Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารและสมบัติของสาร ป.5เล่ม1

สารและสมบัติของสาร ป.5เล่ม1

Published by latthapham, 2020-05-23 18:59:57

Description: สารและสมบัติของสาร ป.5เล่ม1

Search

Read the Text Version

๕ ครผู ูส้ อน นางอรัญญา เศรษฐ์ธนกลุ

สารบญั มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชี้วดั มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชี้วดั 1 มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบตั ิของสสาร องค์ประกอบของสสาร หน่วยการเรียนรู้เรื่อง สารและการเปลยี่ นแปลง ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมบตั ิของสสารกบั โครงสร้างและแรงยึด 1. สารและสมบัติของสาร 2 เหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลง 1.1. สมบตั ิของสาร 3 สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1.2. สถานะของสาร 5 ตัวชี้วัด ป. 5/1 อธิบายการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อทาให้สสาร ร้อนข้ึนหรือเยน็ ลง โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ตัวชี้วัด ป. 5/2 อธิบายการละลายของสารในน้า โดยใชห้ ลกั ฐานเชิง ประจกั ษ์ ตัวชี้วัด ป. 5/3 วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสารเม่ือเกิดการ เปล่ียนแปลงทางเคมี โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ตัวชี้วัด ป. 5/4 วิเคราะห์และระบุการเปล่ียนแปลงท่ีผนั กลบั ไดแ้ ละ การเปล่ียนแปลงที่ผนั กลบั ไม่ได้ 1

หน่วยการเรียนรู้ 1.1 สมบัติของสาร เรื่อง สารและการเปลยี่ นแปลง ส่ิงต่าง ๆ รอบตวั เราน้ันท้ังสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตรวมท้ังในร่างกายของเราก็มี 2 สารประกอบอยดู่ ว้ ย แลว้ นกั เรียนทราบหรือไม่วา่ ความหมายที่แทจ้ ริงของสารและสสาร มีความเหมือนหรือตา่ งกนั หรือไม่ ? สาร คือ ส่ิงที่มีองคป์ ระกอบอยา่ งเดียว มีสมบตั ิเฉพาะตวั ไม่สามารถแบ่งแยกใหเ้ ป็ น ส่วนอื่นๆที่มีองคป์ ระกอบและสมบตั ิต่างไปจากเดิม เช่น เหลก็ เกลือ น้าตาล เงิน สงั กะสี ทองแดง แกส๊ ออกซิเจน เป็ นตน้ สสาร (matter) คือ เป็ นส่ิงท่ีมีมวล มีน้าหนกั ตอ้ งการท่ีอยู่ และสัมผสั ได้ หรืออาจ หมายถึงส่ิงต่างๆ ที่อยรู่ อบตวั เรา มีตวั ตนตอ้ งการท่ีอยู่ สัมผสั ได้ อาจมองเห็นหรือไม่ เห็นกไ็ ด้ นกั วทิ ยาศาสตร์เรียกสสารท่ีรู้จกั แลว้ วา่ สาร เช่น หิน ดิน หญา้ น้าแขง็ น้า และ อากาศ เป็ นตน้ ตวั อย่าง สารทเี่ ป็ นองค์ประกอบของส่ิงต่างๆ ในชีวติ ประจาวนั รายการ สารทเ่ี ป็ นองค์ประกอบ 3 น้าอดั ลม น้า สีผสมอาหาร น้าตาล แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ กรดบางชนิด ควนั ไฟ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เขมา่ (คาร์บอน) ไอน้า น้าเช่ือม น้า น้าตาล น้าสลดั ไข่ น้าสม้ สายชู น้ามนั พชื น้าตาล เกลือ คอนกรีต ปูนซีเมต์ หิน ทราย

1.1 สมบตั ขิ องสาร 1.2 สถานะของสาร สมบัติของสาร หมายถึง ลกั ษณะเฉพาะตวั ของสารที่สามารถบ่งบอกวา่ สารชนิดน้ันคือ สารต่างๆ รอบตวั เราส่วนใหญ่จะปรากฏอยู่ในสถานะใดสถานะหน่ึง โดยสถานะของสาร อะไร สารแต่ละชนิดจะมีสมบตั ิของสารที่สังเกตได้ คือ สี กล่ิน รส สถานะ เน้ือสาร ถา้ สามารถแบ่งได้ 3 สถานะ ดงั น้ี สถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส โดยอนุภาคในของแข็ง ตอ้ งการตรวจสอบวา่ ของเหลวใส ไม่มีสี เป็ นสารละลายน้าตาลหรือสารละลายเกลือแกง ของเหลว และแก๊สจะมีการจดั เรียงตวั แตกต่างกนั ทาใหส้ ารในแต่ละสถานะมสี มบตั ิแตกต่างกนั ตอ้ งทดสอบสมบตั ิเฉพาะตวั คือ รส หรือทดสอบการนาไฟฟ้า โดยสมบัติของสารน้ัน สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็ น 2 ประเภทดงั น้ี 1 สถานะของแข็ง (solid state) คือ สารในสถานะของแขง็ มีมวลและสามารถ 1. สมบัตทิ างกายภาพ หมายถึง ลกั ษณะภายนอกของสารที่ไดจ้ ากการสงั เกตหรือทราบ สัมผสั ได้ สามารถรักษารูปร่างและปริมาตรให้คงท่ีได้ ไม่เปล่ียนแปลงตาม ไดจ้ ากกาทดลองง่าย ๆ เช่น สี กล่ิน รส จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความแข็ง การนา ภาชนะ อนุภาคในของแข็งจะเรียงตวั เป็ นระเบียบ และอยู่ชิดกนั มาก ทาให้ ไฟฟ้า การนาความร้อน ความหนาแน่น ความถว่ งจาเพาะ ลกั ษณะผลึก เป็ นตน้ อนุภาคเคล่ือนไหวไดน้ อ้ ยมาก เช่น เหลก็ กอ้ นหิน กระดาษ ฯลฯ 2. สมบัตทิ างเคมี หมายถึงสมบตั ิท่ีทราบไดโ้ ดยอาศยั การเปล่ียนแปลงทางเคมี หรือการ เปลี่ยนแปลงจากสารหน่ึงไปเป็นสารอื่น ๆ เช่น เหลก็ เป็ นสนิม ถ่านเม่ือเผาไหมเ้ กิดก๊าซ ทม่ี า : https://sites.google.com/site/chukachi26/hnwy-thi2/2-3 , คาร์บอนไดออกไซด์ เป็ นตน้ 2httสp:ถ//wานwะwข.kอruงsเaหraลwวut(.lnieqt/uwidp/?spt=a1te4)26ค1ือ สารในสถานะของเหลว มีมวลแต่ตอ้ งการ หากเพื่อน ๆ มขี ้อสงสัยสามารถรับชมวดิ โี อเพมิ่ เตมิ ได้เลย ที่อยู่ อนุภาคในของเหลวจะอยหู่ ่างกนั และไม่เป็ นระเบียบเหมือนในของแข็ง https://www.youtube.com/watch?v=2qeXhtSnpuk&t=4s อนุภาคจึงสามารถเคลื่อนที่ไดม้ ากกวา่ ในของแขง็ ทาใหร้ ูปร่างของของเหลว เปล่ียนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ จึงไม่สามารถรักษารูปร่างใหค้ งที่ได้ เช่น น้า น้ามนั น้าปลา ฯลฯ 4 55ที่มา : http://readgur.com/doc/2167482/%E0%B8%AA%%E0%B8%AA%E%B2%E0%B8%A2

1.2 สถานะของสาร ตารางเปรียบเทยี บสมบตั ขิ องสารในสถานะ 3 สถานะของแก๊ส (gas state) คือ สารในสถานะแก๊ส น้นั มีมวลตอ้ งการท่ีอยู่ และ สมบตั ิ สถานะของแขง็ สถานะของเหลว สถานะของแก๊ส อนุภาคภายในอยหู่ ่างกนั มาก ทาให้มีท่ีวา่ งระหวา่ งอนุภาคมากกวา่ ในของแข็ง มวล มมี วลตอ้ งการที่อยู่ มีมวลตอ้ งการท่ีอยู่ มีมวลตอ้ งการท่ีอยู่ และของเหลว อนุภาคจึงเคล่ือนที่ไดอ้ ยา่ งอิสระทุกทิศทางและไม่เป็ นระเบียบ สามารถสัมผสั ได้ สามารถสัมผสั ได้ สามารถสัมผสั ได้ สารในสถานะแก๊สจึงฟ้งุ กระจายเตม็ ภาชนะที่บรรจุ ไม่สามารถรักษารูปร่างและ ปริมาตรใหค้ งท่ีได้ โดยจะเปล่ียนแปลงไปตามรูปร่างของภาชนะที่บรรจุ และมี รูปร่าง รูปร่างแน่นอน รูปร่างไม่แน่นอน รูปร่างไมแ่ น่นอน ปริมาตรเท่ากบั ปริมาตรของภาชนะท่ีบรรจุ เช่น อากาศ แก๊สออกซิเจน ฯลฯ ปริมาตร ปริมาตรคงท่ี เปล่ียนไปตามภาชนะท่ี เปล่ียนไปตาม บรรจุ ภาชนะที่บรรจุ ท่มี า : https://dscng.pttplc.com/(S(sv2xunei2dftefuyagjitdly))/Knowledge/Knowledge- ปริมาตรคงท่ี ปริมาตรไม่คงท่ี inside?p=Basic_of_Natural_Gas เปลี่ยนไปตาม ภาชนะท่ีบรรจุ การหาปริมาตรของสารแต่ละสถานะ 1. สถานะของแขง็ ถา้ วตั ถุมีรูปทรงตามเรขาคณิตสามารถใชส้ ูตาทาง อนุภาค อนุภาคเรียงชิดกนั อนุ ภา คอ ยู่ชิ ดกันแ ต่ มี อนุภาคอยหู่ ่างกนั ช่องวา่ งระหวา่ งอนุภาค จึงฟ้งุ กระจาย คณิตศาสตร์คานวณได้ เตม็ ภาชนะ 2. สถานะของเหลว สามารถใชก้ ระบอกตวงหรือบีคเกอร์เพื่อวดั ปริมาตร อื่น ๆ รักษาระดบั ผวิ หนา้ ของของเหลวไดเ้ ลย อยใู่ นแนวราบเสมอ 6 7


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook