Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ ที่๑

ใบความรู้ ที่๑

Published by กศน.ตำบลบางจะเกร็ง, 2021-03-13 08:46:57

Description: ใบความรู้ ที่๑

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ที่ ๑ ประเพณีท้องถนิ่ ภาคกลาง ภาคกลางเป็นภาคท่ีมปี ระชาการสงู สุด โดยรวมพ้ืนท่ีอันเป็นท่ีตั้ง ของจังหวัดมากกว่าภูมิภาคอ่ืน ๆ ใช้ภาษากลางในการสอื่ ความหมายซ่ึงกันและกัน วัฒนธรรมไทยท้องถ่ินภาคกลาง ประชาชนประกอบอาชีพ ท้านา การต้ังถ่ินฐานจะหนาแน่นบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้า มีวิถีชีวิตเป็นแบบชาวนาไทย คือ การรักพวกพ้อง พึง่ พาอาศัยกนั มคี วามเชอ่ื และเคารพบุคคลส้าคัญผู้ล่วงลับไปแล้ว มีการใช้เครื่องป้ันดินเผาตามชุมชนและ หมู่บา้ นในชนบท การละเลน่ พ้ืนบา้ นท่ีเป็นลักษณะเด่น ได้แก่ มังคละรา้ เต้น เตน้ กา้ ร้าเคยี ว เพลงปรบไก่ เพลง ลา้ ตดั เป็นตน้ นอกจากนใี้ นท้องทจ่ี งั หวดั เพชรบรุ ี มีเอกลักษณท์ โ่ี ดดเด่น คือมี ความสามารถในการปลูกสร้าง เรอื นไทย ความเป็นช่วงฝมี อื ท่ีประณตี ในการตกแต่งวัด และช่าง ประดิษฐ์ต่าง ๆ เช่น ช่างทอง ช่างแกะสลัก ลายไทย ลวดลายปูนปัน้ ประดับพระสถปู เจดีย์ชนกลุ่มนอ้ ยในท้องถน่ิ ภาคกลาง มีหลายเผ่าพันธ์ุ อาทิ ลาวโข่ง กระเหรี่ยง ในพ้นื ท่ีจงั หวัดเพชรบรุ ี ลาวพวน ในอา้ เภอบ้านหมี จังหวัดลพบุรี คนลาว ในเขต จังหวัดเพชรบุรี ปราจีนบุรี และฉะเชิงเทรา มอญ ในอ้าเภอพระประแดง จงั หวดั สมุทรปราการ ประเพณีการตักบาตรดอกไม้ ในวนั เขา้ พรรษา คือวนั แรม 1 ค้่า เดอื น 8 ชาวบ้านวดั พระ พุทธบาท จงั หวดั สระบรุ ี แถบนน้ั มีคติเช่อื ว่าการ บชู า พระรัตนตรัยด้วยดอกไมธ้ ปู เทียน\"อามิสบูชา\" ในวันสา้ คัญทางพระพุทธศาสนานัน้ ยอ่ มไดร้ บั ผลอานสิ งส์ มากมาย ดงั นัน้ พอถงึ วนั เข้าพรรษา ชาวบา้ นจะเกบ็ ดอกไมป้ า่ ซงึ่ ส่วนใหญ่จะเป็นพืชประเภททมี่ กี อหรอื เหงา้ ฝงั อยใู่ ต้ดนิ เชน่ ต้นกระชายหรือตน้ ขม้นิ พชื ได้รบั ความชุม่ ชน่ื จากฝนลา้ ต้นกแ็ ตกยอดโผล่ขึ้นมาจากดนิ สงู ประมาณคืบเศษ ๆ ดอกมขี นาดเล็ก ออกเปน็ ช่อตรงบรเิ วณส่วนยอดของล้าต้น หลายสีสันงามตามไดแ้ กส่ ขี าว สีเหลือง และสีเหลอื งแซมมว่ ง ชาวบ้านเรียกช่ือต่างกนั ไปว่า \"ดอกยงู ทอง\" บา้ งหรอื \"ดอกหงส์ทอง\" บา้ ง แต่ท่ี นยิ มเรยี กรวมกันกว็ ่า \"ดอกเขา้ พรรษา\" เพราะเหน็ วา่ ดอกไมป้ า่ เหล่าน้ีจะบานสะพรัง่ ใหเ้ หน็ อยา่ งดาษดน่ื ก็ เฉพาะในเทศกาลเขา้ พรรษานเ่ี อง

ประเพณที อ้ งถิ่นภาคอสี าน ภาคอสี านเปน็ ภมู ิภาคทมี่ คี วามหลากหลายทางศิลปวฒั นธรรมและประเพณี แตกต่างกนั ไปในแตล่ ะ ทอ้ งถ่นิ แต่ละจังหวดั ศลิ ปวฒั นธรรมเหล่านเ้ี ปน็ ตัวบง่ บอกถงึ ความเชื่อ ค่านยิ ม ศาสนาและรปู แบบการด้าเนนิ ชวี ติ ตลอดจนอาชีพของคนในท้องถ่ินน้ันๆไดเ้ ป็นอย่างดี สาเหตุท่ภี าคอีสานมีความหลากหลายทาง ศิลปวฒั นธรรมประเพณีสว่ นหนึง่ อาจจะเป็นผลมาจาก การเป็นศูนยร์ วมของประชากรหลากหลายเชื้อชาติ และมกี ารติดต่อสงั สรรคก์ ับประชาชนในประเทศใกล้เคยี ง จนก่อใหเ้ กดิ การแลกเปล่ียนทางวฒั นธรรมขึ้น งานประเพณีบุญบ้งั ไฟ ประเพณีบุญบ้ังไฟ ก้าเนิดจากไหนนั้น ยังไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจน แต่ก็ยังปรากฏ ประเพณีน้ีในภาคเหนือ (เรยี กว่า ประเพณจี บิ อกไฟ)สว่ นหลกั ฐานเอกสารในภาคอีสาน ปรากฏใน วรรณกรรม ท้องถนิ่ เรื่อง ผาแดง-นางไอ่ ซง่ึ กล่าวถงึ ตา้ นานบญุ บ้ังไฟบา้ ง ส่วนความเป็นมาและต้านานเกี่ยวกับบุญบั้งไฟมี หลายประการ ดว้ ยผู้รู้หลายท่านได้กล่าวไว้ เช่น สิริวัฒน์ ค้าวันสา ได้ให้ข้อสันนิษฐานเก่ียวกับต้นเหตุความ เปน็ มาของประเพณบี ญุ บั้งไฟ ในแง่ตา่ งๆไว้วา่ ด้านศาสนาพราหมณ์ มีการบูชาเทพเจ้าด้วยไฟเป็นเคร่ืองบูชา เทพเจ้าบนสวรรค์ การจดุ บ้งั ไฟ เปน็ การละเล่นอยา่ งหนงึ่ และเปน็ การบชู าเพ่ือใหพ้ ระองค์บันดาลในส่ิงท่ตี นเอง ต้องการดา้ นศาสนาพุทธ เป็นการฉลองและบูชาเน่ืองในวันวิสาขบูชามีการน้าเอาดอกไม้ไฟแบบต่างๆ บั้งไฟ น้ามนั ไฟธูปเทยี นและดนิ ประสวิ มีการรักษาศีล ให้ทาน การบวชนาค การฮดสรง การนมิ นตพ์ ระเทศน์ ให้เกิด อานสิ งส์ ด้านความเช่อื ของชาวบา้ น ชาวบ้านเช่ือว่ามโี ลกมนษุ ย์ โลกเทวดา และโลกบาดาล มนุษย์ อยู่ภายใต้ อทิ ธพิ ลของเทวดา การร้าผีฟ้า เป็นตัวอย่างแห่งการแสดงความนับถือเทวดา เทวดา คือ \"แถน\" \"พญาแถน\" เม่อื ถอื ว่ามีพญาแถนก็ถอื วา่ มีฝน ฟ้า ลม เปน็ อทิ ธิพลของพญาแถน หากท้าให้พญาแถน โปรดปรานหรือพอใจ แถนก็จะบันดาลความสขุ จงึ มพี ธิ บี ชู าแถน การใชบ้ ง้ั ไฟเชอื่ ว่าเป็นการบูชาพญาแถน ซึ่งแสดงความเคารพและ แสดงความจงรกั ภักดีต่อแถน ชาวอีสานส่วนใหญ่จึงเช่ือว่าการจุดบูชาบั้งไฟเป็นการ ขอฝนพญาแถน และมี นิทานปรัมปราลักษณะนีอ้ ยูท่ ว่ั ไป แต่ความเช่อื นย้ี งั ไม่พบหลกั ฐานทีแ่ นน่ อน

ประเพณีท้องถ่ินภาคเหนือ ตงุ เปน็ ภาษาถ่ินประจ้าภาคเหนือซ่ึงตรงกบั คา้ ว่า ธง ในภาษาไทยภาคกลางและตรงกบั คา้ วา่ ธงุ ในภาษาท้องถิน่ อีสาน มลี กั ษณะเป็นแผน่ วัตถุ ส่วนปลายแขวนตดิ กับเสาห้อยเป็นแผ่นยาวลงมา ตาม พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ใหค้ ้าจา้ กดั ความของค้าวา่ ธง ไวว้ า่ “ ธง น. ผืนผา้ โดยมากเปน็ สีและบางอย่างมีลวดลายเป็นรูปต่าง ๆ ที่ท้าดว้ ยกระดาษหรอื สง่ิ อ่ืน ๆ กม็ สี ้าหรับใช้เปน็ เครือ่ งหมายบอกชาติ เคร่ืองหมายตามแบบสากลนิยม เครื่องหมายเดินทะเล อาณตั สิ ญั ญาณ ตกแต่ง สถานท่ี ในงานร่ืนเริงหรือกระบวนแห่ …” การใชต้ ุงทางภาคเหนอื ไดป้ รากฏหลกั ฐานในต้านานพระธาตดุ อยตงุ ซ่ึง กลา่ วถงึ การสร้าง พระธาตุไว้ว่า เม่อื พระมหากสั สปะเถระไดน้ ้าเอาพระบรมสารลี กิ ธาตพุ ระรากขวญั เบอ้ื งซ้าย ของพระพุทธเจ้า มาถวายแด่พระยา อชตุ ราชกษัตริย์แหง่ ราชวงศส์ ิงหนวัติพระองคไ์ ดท้ รงขอทดี่ นิ ของพญาลาว จก (ราชวงศล์ วจังคราช) ในหมเู่ ขาสามเส้าเป็นทกี่ ่อ รา้ งพระมหาสถปู นนั้ ทา้ ให้ทา้ ตงุ ตะขาบยาวถงึ พนั วา ปัก ไวบ้ นยอดดอยปเู่ จา้ ถา้ หางตงุ ปลวิ ไปเพียงใดกา้ หนดใหเ้ ป็นรากฐานสถปู ตุง ตงุ ไชยและตงุ ไสห้ มู ใชป้ ระดบั ตกแตง่ ในพิธมี งคลและงานบุญตงุ มีหลายชนดิ หลายแบบ หลายลักษณะ หลากรปู ทรง ต่างลวดลาย และมากชนิดของวัสดุในการท้า รวมท้งั โอกาสต่าง ๆในการใช้ตงุ จงึ พอท่จี ะจา้ แนก ออกเปน็ ประเภทได้ดงั นี้ 1. แบ่งตามวัสดุในการทา1. แบง่ ตามวัสดใุ นการทา้ ตงุ ท่ีท้าจากกระดาษ ได้แก่ ตุงช้าง ตงุ ไสห้ มู ตงุ ที่ท้าจากผืนผ้า ได้แก่ ตุงตะขาบ ตุงจระเข้ ตุงแดง ตงุ ซาววา ตงุ พระบฏ ตุงที่ท้าดว้ ยกระดาษหรอื ผ้า ไดแ้ ก่ ตุงสามหาง ตุงทท่ี อจากเส้นด้ายหรอื เสน้ ไหม ไดแ้ ก่ ตงุ ไชย ตุงทท่ี า้ จากไมห้ รอื สังกะสี ไดแ้ ก่ ตงุ กระดา้ ง 2. ตงุ ท่ใี ชใ้ นงานประดับประดาหรอื ร่วมขบวน ตุงซาววา มคี วามหมายมงคลใช้งานเหมือนตุงไชยแต่มลี ักษณะยาวกว่า ไมม่ เี สาที่ปกั ต้องใชค้ นถือหลายคน นิยมให้ผรู้ ่วมขบวนเดินถือชายตงุ ต่อ ๆ กัน

ตงุ กระดา้ ง มกั นิยมท้าดว้ ยไม้แกะสลกั และประดับกระจก ลงรักปิดทองด้วยลวดลายดอกไม้ตา่ ง ๆ ลายสตั ว์ตา่ ง ๆ แบบถาวรและมกั จะทา้ ไว้ในทท่ี ่มี ีความสา้ คญั ในพืน้ ทตี่ า่ ง ๆ 3. ตงุ ที่ใชใ้ นงานพธิ ีมงคล ตุงไชย เป็นเครอ่ื งหมายบอกถงึ ความเปน็ สริ ิมงคล ทา้ ได้โดยการทอจากด้ายหรือสลับสีเปน็ รปู เรือ รปู ปราสาทหรอื ลวดลายมงคล ใชเ้ พื่อถวายเปน็ พุทธบชู าและเปน็ เครอ่ื งหมายบอกใหร้ วู้ ่า ในบรเิ วณนนั้ จะมีงาน ฉลองสมโภชโดยจะปักตงุ ไวห้ า่ งกันประมาณ 8-10 เมตร เปน็ แนวสองขา้ งถนนสูบ่ ริเวณงาน และยงั นิยมใชใ้ น การเดนิ ขบวนเมอ่ื มงี านเฉลมิ ฉลองต่าง ๆ 4. ตงุ ทใ่ี ช้ในงานพิธีอวมงคล ตงุ แดง หรอื เรยี กวา่ ตุงค้างแดง ตงุ ผตี ายโหง จะปกั ตงุ แดงไว้ตรงบริเวณทผ่ี ตู้ ายโหงแล้วก่อเจดยี ท์ รายกอง เล็ก ๆ เทา่ กับอายุของผ้ตู ายไวใ้ นกรอบสายสญิ จนโ์ ดยเชือ่ ว่าผูต้ ายจะได้หมดทกุ ข์และเปน็ การปกั สัญลักษณ์ เตือนว่าจุดน้เี กิดอุบตั ิเหตุ ตงุ สามหาง มีความเช่อื ตามคตขิ องพระพทุ ธศาสนาว่า อนิจจงั ทุกขัง อนัตตา หรอื มีความเช่ือว่าคนเรา ตายแลว้ ตอ้ งไปเกิดใหมใ่ นภพใดภพหนง่ึ หรอื หมายถึงพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ใช้ในการเดนิ นา้ ขบวนศพ ชาวเหนอื มจี ุดมุ่งหมายในการใชต้ ุงเพอื่ เป็นพทุ ธบชู ามานาน และยงั เชอื่ ว่าการไดถ้ วายตุงเป็นการสร้างกุศล ให้กับตนเองใช้ในการสะเดาะเคราะหข์ จดั ภยั พิบัติตา่ ง ๆ ใหห้ มดไป และยงั เปน็ การอุทศิ ใหผ้ ้ทู ลี่ ่วงลบั ไปแลว้ ประเพณที อ้ งถิน่ ภาคใต้ ประเพณชี กั พระ ทอดผา้ ป่า หรอื ประเพณลี ากพระ ช่วงเวลา วนั ลากพระ จะทา้ กนั ในวันออก พรรษา คอื วนั แรม 1 ค้า่ เดือน 11 โดยตกลงนดั หมายลากพระไปยงั จดุ ศนู ย์รวม วนั รงุ่ ข้ึน แรม 2 ค้่า เดอื น 11 จงึ ลากพระกลับวดั ประเพณีชกั พระ ทอดผา้ ปา่ หรือ ประเพณลี ากพระ จงั หวัดนครศรธี รรมราช ความสาคญั

ประเพณชี กั พระหรือลากพระน้นั เป็นประเพณีท้องถ่ินของชาวใต้ ท่ีได้มีการสืบทอดกันมาต้ังแต่สมัย ศรีวิชัย โดยสันนิษฐานว่าได้เกิดมีขึ้นคร้ังแรกในประเทศอินเดีย ซ่ึงเป็นประเพณีความเชื่อของพราหมณ์ ศาสนิกชนและพุทธศาสนิกชน มีพุทธต้านานเล่าขานสืบทอดกันมาว่า หลังจากท่ีพระพุทธเจ้าทรง ได้ทรงกระทา้ ยมกปาฏหิ ารย์ปราบเดียรถีย์ ณ ปา่ มะมว่ ง กรงุ สาวัตถี และไดเ้ สด็จไปทรงจ้าพรรษา ณ ดาวดึงส์ เพ่ือทรงโปรดพระพุทธมารดา จนพระพุทธมารดาได้ทรงสิ้นพระชนม์ลง จึงทรงได้เสด็จกลับมายังโลกมนุษย์ เม่ือพระอินทร์ทรงทราบจึงได้นิมิตบันไดนาค บันไดแก้วและบันไดเงินทอดลงมาจากสรวงสวรรค์ เม่ือพุทธศาสนิกชนได้ทราบจึงพร้อมใจกันมาเฝ้ารับเสด็จที่หน้าประตูนครสังกัสสะ ในตอนเช้าของ วนั แรม 1 คา่้ เดอื น 11 พร้อมกนั ได้จัดเตรียมภตั ตาหารเพือ่ ถวายแดพ่ ระพุทธองค์

ประเภทของวัฒนธรรม โดยทว่ั ไปแลว้ มักจะแบ่งวฒั นธรรมออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ วัฒนธรรมท่เี ปน็ วัตถุ (Material Culture) ซึ่งไดแ้ กส่ ง่ิ ประดษิ ฐ์และเทคโนโลยตี า่ ง ๆ ท่ีมนุษย์คิดคน้ ผลติ ขนึ้ มา เช่น สิง่ กอ่ สร้าง อาคารบ้านเรือน อาวุธยุทโธปกรณ์ เครอ่ื งอา้ นวยความสะดวกต่าง ๆ เป็นตน้ วฒั นธรรมทไ่ี ม่ใชว่ ัตถุ (Non – material Culture) หมายถงึ อดุ มการณ์ ค่านยิ ม แนวคิด ภาษา ความเชือ่ ทาง ศาสนา ขนมธรรมเนยี มประเพณี ลทั ธกิ ารเมอื ง กฎหมาย วธิ ีการกระท้า และแบบแผนในการดา้ เนินชีวติ ซึ่งมี ลกั ษณะเปน็ นามธรรม (Abstract) ท่ีมองเหน็ ไม่ได้ การแบ่งประเภทของวัฒนธรรมออกเป็น 2 ประเภท ดังกล่าวขา้ งต้น 1.วฒั นธรรมทางวัตถุ (Material) ไดแ้ ก่ วัตถุสิ่งของเครอ่ื งใชต้ ่าง ๆ ท่มี นุษย์สรา้ งข้ึนเพอ่ื นามาใช้ ในสังคม เช่น ทอี่ ยู่อาศยั อาหาร เส้ือผา้ ยารกั ษาโรค

วัฒนธรรมท่ไี มใ่ ชว่ ัตถุ (Non – material Culture) หมายถึง อุดมการณ์ คา่ นิยม แนวคิด ภาษา ความเชื่อทางศาสนา ขนมธรรมเนียมประเพณี ลทั ธกิ ารเมอื ง กฎหมาย วธิ กี ารกระทา และแบบแผนในการดาเนนิ ชวี ิต ซึง่ มลี ักษณะเป็นนามธรรม (Abstract) ที่มองเหน็ ไมไ่ ด้ การแบ่งประเภทของวฒั นธรรมออกเป็น 2 ประเภท ดังกล่าวขา้ งตน้ นักสงั คมวิทยาบางทา่ นเห็น ว่า แนวคดิ ท่เี กย่ี วกับวัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุนั้นคลุมเครือ จึงไดแ้ บง่ วฒั นธรรมออกเป็น 3 ประเภท ดงั นี้ คอื

1.วฒั นธรรมทเี่ ป็นวตั ถุ (Material Culture) ซ่ึงไดแ้ ก่ส่ิงประดิษฐแ์ ละเทคโนโลยตี า่ ง ๆ ที่มนษุ ย์ คดิ ค้นผลติ ขึน้ มา เช่น สงิ่ ก่อสรา้ ง อาคารบา้ นเรอื น อาวุธยทุ โธปกรณ์ เคร่ืองอานวยความสะดวก ต่างๆ เป็นต้น 2.วัฒนธรรมความคดิ (Idea) หมายถงึ วัฒนธรรมท่ีเก่ยี วกับความรูส้ ึกนึกคดิ ทัศนคติ ความเชอื่ ตา่ ง ๆ เชน่ ความเชอ่ื ในเรื่องตายแลว้ เกดิ ใหม่ ความเช่อื ในเรอ่ื งกฎแห่งกรรม การเชือ่ ถอื โชคลาง ตลอดจนเร่อื งลึกลบั นยิ ายปรมั ปรา วรรณคดี สุภาษิต และอุดมการณ์ตา่ ง ๆ เป็นต้น

1. 2. 3. 3.วัฒนธรรมดา้ นบรรทัดฐาน (Norm) เป็นเรือ่ งของการประพฤติปฏิบัติตามระเบยี บแบบ แผนท่สี ังคมกาหนดเอาไวไ้ ม่วา่ จะเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรหรือไม่เป็นลายลักษณอ์ ักษรกต็ าม ซึ่งแบ่งออกเป็นประเภทยอ่ ย ๆ ดงั น้ี 4. - วัฒนธรรมทางสงั คม (Social Culture) เป็นวัฒนธรรมท่เี กี่ยวกบั ความประพฤติ หรือ มารยาททางสงั คม เชน่ การไหว้ กาจับมอื ทกั ทาย การเขา้ แถว การแตง่ ชดุ ดาไปงานศพ เปน็ ต้น 5. - วฒั นธรรมทเี่ กีย่ วขอ้ งกับกฎหมาย (Legal Culture) เปน็ วัฒนธรรมทีก่ ่อใหเ้ กิดความ เปน็ ระเบยี บและกฎเกณฑ์เพ่อื ให้คนในสงั คมอยู่ด้วยกันอย่างมคี วามสขุ 6. - วัฒนธรรมทเ่ี ก่ยี วกับจิตใจและศลี ธรรม (Moral Culture) วฒั นธรรมประเภทน้ีใชเ้ ป็น แนวทางในการดาเนนิ ชีวิตในสังคม เชน่ ความซือ่ สัตย์ สจุ ริต ความเมตตากรณุ า ความ เออื้ เฟื้อเผ่อื แผ่ เป็นต้น ตามพระราชบัญญัตวิ ัฒนธรรมแหง่ ชาติ ปพี ทุ ธศักราช 2485 ได้แบ่งประเภทวัฒนธรรมออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ o คตธิ รรม (Moral) คือวัฒนธรรมทเ่ี กยี่ วกบั หลักในการด้ารงชวี งิตสว่ นใหญเ่ ป้นื่องของจิตใจ และไดม้ าจากศาสนา ใชเ้ ปน็ แนวทางในการด้าเนินชีวิตของสงั คม เชน่ ความเสียสละ ความ ขยัน หมนั่ เพียร การประหยดั อดออกม ความกตญั ญู ความอดทน ท้าดีไดด้ ี เป็นต้น o เนตธิ รรม (Legal) คือวัฒนธรรมทางกฎหมาย รวมทง้ั ระเบียบประเพณที ่ียอมรบั นบั ถอื กันว่า มีความส้าคญั พอ ๆ กบั กฎหมาย เพ่อื ใหค้ นในสงั คมอยรู่ ่วมกนั อย่างมคี วามสุข o สหธรรม (Social) คอื วฒั นธรรมทางสงั คม รวมทง้ั มารยาทตา่ ง ๆ ที่จะตดิ ตอ่ เกย่ี วข้องกบั สงั คม เช่น มารยาทในการรับประทานอาหาร มารยาทในการติดต่อกับบุคคลต่าง ๆ ในสงั คม o วัตถุธรรม (Material) คอื วัฒนธรรมทางงวตั ถุ เช่น เคราองน่งุ ห่ม ยารกั ษาโรค บา้ นเรือน อาคารส่ิงกอ่ สร้างตา่ งๆ สะพาน ถนน รถยนต์ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ เป็นต้น ปัจจุบันเพอื่ สะดวกแกก่ ารศกึ ษาและสง่ เสรมิ วฒั นธรรม สานกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรม แห่งชาติ ไดแ้ บง่ ออกเป็น 5 สาขา คอื

11.สาขามนุษย์ศาสตร์ ไดแ้ ก่ ขนบธรรมประเพณี คุณธรรม ศีลธรรม ศาสนา ปรชั ญา ประวตั ศิ าสตร์ โบราณคดี มารยาทในสงั คม การปกครอง กฎหมาย เปน็ ตน้ 12.สาขาศิลปะ ไดแ้ ก่ ภาษา วรรณคดี ดนตรี นาฏศิลป์ วิจติ รศลิ ป์ สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม เปน็ ตน้ 13.สาขาช่างฝีมอื ได้แก่ การเย็บปกั ถกั รอ้ ย การแกะสลกั การทอผ้า การจดั สาน การทา้ เครอ่ื ง เขนิ การทา้ เคร่อื งเงนิ เครื่องทอง การจดั ดอกไม้ การประดษิ ฐ์ การท้าเครอ่ื งป้ันดนิ เผา เปน็ ต้น 14.สาขาคหกรรมศลิ ป์ ไดแ้ ก่ ความรู้เรือ่ งอาหาร การประกอบอาหาร ความรเู้ รื่องการแตง่ กาย การอบรมเลี้ยงดเู ดก็ การดแู ลบ้านเรอื นท่ีอยอู่ าศัย ความรู้เรอื่ งบา การร้จู กั ใช้ยา ความร้ใู น การอยู่รวมกนั เปน็ ครอบครัว เป็นตน้ 15.สาขากฬี าและนนั ทนาการ ได้แก่ การละเลน่ มวยไทย ฟนั ดาบสอบมือ กระบกี่ ระบอง การ เล้ยี งนกเขา ไมด้ ัดตา่ ง ๆ เป็นต้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook