง (๕ คะแนน) ************************************************************************************ อุปนสิ ยั มารยาท ประเพณีวฒั นธรรม

๕๐เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๑ ประวัติและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา คาชีแ้ จง ๑. แบบทดสอบเปน็ แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวน ๑๕ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน ๒. ใชเ้ วลาในการทดสอบ ๑๕ นาที ๓. ใหน้ ักเรียนทาเคร่อื งหมายกากบาท () ทับตัว ก ข ค หรอื ง ลงในกระดาษคาตอบที่แจกให้ ********************************************************************************* ๑. พระเถระที่มีบทบาทในการนาพระพทุ ธศาสนาเข้ามาเผยแผย่ ังดินแดนสุวรรณภูมิคอื ข้อใด ก. พระโสณเถระและพระอตุ ตรเถระ ข. พระโสณเถระและพระมหนิ ทรเถระ ค. พระมหาเทวเถระและพระมหารักขิตตเถระ ง. พระโยนกธัมมรักขิตตเถระและพระอตุ ตรเถระ ๒. หลักฐานใดที่ขดุ พบในเขตภาคกลางของไทย ซึง่ เปน็ การแสดงถึงความเจรญิ ของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย ก. พระไตรปิฎก ข. พระพุทธรูปโบราณ ค. โบราณสถานทีเ่ ก่าแก่ ง. ธรรมจักรศิลากบั กวางหมอบ ๓. การฟื้นฟพู ระพุทธศาสนาในสมยั ธนบรุ ีได้กระทาโดยวิธีการใด ก. การสังคายนาพระไตรปิฎก ข. การตง้ั หวั หนา้ คณะสงฆ์หรือพระสังฆราช ค. การสรา้ งวัดไทยขึ้นมาใหม่หลงั ถกู พม่าทาลาย ง. การจัดการขั้นเด็ดขาดกับพระสงฆ์ที่ปฏิบัตินอกลู่นอกทาง