Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3หน่วยที่ 3 ค่าแรง เงินประกันสังคม ภาษีหัก ณ

3หน่วยที่ 3 ค่าแรง เงินประกันสังคม ภาษีหัก ณ

Published by a_lukkhana, 2021-05-27 15:36:10

Description: 3หน่วยที่ 3 ค่าแรง เงินประกันสังคม ภาษีหัก ณ

Search

Read the Text Version

หนว่ ยที่ 3 ค่าแรง เงินประกันสังคม ภาษหี ัก ณ ทจ่ี ่าย และการบนั ทึกรายการ

สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายและประเภทของคา่ แรง 2. การคานวณค่าแรงงานตามกฎหมายแรงงาน 3. เงนิ ประกันสังคม 4. ภาษเี งนิ ไดห้ กั ณ ทจ่ี ่าย 5. รายการหกั อน่ื ๆ 6. ทะเบยี นคา่ แรง 7. การบันทึกรายการเกี่ยวกบั ค่าแรง

ความหมายและ คา่ แรง (Labor) หมายถงึ ค่าจา้ งและเงนิ เดือน ประเภทของค่าแรง ที่จ่ายให้แก่พนักงานหรือลูกจ้างของกิจการโดยทั่วไป ค่าจ้างนั้น กิจการจะจ่ายเป็นรายช่ัวโมง รายวัน ราย สัปดาห์หรือรายชิ้นงานที่ทาเสร็จส่วนเงินเดือนจะจ่าย เป็นรายเดือน กิจการบางแห่งจะจ่ายเงินเดือน เดือน ละ 2 ครงั้ สาหรบั กจิ การผลิตจะแบ่งค่าแรงออกเป็น 2 ประเภท คือ ค่าแรงทางตรงและคา่ แรงทางออ้ ม

ความหมายและ ค่าแรงทางตรง (Direct Labor) หมายถึง ประเภทของค่าแรง ค่าแรงงานของคนงานท่ีทาหน้าที่แปรสภาพวัตถุดิบให้เป็น สนิ คา้ สาเร็จรูป เชน่ ค่าแรงที่จ่ายให้กับช่างตัดเย็บเสื้อผ้า ในการ กจิ การผลิตเสอื้ ผ้าสาเรจ็ รปู ค่าแรงที่จ่ายให้กับช่างไม้ในการกิจการผลิต เฟอร์นเิ จอร์ไม้ ค่าแรงท่ีจ่ายให้กับช่างปั้นในการกิจการผลิต เคร่ืองป้นั ดนิ เผา ค่าแรงทางอ้อม (Indirect Labor) หมายถึง ค่าแรงงานของคนงานที่มิได้ทาหน้าท่ีทาการผลิตสินค้า โดยตรง เช่น ค่าแรงพนักงานรักษาความสะอาด เงินเดือน ผู้จัดการโรงงานเงินเดอื นหัวหนา้ คนงาน เป็นต้น

การคานวณคา่ แรงงานตามกฎหมายแรงงาน กาหนดเวลาทางานปกติ ตามพระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 23 กาหนดเวลาทางานปกติของลูกจา้ งวันหนึง่ ต้องไม่เกนิ แปดชัว่ โมง และเมื่อรวมเวลาทางานทง้ั สน้ิ แล้วสปั ดาห์หนงึ่ ตอ้ งไม่เกินสีส่ ิบแปดชั่วโมงเว้นแตง่ านที่อาจเปน็ อนั ตรายต่อสุขภาพ และความปลอดภัยของลูกจ้างทก่ี าหนดในกฎกระทรวงจะมีเวลาทางานปกติวันหนง่ึ ตอ้ งไม่เกินเจ็ดช่วั โมง แตเ่ มือ่ รวมเวลา ทางานท้ังสน้ิ แลว้ สัปดาห์หนึง่ ไมเ่ กินสี่สิบสองชว่ั โมง

การจา่ ยค่าลว่ งเวลาในวันทางานปกติ มาตรา 61 กาหนดไว้ว่า ในกรณีท่ีนายจ้างให้ลูกจ้างทางานล่วงเวลาในวันทางาน ให้นายจ้างจ่ายค่า ล่วงเวลาให้แกล่ ูกจ้าง อัตราไม่น้อยกว่าหนึ่งเท่าคร่ึงของอัตราค่าจ้างต่อช่ัวโมงในวันทางานตามจานวนชั่วโมงที่ ทา หรอื ไม่น้อยกว่าหนึ่งเทา่ ครง่ึ ของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวันทางานตามจานวนผลงานที่ทาได้สาหรับลูกจ้าง ซึ่งไดร้ ับค่าจา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหนว่ ย

การจ่ายค่าแรงในวันหยดุ ในกรณีทนี่ ายจ้างให้ลูกจ้างทางานในวนั หยดุ แยกพจิ ารณาเป็น 2 กรณี ตามมาตรา 62 ดงั นี้ มาตรา 62 ในกรณีที่นายจ้างให้ลูกจ้างทางานในวันหยุดตาม มาตรา 28 มาตรา 29 หรือมาตรา 30ให้นายจ้างจ่ายค่า ทางานในวนั หยุดให้แก่ลกู จา้ งในอตั ราดังต่อไปนี้ 1. สาหรับลูกจ้างซ่ึงมีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด ให้จ่ายเพ่ิมข้ึนจากค่าจ้างอีกไม่น้อยกว่าหน่ึงเท่าของอัตราค่าจ้างต่อ ช่ัวโมงในวนั ทางานตามจานวนชั่วโมงท่ที า หรือไม่นอ้ ยกวา่ หน่ึงเท่าของอัตราคา่ จ้างต่อหน่วยในวันทางานตามจานวน ผลงานท่ีทาได้สาหรับลกู จา้ งซ่ึงไดร้ บั คา่ จ้างตามผลงาน โดยคานวณเปน็ หน่วย 2. สาหรับลูกจ้างซึ่งไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด ให้จ่ายไม่น้อยกว่าสองเท่าของอัตราค่าจ้างต่อช่ัวโมงในวันทางานตาม จานวนช่วั โมงท่ที า หรอื ไมน่ ้อยกว่าสองเท่าของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวันทางานตามจานวนผลงานท่ีทาได้สาหรับลูกจ้าง ซง่ึ ไดร้ ับคา่ จา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย

การจ่ายค่าแรงในวันหยุด กรณีที่ 1 หมายความว่านายจ้างจ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างเป็นรายเดือนหรือเป็นเงินเดือน ดังนั้นใน วันหยุดลูกจ้างจะได้รับค่าจ้างแล้ว จึงให้จ่ายอีกไม่น้อยกว่าหน่ึงเท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมง ในวัน ทางานตามจานวนชว่ั โมงทท่ี า หรือไมน่ ้อยกว่าหน่งึ เท่าของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวันทางานตามจานวน ผลงานทท่ี าไดส้ าหรบั ลกู จา้ งซ่ึงได้รับค่าจา้ งตามผลงานโดยคานวณเปน็ หน่วย การจา่ ยคา่ แรงในวันหยุด กรณีท่ี 2 หมายความว่านายจ้างจ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างเป็นรายวัน หรือต่อหน่วยในวันทางาน ตามจานวนผลงานที่ทาได้ ดังนั้น ในวันหยุดหรือวันท่ีมิได้ทางานลูกจ้างจะไม่ได้รับค่าจ้าง จึงให้จ่ายไม่ น้อยกว่าสองเท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทางานตามจานวนช่ัวโมงที่ทา หรือไม่น้อยกว่าสองเท่า ของอัตราคา่ จ้างต่อหน่วยในวนั ทางานตามจานวนผลงานทท่ี าได้สาหรบั ลูกจา้ งซึ่งไดร้ บั คา่ จ้าง ตามผลงานโดยคานวณเป็นหนว่ ย

การจ่ายคา่ ล่วงเวลาในวันหยุด การจา่ ยคา่ ลว่ งเวลาในวนั หยุดตามมาตรา 63 กาหนดไวด้ ังนี้ มาตรา 63 ในกรณีที่นายจ้างให้ลูกจ้างทางานล่วงเวลาในวันหยุด ให้นายจ้างจ่ายค่าล่วงเวลาใน วันหยุดให้แก่ลูกจ้างในอัตราไม่น้อยกว่าสามเท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทางาน ตามจานวน ชั่วโมงท่ีทา หรือไม่น้อยกว่าสามเท่าของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวันทางานตามจานวนผลงานที่ทาได้ สาหรับลกู จา้ งซง่ึ ไดร้ ับค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณเปน็ หนว่ ย อตั ราคา่ แรงข้นั ต่า ตามประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เร่ือง อัตราค่าจ้างขั้นต่า (ฉบับที่ 9) ลงวันท่ี 19 มีนาคม 2561 กาหนดอัตราค่าแรงข้ันต่าท่ัวประเทศ โดยมีผลบังคับใช้ต้ังแต่วันท่ี 1 เมษายน 2561 เป็นต้นไป โดยมี รายละเอียดดังนี้



การจดบนั ทกึ คา่ แรง การจดบันทึกและเก็บรวบรวมเวลาในการทางาน สาหรับกิจการขนาดใหญ่จะมีแผนกต่างๆ รับผิดชอบ ได้แก่ แผนก บุคลากรหรือฝ่ายบุคคล แผนกน้ีจะทาหน้าที่ตั้งแต่การจัดหาและจัดจ้างแรงงาน การฝึกอบรม การจัดสวัสดิการต่างๆ รวมทั้งการ รวบรวมเวลาในการทางานของคนงาน เอกสารทเ่ี ก่ียวข้องกบั การจดบนั ทึกและเกบ็ รวบรวมเวลาในการทางาน ไดแ้ ก่ บตั รลงเวลาทางาน (Clock Card) บัตรน้ีใช้บันทึกเวลาทางานในแต่ละวันตั้งแต่เริ่มปฏิบัติงานและส้ินสุดการปฏิบัติงาน ในแต่ละวัน เพื่อคานวณช่ัวโมงการทางาน การบันทึกเวลาอาจใช้บันทึกด้วยการลงลายมือชื่อ การใช้นาฬิกาตอกบัตร การสแกน ลายน้ิวมือหรือบัตรประจาตัวด้วยเครื่องสแกนซ่ึงนิยมใช้ในกิจการทั่วไป เพื่อป้องกันการบันทึกเวลาแทนกันเม่ือเร่ิมปฏิบัติงานใน หนว่ ยงาน แผนกหรอื ในงานก็ตาม พนักงานหรอื คนงานทาการบันทึกเวลาเร่มิ ทางาน เม่อื ปฏิบัตหิ น้าท่ใี นแผนกหรอื ในงานนัน้ ๆ เสร็จ จะบันทึกเวลาสิ้นสุดการทางาน เพื่อบันทึกเวลาการเข้าทางาน เม่ือทาเสร็จก็ทาการบันทึกเวลาเลิกงาน ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อการ จาแนกค่าแรงของแผนกต่างๆ คานวณค่าแรงและจา่ ยค่าแรง



บัตรบันทึกเวลาประจางาน (Job Time Ticket) บัตรบันทึกเวลาประจา งานส่วนใหญ่จะใช้กับคนงานท่ีได้รับค่าจ้างเป็นรายวัน รายชั่วโมง รายสัปดาห์ หรือราย ชิ้นงาน บัตรนี้ใช้บันทึกเวลาทางานท้ังหมดของคนงาน ผู้เกี่ยวข้องสามารถนาข้อมูลจาก บัตรนี้ไปจาแนกค่าแรง ไม่ว่าจะเป็นค่าแรงทางตรงค่าแรงทางอ้อมรวมท้ังการทางาน ล่วงเวลา เพ่อื จะได้คานวณคา่ แรงใหก้ บั คนงานได้ถูกต้องตามอตั ราค่าแรงงาน

การคานวณค่าแรง ค่าแรงในกิจการอุตสาหกรรมนิยมคิดเป็นรายวัน รายชั่วโมงและเป็นรายช้ิน ในการคานวณค่าแรงถ้ามี การทางานลว่ งเวลา หรอื ในวันหยุดจะต้องคานวณค่าลว่ งเวลา ค่าทางานในวันหยุดและค่าล่วงเวลาในวันหยุดตาม พระราชบัญญัติคมุ้ ครองแรงงานพ.ศ. 2541 มาตรา 68 ซึง่ กาหนดไวว้ ่ามาตรา 68 เพอ่ื ประโยชน์แก่การคานวณค่า ล่วงเวลา คา่ ทางานในวันหยดุ และคา่ ล่วงเวลาในวันหยุด ในกรณีท่ี ลูกจ้างได้รับค่าจ้างเป็นรายเดือน อัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทางาน หมายถึง ค่าจ้างราย เดือนหารด้วยผลคูณของสามสิบ และจานวนช่ัวโมงทางานในวันทางานต่อวันโดยเฉล่ียจากมาตราดังกล่าว หมายความว่าถ้าลูกจ้างได้รับค่าจ้างเป็นรายเดือน การคานวณอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมง ให้นาค่าจ้างรายเดือนหาร ดว้ ยผลคูณของสามสิบ และจานวนช่ัวโมงทางานในวนั ทางานตอ่ วนั โดยเฉล่ยี

ดังนั้น หากลูกจ้างได้รับค่าจ้างเป็นรายวัน การคานวณ อัตราค่าจ้างต่อช่ัวโมง ให้นาค่าจ้างรายวันคูณ จานวนช่ัวโมง ทางาน การคานวณสาหรับกิจการที่มีขนาดใหญ่นั้นเป็นหน้าท่ีของ แผนกคิดค่าแรง ส่วนกิจการที่มีขนาดเล็กนั้นจะมอบหมายให้ เจา้ หนา้ ทคี่ นใดคนหน่ึงรับผิดชอบการคานวณค่าแรง โดยท่ัวไปจะ ประกอบดว้ ยสว่ นสาคญั 2 ส่วน คือ การคานวณค่าแรงขั้นต้นและ การคานวณค่าแรงสุทธิ



การคานวณประกอบ (ยกตัวอยา่ งคนท่ี 1) ช่อง คา่ แรงปกติ มาจาก จานวนวนั ทางานปกติ X อตั ราค่าแรงตอ่ วัน = 10 X 320 = 3,200 บาท ช่อง ค่าล่วงเวลาวันปกติ มาจาก จานวน ชม.ล่วงเวลาวันปกติ X อัตราค่าล่วงเวลาปกติต่อชั่วโมง = 9 X60 = 540 บาท ชอ่ ง คา่ แรงวันหยดุ มาจาก จานวนวนั ทางานวนั หยดุ X อัตราคา่ แรงวันหยุด = 2 X 640 = 1,280 บาท ช่อง คา่ ลว่ งเวลาวันหยดุ มาจาก จานวน ชม.ล่วงเวลาวันหยุด X อัตราค่าล่วงเวลาวันหยุดต่อชั่วโมง = 3 X 120 = 360 บาท ช่อง รวมคา่ แรงขัน้ ตน้ มาจาก ชอ่ งคา่ แรงปกติ+ค่าล่วงเวลาวนั ปกติ+ค่าแรงวันหยดุ +คา่ ล่วงเวลาวันหยดุ = 3,200 + 540 + 1,280 + 360 = 5,380 บาท

เงินประกันสังคม ความหมายของการประกนั สังคมและกฎหมายที่เกี่ยวขอ้ ง การประกันสังคม คือ การสร้างหลักประกันในการดารงชีวิตในกลุ่มของสมาชิกท่ีมีรายได้และจ่ายเงิน สมทบเข้ากองทุนประกันสังคม (Social security funds) เพ่ือรับผิดชอบในการเฉล่ียความเส่ียงท่ีอาจเกิดขึ้นจาก การเจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย สงเคราะห์บุตร ชราภาพและว่างงาน เพ่ือให้ได้รับการรักษาพยาบาล และมีรายได้อย่างต่อเนื่อง ผู้ประกันตน คือ ลูกจ้างที่มีอายุไม่ต่ากว่า 15 ปีบริบูรณ์ และไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์ในวันเข้าทางานและ ทางานอยใู่ นสถานประกอบการทมี่ ีลูกจา้ งตั้งแต่ 1 คนข้ึนไป งานประกันสงั คมดาเนินการตามพระราชบญั ญัติประกันสังคม พ.ศ.2533 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2537 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2542 และพระราชกฤษฎีกากาหนดระยะเวลาเริ่มดาเนินการจัดเก็บเงิน สมทบเพ่ือการให้ประโยชน์ทดแทนในกรณวี า่ งงาน พ.ศ. 2546

ความหมายของเงนิ สมทบ เงินสมทบ คือ เงินท่ีนายจา้ ง ลกู จา้ งจะตอ้ งนาสง่ เขา้ กองทุนประกันสังคมทุกเดือน โดยคานวณจาก ค่าจา้ งทีล่ กู จา้ งได้รบั ซง่ึ กาหนดจากฐานคา่ จา้ งเปน็ รายเดือนต่าสุดเดือนละ 1,650 บาท สูงสุดเดือน ละ15,000 บาท สาหรับเศษของเงินสมทบท่ีมีจานวนต้ังแต่ห้าสิบสตางค์ขึ้นไปให้ปัดเป็นหนึ่งบาท ถา้ นอ้ ยกวา่ ให้ปัดทง้ิ ท้ังนร้ี ัฐบาลจะออกเงินสมทบเขา้ กองทนุ อกี สว่ นหนึ่ง

การยน่ื แบบและแบบฟอรม์ ทใ่ี ช้ นายจ้างท่ีมีลูกจ้างต้ังแต่ 1 คนขึ้นไป ต้องข้ึนทะเบียนนายจ้างพร้อมกับขึ้นทะเบียนลูกจ้างเป็น ผู้ประกันตน ภายใน 30 วัน และเม่ือมีการรับลูกจ้างใหม่เพิ่มขึ้นต้องแจ้งข้ึนทะเบียนลูกจ้างใหม่ภายใน30 วัน เช่นกนั แบบฟอรม์ ทีใ่ ช้คอื 1. แบบข้ึนทะเบยี นนายจา้ ง (สปส. 1-01) 2. แบบขน้ึ ทะเบยี นผู้ประกนั ตน (สปส. 1-03)

อัตราเงนิ สมทบเขา้ กองทุนประกันสังคม นายจ้างจะต้องหักเงินสมทบในส่วนของลูกจ้างทุกคร้ังที่มีการจ่ายค่าจ้าง และนาส่งเงินสมทบส่วนของนายจ้างใน จานวนเท่ากับที่ลูกจ้างทั้งหมดถูกหักรวมกัน พร้อมจัดทาเอกสารตามแบบ สปส. 1-10ส่วนท่ี 1 และ สปส. 1-10 ส่วนท่ี 2 หรือ จดั ทาขอ้ มลู ลงแผ่นดิสเก็ต หรือส่งทางอินเทอรเ์ น็ต โดย : 1. นาส่งสานักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพ้ืนที่/จังหวัด ด้วยตนเอง หรือทางไปรษณีย์เป็นเงินสดหรือเช็ค ภายในวันท่ี 15 ของเดอื นถัดไป หรือ 2. ชาระเงนิ ผา่ นธนาคารกรุงไทย จากดั (มหาชน) หรอื ธนาคารกรุงศรีอยธุ ยา จากดั (มหาชน)ธนาคารธนชาต สาขาใน จงั หวัดท่ีสถานประกอบการต้งั อยู่

แบบรายการแสดงการสง่ เงนิ สมบท แบบรายการแสดงการสง่ เงินสมบท

อัตราเงินสมทบเขา้ กองทุน สิทธิประโยชนข์ องผู้ประกันตน ประกันสังคม กองทุนประกันสังคมให้หลักประกันและ นายจ้าง ที่อยู่ในข่ายบังคับตามพระราชบัญญัติ ความคมุ้ ครองแกผ่ ู้ประกนั ตน 7 กรณี ดังนี้ (และผู้ประกันตนมาตรา 33) ต้ังแต่งวดค่าจ้าง เดือนมกราคม 2557 เป็นต้นไป ให้นาส่งใน - กรณเี จบ็ ปว่ ยหรอื ประสบอันตราย อตั ราฝ่ายละ ร้อยละ 5 ของคา่ จา้ ง - กรณคี ลอดบุตร - กรณที ุพพลภาพ - กรณเี สยี ชวี ิต - กรณสี งเคราะหบ์ ตุ ร - กรณีชราภาพ - กรณีว่างงาน (ถูกเลิกจ้าง/ลาออกหรือ สิ้นสุดสญั ญาจ้าง)

ปัจจุบันสานักงานประกันสังคมได้เปิดให้บริการอิเล็กทรอนิกส์เพ่ืออานวยความสะดวกสาหรับ สถานประกอบการและบคุ คลทัว่ ไป

พนักงานประจาสานักงาน คนงานประจาโรงงาน คนท่ี 1 อัตราเงนิ เดอื น ๆ ละ 16,000 บาท คนท่ี 3 อัตราเงนิ เดอื น ๆ ละ 20,000 บาท คนที่ 2 อตั ราเงินเดือน ๆ ละ 9,000 บาท คนที่ 4 อัตราค่าจา้ งวันละ 350 บาท ทางาน 20 วัน คนท่ี 5 อัตราค่าจา้ งวันละ 350 บาท ทางาน 20 วนั คนที่ 6 อตั ราคา่ จา้ งวนั ละ 350 บาท ทางาน 19 วัน คนท่ี 7 อตั ราค่าจ้างวนั ละ 300 บาท ทางาน 20 วัน คนท่ี 8 อตั ราค่าจา้ งวนั ละ 300 บาท ทางาน 18 วัน คนท่ี 9 อัตราคา่ จา้ งวันละ 300 บาท ทางาน 20 วนั คนที่ 10 อตั ราค่าจา้ งวันละ 300 บาท ทางาน 5 วัน

ใหท้ า 1. คานวณเงินประกันสงั คมทน่ี ายจ้างต้องหกั จากพนกั งานและคนงาน 2. คานวณเงนิ ประกันสังคมที่นายจา้ งต้องจา่ ยสมทบ 1. คานวณเงินประกันสงั คมทีน่ ายจา้ งต้องหักจากพนกั งานและคนงาน

*การคานวณเงินสมทบหากได้รับค่าจ้างต่ากว่า 1,650 บาท ให้คานวณจาก 1,650 บาท แต่ถ้า ได้รับค่าจ้างเกิน 15,000 บาท ให้คานวณจาก 15,000 บาทโดยคูณกับอัตราเงินสมทบท่ีต้องนาส่ง สาหรับ เศษของเงินสมทบท่มี จี านวนต้งั แตห่ า้ สบิ สตางค์ขน้ึ ไปให้ปดั เปน็ หน่ึงบาท ถา้ น้อยกว่าใหป้ ดั ทิ้ง

การคานวณประกอบ คนที่ 6 จานวนเงินที่ได้รับท้งั สิ้น 6,650 บาท เงนิ ประกันสงั คม = 6,650 X 5% = 332.50 บาท ปัดขึ้น = 333 บาท คนท่ี 10 จานวนเงินทไ่ี ด้รบั ทั้งสิ้น 1,500 บาท เงินประกันสงั คม = 1,650 X 5% = 82.50 บาท ปดั ขึน้ = 83 บาท 2. คานวณเงนิ ประกันสงั คมที่นายจ้างตอ้ งจา่ ยสมทบ เงนิ ประกนั สังคมท่ีนายจ้างต้องจ่ายสมทบ = 3,936 บาท

ภาษเี งินไดห้ ัก ณ ท่จี า่ ย ผู้มีหนา้ ทห่ี ักภาษีเงนิ ได้ ณ ทจี่ ่าย ได้แก่ 1. บุคคล ห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือคณะบุคคล ผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินตาม มาตรา 40 (1) (2)แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งได้แก่ เงินได้ตามประเภทต่อไปนี้ รวม ตลอดถงึ เงนิ คา่ ภาษอี ากรของเงินได้ดงั กลา่ วที่ผจู้ า่ ยเงินหรอื ผูอ้ ่ืนออกแทนให้ ไม่ว่า ทอดใด

1.1 เงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ ตามมาตรา 40 (1) ไดแ้ ก่ เงินไดเ้ นอ่ื งจากการจา้ งแรงงานไม่ว่าจะเป็น เงนิ เดอื น คา่ จ้าง เบย้ี เล้ียง โบนัส เบีย้ หวัด บาเหน็จ บานาญ เงนิ คา่ เช่าบ้าน เงินที่คานวณไดจ้ ากมลู คา่ ของการไดอ้ ย่บู า้ นท่ีนายจ้างให้อยโู่ ดยไมเ่ สียค่าเชา่ เงนิ ทนี่ ายจา้ งชาระหน้ีใดๆ ซ่งึ ลกู จา้ งมหี นา้ ทต่ี ้อง ชาระและเงิน ทรพั ยส์ ินหรอื ประโยชนใ์ ดๆ บรรดาทไ่ี ด้เนื่องจากการจ้างแรงงาน 1.2 เงินได้พงึ ประเมนิ ตามมาตรา 40 (2) ได้แก่เงนิ ไดเ้ นอ่ื งจากหน้าที่ หรอื ตา่ แหน่งงานที่ทา หรือจากการรบั ทางานให้ ไมว่ ่าจะเปน็ คา่ ธรรมเนยี ม คา่ นายหน้า ค่าส่วนลด เงนิ อดุ หนุนในงานทีท่ าเบี้ย ประชมุ บาเหน็จ โบนัส เงินค่าเชา่ บ้าน เงนิ ที่คานวณได้จากมูลคา่ ของการได้อยบู่ า้ นที่ผ้จู ่ายเงนิ ได้ใหอ้ ยู่ โดยไม่เสยี คา่ เช่า เงนิ ทผ่ี จู้ า่ ยเงนิ ได้จ่ายชาระหน้ีใดๆ ซึ่งผมู้ ีเงินไดม้ ีหนา้ ทตี่ อ้ งชาระ และเงินทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนใ์ ดๆ บรรดาท่ีได้เนอ่ื งจากหนา้ ทหี่ รอื ตาแหนง่ งานทท่ี าหรือจากการรับทางานให้นนั้ ไม่ว่าหน้าท่ี หรือตาแหน่งงานหรืองานทรี่ บั ทาให้น้นั จะเป็นการประจาหรือช่ัวคราว

วธิ คี านวณภาษีเงนิ ไดห้ ัก ณ ท่ีจ่าย การคานวณภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50(1) แหง่ ประมวลรษั ฎากร กรณี การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1) แหง่ ประมวลรัษฎากร แตไ่ ม่รวมถงึ เงินได้ทีน่ ายจ้างจา่ ยให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออก จากงานให้ปฏบิ ัติดังนี้ 1. ให้คานวณหาจานวนเงินได้พึงประเมินเสมือนหน่ึงว่าได้จ่ายทั้งปี โดยให้นาเงินได้พึงประเมินท่ีจ่ายแต่ละคราวคูณด้วย จานวนคราวท่ีจะตอ้ งจา่ ย (ต่อป)ี ดังน้ี 1.1 กรณจี า่ ยคา่ จา้ งเปน็ รายเดอื นให้คูณดว้ ย 12 1.2 กรณจี า่ ยค่าจา้ งเดือนละ 2 คร้ังใหค้ ณู ดว้ ย 24 1.3 กรณจี ่ายคา่ จ้างเป็นรายสัปดาหใ์ หค้ ณู ดว้ ย 52 การจา่ ยเงินไดพ้ ึงประเมินให้แก่ผู้มีเงินได้ซึ่งเข้าทางานระหว่างปี ให้คูณเงินได้พึงประเมินที่จ่ายแต่ละคราวในปีที่เข้า ทางานด้วยจานวนคราวท่ีจะต้องจ่ายจริงสาหรับปีนั้น เช่น เข้าทางานวันท่ี 1 มีนาคมและกาหนดจ่ายค่าจ้างเป็นรายเดือน จานวนคราวทีจ่ ะต้องจ่ายสาหรับปที ่เี ข้าทางานจะเท่ากับ 10

2. นาจานวนเงินได้พึงประเมินเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายท้ังปีตามข้อ 1 มาคานวณภาษีตามเกณฑ์ ในมาตรา 48 (1) แห่งประมวลรษั ฎากร โดยดูขอ้ มลู ผู้มเี งนิ ได้จาก แบบแจ้งรายการเพ่ือการหกั ลดหย่อน (ล.ย.01) กล่าวคือ 2.1 หักคา่ ใช้จา่ ย 50% แต่ไม่เกนิ 100,000 บาท 2.2 หกั รายการลดหยอ่ นและยกเวน้ ดังนี้ 1. ผมู้ เี งินได้ 60,000 บาท 2. คสู่ มรส 60,000 บาท (ชอบดว้ ยกฎหมายและไม่มีเงินได้) 3. บตุ ร (ชอบดว้ ยกฎหมาย) - ลดหย่อนคนละ 30,000 บาท 4. เบยี้ ประกันชวี ติ หกั ได้เท่าทจี่ า่ ยจรงิ แตไ่ ม่เกิน 100,000 บาท 5. ดอกเบ้ียเงินกยู้ มื เพอื่ ซอ้ื เชา่ ซื้อหรอื สรา้ งอาคารอยอู่ าศัยไดร้ ับลดหยอ่ นและยกเวน้ ภาษี ตามจานวนเงนิ ทจ่ี ่ายจริงในปภี าษีน้ี แต่ไม่เกิน 100,000 บาท 6. เงินสมทบกองทนุ ประกนั สังคมหกั ลดหย่อนไดต้ ามท่จี า่ ยจริง

แบบแจง้ รายการเพ่อื การหกั ลดหย่อน (ล.ย.01)

2.3 คานวณภาษตี ามบญั ชอี ตั ราภาษเี งนิ ได้สาหรับบคุ คลธรรมดาเป็นเงนิ ภาษีท้งั ส้นิ

ให้ทา คานวณภาษเี งินไดห้ ัก ณ ท่จี ่ายของนายสบายใจ

คานวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายของนายสบายใจ วิธที า เงินเดอื นเสมือนหนงึ่ วา่ ได้จ่ายทงั้ ปี = 41,000 x 12 = 492,000 บาท หกั คา่ ใช้จา่ ย (50% ไม่เกิน 100,000 บาท) = 100,000 บาท คงเหลือ = 392,000 บาท หัก รายการลดหยอ่ นและยกเว้น ผมู้ เี งนิ ได้ 60,000 คู่สมรส 60,000 บุตร (30,000 X 2) 60,000 เบ้ยี ประกนั ชวี ิต 23,000 เงนิ สมทบกองทนุ ประกันสงั คม 9,000 = 212,000 บาท เงนิ ไดส้ ุทธิ = 180,000 บาท ภาษีคานวณจากเงนิ ไดส้ ทุ ธิ = *1,500 บาท ภาษีเงินได้หกั ณ ที่จา่ ยตอ่ เดือน = 125 บาท

* ภาษีคานวณจากเงนิ ได้สทุ ธิ

ให้ทา คานวณภาษเี งินไดห้ ัก ณ ท่จี ่ายของนายสมบรู ณ์

คานวณภาษเี งินไดห้ กั ณ ทจ่ี า่ ยของนายสบายใจ วิธีทา เงนิ เดอื นเสมอื นหนงึ่ ว่าได้จา่ ยทั้งปี = 24,500 x 24 = 588,000 บาท = 100,000 บาท หัก คา่ ใชจ้ า่ ย (50% ไมเ่ กนิ 100,000 บาท) = 488,000 บาท คงเหลอื = 143,000 บาท หกั รายการลดหยอ่ นและยกเว้น = 345,000 บาท = *12,000 บาท ผู้มีเงนิ ได้ 60,000 = 1,000 บาท บตุ ร 30,000 เบ้ียประกนั ชวี ติ 34,000 ดอกเบย้ี เงนิ กูย้ มื (20,000/2) 10,000 เงินสมทบกองทนุ ประกันสงั คม 9,000 เงนิ ไดส้ ุทธิ ภาษีคานวณจากเงนิ ไดส้ ทุ ธิ ภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจา่ ยตอ่ เดือน (ต้ังแตเ่ ดอื นมกราคม-ธนั วาคม 25X1)

* ภาษีคานวณจากเงนิ ได้สทุ ธิ

ให้ทา คานวณภาษเี งินไดห้ ัก ณ ท่จี ่ายของนางสาวศรแี พร



* ภาษีคานวณจากเงนิ ได้สทุ ธิ



* ภาษีคานวณจากเงนิ ได้สทุ ธิ

ภาษีเงนิ ไดท้ ัง้ ปี (ค่าแรงรายเดอื น+ค่าล่วงเวลา) = 31,231.25 บาท หกั ภาษีเงนิ ได้ทงั้ ปี (เฉพาะคา่ แรงรายเดอื น) = 31,021.25 บาท ภาษีเงินได้หัก ณ ท่ีจ่าย สาหรบั ค่าล่วงเวลาเดือนมกราคม = 210.00 บาท บวก ภาษเี งินไดห้ กั ณ ทจี่ ่าย สาหรบั ค่าแรงเดอื นมกราคม = 2,585.10 บาท รวม ภาษเี งินได้ หัก ณ ทจ่ี า่ ยเดือนมกราคม = 2,795.10 บาท สรปุ ภาษเี งนิ ได้บคุ คลธรรมดา หัก ณ ทจ่ี า่ ยเดือนมกราคม = 2,795.10 บาท ภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จา่ ยเดอื นกมุ ภาพนั ธ-์ พฤศจิกายน = 2,585.10 บาท ภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ท่ีจ่ายเดอื นธันวาคม = 2,585.15 บาท

เพื่อความสะดวกในการคานวณภาษีเงินได้หัก ณ ท่ีจ่าย กิจการบางแห่งจะไม่นารายการท่ีเกิดข้ึน ระหว่างปีภาษีของผู้มีเงินได้ ไปคานวณ เช่น เบ้ียประกันชีวิต ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ฯลฯ ยกเว้นผู้มีเงินได้แจ้งไว้ใน แบบแจ้งรายการเพ่ือการหักลดหย่อน (ล.ย.01) แต่จะให้ผู้มีเงินได้ดาเนินการเองตอนยื่นแบบแสดงรายการใน ระหว่างเดือนมกราคม-มีนาคม ปีถัดไป ซงึ่ ผู้มีเงินได้อาจต้องชาระเพ่ิมเติมหรืออาจได้รับคืนหากชาระไว้เกิน แต่ บางกจิ การอาจดาเนินการปรบั ให้ในเดอื นสุดทา้ ยของปีคอื เดือนธนั วาคม

แบบแสดงรายการเกย่ี วกับภาษเี งนิ ได้หัก ณ ท่จี า่ ย 1. (ภ.ง.ด.1) เปน็ แบบย่ืนรายการภาษเี งินได้หกั ณ ท่ีจ่าย สรุปรายการภาษีที่ นาส่ง 2. ใบแนบ ภ.ง.ด.1 เป็นแบบแสดงรายละเอียดเก่ียวกับผู้มีเงินได้ ย่ืนพร้อม กบั ภ.ง.ด.1 3. หนังสือรับรองภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายเป็นเอกสารท่ีผู้มีหน้าท่ีหักภาษี ณ ท่ีจ่ายต้องออกให้กับผู้มีเงินได้ เพื่อนาไปแสดงพร้อมกับการยื่นแบบแสดง รายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

แสดงตวั อยา่ งแบบแสดงรายการ ภ.ง.ด.1

หนงั สอื รับรองภาษีเงนิ ไดห้ ัก ณ ท่จี า่ ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook