Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2/2563 ระดับม.ต้น

แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2/2563 ระดับม.ต้น

Published by กศน.ตำบลบางจะเกร็ง, 2021-03-13 09:08:06

Description: คำนำต้น-ผสาน

Search

Read the Text Version

ก คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้ ประจำภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ของศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองสมุทรสงคราม ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับครูในการจัด กระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งเปน็ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐานเอกสารเก่ียวกับเนื้อหาใน รายวชิ าทจี่ ัดการเรียนรู้ และศึกษาหาขอ้ มูลจากแหล่งเรยี นร้ตู ่าง ๆ วธิ ีการจัดการเรียนรแู้ บบต่าง ๆ ซึ่งเน้นผู้เรียน เปน็ สำคัญและรูปแบบการเรียนรู้ โดยกำหนดใหใ้ ชร้ ูปแบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้ กศน. (ONIE MODEL) ซ่ึง มี 4 ขน้ั ตอน ได้แก่ ขั้นตอนท่ี 1 การกำหนดสภาพ ปัญหา ความตอ้ งการในการเรยี นรู้ (O : Orientation) ขั้นตอน ที่ 2 การแสวงหาข้อมูลและจัดการเรียนรู(N : New ways of learning) ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติและนำไป ประยุกต์ใช้ (I : Implementation) ขน้ั ตอนท่ี 4 การประเมินผล (E : Evaluation) แผนการเรยี นรูจ้ ะทำให้ครูได้ ค่มู อื การจัดการเรยี นรู้ ทำใหด้ ำเนนิ การจดั การเรียนรู้ได้ครบถ้วนตรงตามหลักสตู รและจดั การเรยี นรู้ไดต้ รงเวลา ในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ฉบับนี้ ได้รับความร่วมมอื ร่วมใจอย่างดียิ่งจาก ผู้บริหาร ข้าราชการ ครอู าสาสมคั รฯ ครู กศน. ตำบล ครู ศรช. ร่วมกันแสดงความคิดเหน็ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ จนเกิดกจิ กรรมการเรียนรู้ ครบถ้วนตามตัวชวี้ ัด ผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวงั และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของสถานศกึ ษา ขอขอบคุณ คณะผู้บริหาร ข้าราชการครู ที่ให้ความรู้ คำแนะนํา ทำให้แผนการจัดการเรียนรู้ ประจำ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 ในครั้งน้ี ประสบความสำเร็จเปน็ รูปเล่มสมบรู ณ์ คณะผจู้ ดั ทําหวงั เปน็ อย่างยิ่งว่า เอกสารเล่มนี้จะเปน็ ประโยชน์สำหรับผนู้ าํ ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพต่อไป คณะผจู้ ัดทำ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมืองสมุทรสงคราม

ข สารบญั เรือ่ ง หนา้ หลักเกณฑก์ ารดำเนนิ งาน 1 รายวรายวชิ าท่ลี งทะเบยี นเรียน 8 แผนการจดั การเรียนรู้รายภาคเรียน (ปฏิทินการเรยี นร้)ู 10 คำอธบิ ายรายวิชา และตารางวิเคราะห์สาระการเรียนรู้ 13 แผนการจดั การเรยี นรู้รายสัปดาห์ สัปดาห์ท่ี 1 หวั เรอ่ื ง กศน.สร้างสรรคก์ ารศกึ ษา (ปฐมนเิ ทศ) 53 สปั ดาห์ที่ 1 หัวเรื่อง กศน.บอกเลา่ เกา้ สิบ (ปฐมนิเทศกล่มุ ย่อย) 57 สัปดาห์ที่ 2 หัวเรื่อง การเมอื งการปกครอง 61 สัปดาห์ท่ี 3 หวั เรอ่ื ง หนา้ ทพ่ี ลเมือง 65 สัปดาห์ท่ี 4 หวั เรื่อง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี 69 สปั ดาห์ท่ี 5 หวั เรื่อง ประวัติศาสตร์ 73 สปั ดาห์ที่ 6 หวั เรื่อง ร่วมมือ รว่ มใจ สรา้ งสังคมน่าอยู่ 77 สปั ดาห์ที่ 7 หัวเรอ่ื ง ลกู เสอื กับการพัฒนา 83 สปั ดาห์ที่ 8 หัวเรอ่ื ง ลูกเสือไทย ลกู เสือโลก 88 สปั ดาห์ท่ี 9 หัวเรื่อง ลกู เสอื กศน.กบั จติ อาสาและการบรกิ าร 94 สปั ดาห์ที่ 10 หวั เร่อื ง รจู้ กั การเงนิ 99 สัปดาห์ที่ 11 หวั เรอ่ื ง ชีวติ กบั การเงนิ 104 สัปดาห์ท่ี 12 หวั เรื่อง รทู้ ันทางการเงนิ 110 สัปดาห์ที่ 13 หัวเรื่อง ภมู ิศาสตร์กายภาพ 115 สปั ดาห์ที่ 14 หวั เรอ่ื ง การให้คำแนะนำ (Advice) (โปรแกรมการเรยี รกู้ ารศึกษาต่อ) 120 สัปดาห์ที่ 15 หัวเรอื่ ง การแสดงความคิดเหน็ () (โปรแกรมการเรียรูก้ ารศึกษาตอ่ ) 124 สัปดาห์ท่ี 14 หัวเรื่อง การสำรวจแหล่งเรยี นรู้ในชุมชน/ใกล้ตวั (โปรแกรมการเรยี รกู้ ารประกอบอาชีพ) 129 สปั ดาห์ท่ี 15 หัวเร่อื ง การเรียนรจู้ ากแหล่งเรยี นรู้ในชมุ ชน/ใกล้ตวั (โปรแกรมการเรียรู้การประกอบอาชีพ) 134 สปั ดาหท์ ่ี 16 หัวเร่ือง การพดู แสดงความคดิ รูปแบบต่าง ๆ 138 สปั ดาห์ท่ี 18 หวั เรื่อง ประโยคต่างๆในภาษาอังกฤษ 143 สปั ดาห์ท่ี 19 หวั เร่ือง การสอื่ สารภาษษอังกฤษในชีวิตประจำวนั 148 สปั ดาห์ท่ี 21 หัวเรอื่ ง ภาษาท่าทางการส่อื สารในชวี ติ ประจำวัน 153 ภาคผนวก ควิ อารโ์ คด้ ใบความรู้/ใบงาน/ใบกจิ กรรม/แบบทดสอบ-หลังก่อนเรยี น แบบเกบ็ ขอ้ มูลการวัดและประเมินผล คำกริ ิยาท่บี ง่ บอกถงึ พฤติกรรมการเรียนรู้ ดา้ น KPA

1 หลกั เกณฑ์การดำเนนิ งานการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศกั ราช 2551 ความเป็นมาและแนวคดิ เป็นที่ยอมรับกันโดยท่ัวไปว่า การศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนามนุษย์ นานาประเทศต่างก็พัฒนาคนใน ชาติของตนเองผ่านระบบการศกึ ษาเช่นเดียวกัน แต่เมื่อเวลาผ่านไปประเทศประสบปัญหา เช่น ปัญหาความยากจน ปัญหาความแตกตา่ งกนั ทางดา้ นความคิด ปญั หาการใช้ความรนุ แรง ปญั หาสังคมเดก็ ตดิ เกม สารเสพติด และการพนันต่าง ๆ เปน็ ตน้ ปัญหาดงั กลา่ วสะท้อนถงึ ระบบการจัดการศึกษาของประเทศว่าการศึกษาได้ ทำหน้าที่ของการเปน็ เคร่อื งมอื ในการพัฒนามนษุ ยไ์ ดเ้ พียงใด ในอีกด้านหนึ่ง แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2558 กำหนดเป้าหมายให้ปี การศึกษาเฉลยี่ ของคนไทยเพิ่มขน้ึ เป็น 12 ปี แตจ่ ากการสำรวจภาวการณ์การมีงานทำของประชากร พ.ศ. 2557 โดย สำนักงานสถิติแหง่ ชาติ พบวา่ แรงงานไทยอายุระหวา่ ง 15-59 ปี จำนวนประมาณ 25.08 ล้านคน จากจำนวนท้ังส้ิน ประมาณ 34.85 ลา้ นคน เปน็ ผู้ทยี่ งั ไมจ่ บการศึกษาข้นั พื้นฐาน จากเปา้ หมายของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ ฯ ฉบบั ดงั กล่าว กบั ผลการจัดการศึกษาเพอ่ื ยกระดับการศึกษาของประชาชนในปี พ.ศ. 2557 เฉพาะประชากรวัยแรงงาน ท่ียังไม่จบ การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 12 ปี รัฐบาลยงั มภี าระทีต่ ้องยกระดับการศึกษาของประชากร อีก 25 ลา้ นคน ซ่ึงเปน็ ความยาก ท่ีจะให้บรรลเุ ป้าหมายตามแผน ด้วยเหตุปจั จัยดงั กล่าวข้างต้น สะท้อนให้เหน็ วา่ การศกึ ษายังไม่สามารถช่วยให้ประชาชนบางสว่ นมีความรู้ มี ความสามารถและมคี วามเป็นอยู่ที่ดีขึ้นได้ รวมถึงการพัฒนาจิตใจและจิตสำนึกในความเป็นคนดีได้ และเด็กและเยา ชนส่วนหนง่ึ ตอ้ งออกจากระบบการศึกษาเข้าส่ตู ลาดแรงงานทำงานในสถานประกอบการทงั้ ๆ ท่ไี ม่มที กั ษะฝีมอื ในการ ทำงาน และอกี สว่ นหนึง่ ปฏิเสธระบบการศึกษา ไปอยใู่ นสถานท่ี สมุ่ เสย่ี งต่อการสร้างปัญหาทางสังคมตามมา สำนักงาน กศน. มีบทบาทในการพัฒนาประชาชนที่อยนู่ อกระบบโรงเรียน จึงหามาตรการท่ีจะทำให้การจัด การศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนามนุษย์ได้อย่างแท้จริง และสามารถยกระดับการศึกษาของแรงงานดังกล่าว เพ่อื ให้จำนวนประชากรของชาติมรี ะดับการศึกษาเฉลีย่ สูงข้นึ โดยจะนำหลกั การและแนวคิดในการจดั การศึกษานอก ระบบมาใชใ้ ห้เปน็ รูปธรรม หลกั การและแนวคดิ ดงั กลา่ วมีดว้ ยกัน 5 ประการ คอื 1) หลักความเสมอภาค 2) หลักการพัฒนาตนเองและการพึ่งตนเอง 3) หลักการบูรณาการกับวิถีชีวิต 4) หลักความ สอดคล้อง 5) หลักการเรียนรู้ร่วมกันและการมีส่วนร่วมของชุมชนสังคม โดยจะปรับปรุงหลักเกณฑ์การดำเนินงาน การศกึ ษานอกระบบขน้ั พืน้ ฐานในบางเร่ือง ใหส้ ามารถดำเนนิ การเพอ่ื ยกระดับการศกึ ษาของประชากรไทยให้ได้ และ มงุ่ จัดการศกึ ษาทต่ี อบโจทยข์ องประชาชน ชุมชนและสังคม ยดึ ผ้เู รียนเป็นเป้าหมาย โดยจะจัดให้มโี ปรแกรมการเรียน ที่หลากหลาย สอดคล้องกับการทำงาน การประกอบอาชีพของผู้เรียนเพื่อพัฒนาและยกระดับการทำงาน และการ ประกอบอาชพี ของตนเอง หรอื ตอ่ ยอดการงานอาชีพ ดว้ ยแนวคดิ และความจำเปน็ ดงั กลา่ ว จงึ ปรบั ปรุงหลักเกณฑ์การ จัดการศึกษาตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 หลักการ 1. เป็ นหลักสตู รทีมีโครงสรา้ งยดื หยุ่นดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลาเรียน และการจัดการเรียนรู้ โดย เน้นการบูร ณาการเนื $อหาใหส้ อดคลอ้ งกับวิถีชีวิต ความแตกต่างของบุคคล และชุมชน 2. ส่งเสริมใหม้ ีการเทียบโอนผลการเรยี นจากการศึกษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และ การศึกษาตาม อัธยาศยั 3. ส่งเสริมให้ผู้เรยี นได้พฒั นาและเรียนร้อู ย่างตอ่ เนืองตลอดชวี ิต โดยตระหนกั ว่าผู้เรียนมี ความสำคัญ สามารถพฒั นาตนเองได้ตามธรรมชาตแิ ละเตม็ ตามศักยภาพ 4. สง่ เสรมิ ใหภ้ าคเี ครือขา่ ยมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา

2 จุดหมาย 1. มีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ มทีด่ งี าม และสามารถอย่รู ่วมกันในสงั คมอยา่ ง สนั ติสุข 2. มีความร้พู ้นื ฐานสำหรบั การดำรงชวี ติ และการเรียนรู้อย่างต่อเนือ่ ง 3. มคี วามสามารถในการประกอบสมั มาอาชพี ให้สอดคลอ้ งกบั ความสนใจ ความถนดั และ ตามทันความ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สงั คม และการเมือง 4. มที กั ษะการดำเนนิ ชวี ิตที่ดี และสามารถจัดการกบั ชวี ติ ชมุ ชน สงั คม ได้อยา่ งมีความสขุ ตาม ปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพยี ง 5. มีความเข้าใจประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย ภมู ิใจในความเปน็ ไทย โดยเฉพาะภาษา ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปญั ญาไทย ความเปน็ พลเมอื งดี ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา ยดึ มั่นในวิถีชวี ติ และการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ 6. มีจิตสํานกึ ในการอนรุ กั ษ์ และพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม 7. เป็นบคุ คลแห่งการเรยี นรู้ มที ักษะในการแสวงหาความรู้ สามารถเขา้ ถึงแหล่งเรียนรู้ และบูรณา การ ความรู้มาใช้ ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ โครงสรา้ งหลักสูตร เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นไปตามหลักการ จุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้ ที่กำหนดไว้ให้สถานศึกษา และภาคีเครือข่ายมีแนวปฏิบัติในการจดั ทำหลักสูตรสถานศึกษา จึงได้กำหนดโครงสร้างของหลกั สูตรการศกึ ษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ดังน้ี ท่ี สาระการเรยี นรู้ ประถมศกึ ษา จำนวนหน่วยกิต มัธยมศกึ ษาตอนปลาย วชิ าบงั คับ วิชาเลอื ก วิชาบงั คับ วิชาเลอื ก 1 ทกั ษะการเรียนรู้ มัธยมศึกษาตอนปลาย 2 ความรู้พน้ื ฐาน 5 วชิ าบังคบั วชิ าเลอื ก 5 3 การประกอบอาชพี 12 20 4 ทกั ษะการดำเนนิ ชวี ิต 8 5 8 5 การพฒั นาสังคม 5 16 5 6 8 6 รวม 36 12 5 44 32 6 กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ติ 48 นก. 40 16 76 นก. 200 ชม. 200 ชม. 56 นก. 200 ชม. 1. ระดับการศึกษา แบ่งออกเป็นออกเป็น 3 ระดับ คอื 1.1 ระดับประถมศกึ ษา จำนวนหนว่ ยกิตตามหลักสตู รไมน่ อ้ ยกว่า 48 หนว่ ยกิต แบง่ เป็นวชิ าบงั คบั 36 หนว่ ยกิต และวชิ าเลอื กไม่นอ้ ยกว่า 12 หนว่ ยกิต 1.2 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวนหนว่ ยกติ ตามหลักสูตรไม่นอ้ ยกวา่ 56 หน่วยกิต แบ่งเป็น วชิ าบังคบั 40 หน่วยกติ และวชิ าเลือกไมน่ อ้ ยกว่า 16 หนว่ ยกิต 1.3 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวนหนว่ ยกติ ตามหลกั สตู รไม่น้อยกว่า 76 หนว่ ยกติ แบ่งเปน็ วิชาบงั คับ 44 หน่วยกิต และวิชาเลอื กไมน่ อ้ ยกว่า 32 หน่วยกติ หมายเหตุ วิชาเลอื กในแตล่ ะระดับ สถานศกึ ษาต้องจดั ให้ผเู้ รียนได้เรยี นรูจ้ ากการทำโครงงาน จำนวนอย่างนอ้ ย 3 หน่วยกติ 2. สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ประกอบดว้ ย 5 สาระ ดงั นี้ 1. สาระทกั ษะการเรยี นรู้ เปน็ สาระเกี่ยวกบั การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง การใชแ้ หลง่ เรียนรู้ การจดั การ ความรู้ การคดิ เป็นและการวิจยั อย่างง่าย

3 2. สาระความรูพ้ ้ืนฐาน เป็นสาระเกย่ี วกบั ภาษาและการส่ือสาร คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 3. สาระการประกอบอาชีพ เปน็ สาระเกี่ยวกับการมองเห็นชอ่ งทางและการตัดสนิ ใจประกอบ อาชพี ทักษะในอาชพี การจัดการอาชพี อย่างมคี ุณธรรมและการพัฒนาอาชพี ให้มน่ั คง 4. สาระทกั ษะการดำเนินชวี ิต เป็นสาระเกยี่ วกบั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง สขุ ภาพอนามยั และความ ปลอดภยั ในการดำเนนิ ชีวิต ศิลปะและสนุ ทรยี ภาพ 5. สาระการพัฒนาสังคม เปน็ สาระเก่ยี วกับภูมิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การ ปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หนา้ ท่ีพลเมือง และการพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคม 3. จำนวนหน่วยกติ ตามโครงสรา้ งหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วย 4.1 วิชาบงั คับ มีสาระการเรยี นรู้ 5 สาระ คอื สาระทกั ษะการเรยี นรสู้ าระความร้พู น้ื ฐานสาระการ ประกอบอาชีพสาระทกั ษะการดำเนินชวี ติ และสาระการพฒั นาสงั คม 4.2 วิชาเลือก เป็นวิชาทีพ่ ฒั นาขนึ้ เอง ซ่ึงจะแบ่งเปน็ 2 ลกั ษณะ คือ 4.2.1 วชิ าเลอื กบงั คับ เป็นวิชาท่สี ำนกั งาน กศน. พฒั นาข้นึ เองตามนโยบายของประเทศ และเพอ่ื แกว้ ิกกฤตของประเทศในเร่อื งตา่ ง ๆ 4.2.2 วิชาเลอื กเสรี เปน็ วิชาท่ีสถานศึกษาพฒั นาขน้ึ เอง โดยใหย้ ึดหลักการ ดังนี้ 1) พัฒนาโปรแกรมการเรยี น เพอ่ื เป็นการกำหนดทิศทางและเปา้ หมายการเรียน ของผู้เรียน สถานศึกษาต้องวิเคราะหค์ วามต้องการความจำเปน็ และความสนใจของผเู้ รยี น เพือ่ ออกแบบโปแกรมการเรียน ภายในโปรแกรมการเรียนจะประกอบไปด้วยรายวชิ าตา่ งๆ ทผี่ เู้ รยี นจะตอ้ งเรยี นรู้ 2) การพัฒนาวชิ าเลอื กตามโปรแกรมการเรียนรู้ สถานศกึ ษาตอ้ งรว่ มมอื กับผู้เรียน ผู้รู้ ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน หือผูท้ ่มี ีประสบการณใ๋ นเร่อื งนัน้ ๆ เพอ่ื จัดโปรแกรมการเรียนและ พัฒนารายวิชาต่าง ๆ 4. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นกิจกรรมที่มีเจตนารมณ์ให้มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองอยู่ ตลอดเวลาอย่างหลากหลายใหส้ อดคล้องกับการเปลยี่ นแปลงของสังคมสง่ิ แวดล้อมซึง่ อยู่ในวถิ ีการดำเนินชีวิตของตน ตลอดเวลาจงึ ต้องมกี ารดำเนนิ การอย่างต่อเน่ือง กำหนดให้ผู้เรียนต้องทำกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชีวิตจำนวนไม่น้อย กว่า 200 ชว่ั โมง ซ่ึงเปน็ เงื่อนไขในการจบหลกั สูตรโดยเน้นให้ผเู้ รยี นนำขอ้ มูลความรู้และประสบการณม์ าฝึกทกั ษะการ คดิ การวางแผนปฏบิ ัติการท่จี ะสง่ ผลต่อการจัดกิจกรรมการพัฒนาตนเองครอบครัวชุมชนและสังคมเพ่ือให้ดำรงอยู่ใน สงั คมอย่างมคี วามสุข ลักษณะการจัดกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวิต แบ่งเป็น 2 ประเภท ดงั นี้ 1. กิจกรรมการเรียนรูท้ ีม่ ุ่งเนน้ การพัฒนาทกั ษะชีวิตของตนเองและครอบครัว โดยใช้ กระบวนการเรยี นรู้แบบมีส่วนร่วมของผู้เรยี น 2.กิจกรรมการเรยี นรทู้ มี่ ่งุ เนน้ การพฒั นาชุมชนและสงั คม โดยใชก้ ระบวนการมสี ว่ นร่วมของ ชุมชน การจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนร้เู ปน็ กระบวนการสำคัญในการนำหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 เป้าหมายสำคญั เพือ่ พฒั นาผูเ้ รยี นใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรทู้ ้ัง 5 กลุ่มสาระเรยี นรู้ รวมท้ังปลกู ฝังเสริมสร้างค่านยิ มอันพงึ ประสงค์ทต่ี ้องการใหเ้ กดิ แกผ่ ู้เรยี น 1. หลกั การจัดการเรียนรู้ การจัดการเรยี นรู้เพอื่ ให้ผเู้ รียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรยี นรู้ โดยยึดหลกั วา่ ผเู้ รียน มีความสำคญั ท่ีสุด เชอ่ื วา่ ทกุ คนมคี วามสามารถเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองได้ ยดึ ประโยชนท์ ีเ่ กิดกับผเู้ รยี น

4 กระบวนการจดั การเรียนรู้ต้องสง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี น สามารถพัฒนา ตามธรรมชาตแิ ละเตม็ ตามศักยภาพ คำนึงถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เน้นใหค้ วามสำคัญทัง้ ความรูแ้ ละคุณธรรม 2. ข้นั ตอนการจดั การเรียนรู้ 1) แนะแนวทางการศึกษา การแนะแนวจะต้องดำเนินการก่อนการรับสมคั รผู้เรยี น เพื่อให้ผู้เรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีข้อมูลเพียงพอในการตัดสินใจเลือกเรียนตามความสนใจและ ความต้องการของตนเอง 2) การวิเคราะห์ผเู้ รียน สถานศึกษา/ครูต้องวิเคราะห์พื้นฐานของผูเ้ รยี นเพื่อ (1) การเลือกโปรแกรมการเรียนทส่ี อดคลอ้ งกบั ความต้องการ (2) การเทียบโอนผลการเรยี น ให้ผู้เรยี นตรวจสอบตนเองว่า มีผลการเรียนหรือ มีความรแู้ ละประสบการณใ์ นเรอ่ื งใดมาก่อน เพอ่ื จะจัดใหม้ ีการเทียบโอนหรือประเมนิ เพ่ือเทียบโอน เป็นผลการเรียนต่อไป 3) จดั ใหล้ งทะเบียนเรียนรายวิชาบังคบั และรายวิชาเลอื กตามโปรแกรมการเรียน 4) การวางแผนและการจัดกระบวนการเรยี นรู้ โดยครูจะต้องวเิ คราะห์เนือ้ หาสาระการเรียน ร่วมกับผู้เรียน เพื่อวางแผนการเรียนร่วมกันและเมื่อสรุปผลการวิเคราะห์เนื้อหาสาระครูจะต้อง จัดทำแผนการเรยี นรู้ รายภาค รายสปั ดาห์ เปน็ ตน้ 3. การจดั กระบวนการเรียนรู้ การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนมีความสามารถในการเรียนรู้ ตามปรัชญาพื้นฐานการศึกษานอก โรงเรียน “คิดเป็น” โดยเน้นพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้ และสร้างองค์ความรู้ สำหรับตนเอง ชุมชน และสังคม จะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เป็นเครื่องมือที่จะนำพา ตนเองไปสูเ้ ป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรูท้ ีจ่ ำเป็นสำหรับผู้เรียน อาทิ กระบวนการเรยี นรูแ้ บบ บูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และแก้ปัญหากระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง เป็นต้น กระบวนการเหล่านี้เป็นแนวทางในการ จัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนควรได้รับการ ฝึกฝนพัฒนาเพราะจะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุ เปา้ หมายของหลกั สูตร ส่งเสริมใหผ้ ้เู รียนเกิดการเรยี นรู้ตามศักยภาพของตนเอง การจดั กระบวนการเรียนรู้ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพมแี นวทาง ดังน้ี 3.1 การออกแบบการจดั การเรยี นรู้ ครูผสู้ อนต้องศึกษาหลกั สตู รสถานศกึ ษาใหเ้ ข้าใจถึงมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชี้วดั แลว้ จึงพจิ ารณา ออกแบบการจัดการเรียนร้โู ดยเลอื กใชว้ ิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหลง่ เรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผ้เู รยี นไดพ้ ัฒนาเตม็ ตามศักยภาพและบรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรซู้ ึ่ง เปน็ เป้าหมายท่กี ำหนด หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนด “วิธีการเรียน กศน.” ซ่งึ มีรปู แบบและวธิ กี ารจัดการเรยี นรูท้ ี่หลากหลาย ไดแ้ ก่ 1. การเรยี นร้ดู ้วยตนเอง เปน็ วธิ กี ารจดั การเรียนร้ทู ่ีผเู้ รียนกำหนดแผนการเรยี นรู้ของ ตนเองตามรายวชิ าท่ีลงทะเบยี นเรียน โดยมคี รูเป็นท่ปี รกึ ษาและให้คำแนะนำในการศกึ ษาหาความรู้ ดว้ ยตนเองจากภมู ปิ ัญญา ผ้รู ู้ และสื่อต่าง ๆ 2. การเรียนรแู้ บบพบกลุม่ เป็นวิธกี ารจัดการเรียนรู้ท่กี ำหนดให้ผู้เรยี นมาพบกันโดยมีครู เปน็ ผูด้ ำเนินการให้เกดิ กระบวนการกลุม่ เพื่อให้มีการอภปิ รายแลกเปล่ียนเรยี นรูแ้ ละหาข้อสรุป ร่วมกนั 3. การเรยี นรูแ้ บบทางไกลเปน็ วธิ ีการจดั การเรยี นรจู้ ากส่อื ต่าง ๆ โดยท่ีผู้เรยี นและครจู ะ สอื่ สารกนั ทางสือ่ อิเล็กทรอนกิ ส์เป็นส่วนใหญ่ หรือถา้ มีความจำเป็นอาจพบกันเปน็ ครงั้ คราว

5 4. การเรียนรู้แบบชนั้ เรียนเป็นวิธกี ารจดั การเรียนรู้ท่ีสถานศกึ ษากำหนดรายวิชา เวลา เรยี น และสถานท่ี ท่ีชดั จน ซ่ึงวธิ กี ารจดั การเรียนรู้นเี้ หมาะสำหรับผูเ้ รียนทม่ี ีเวลามาเข้าชั้นเรยี น 5. การเรยี นรตู้ ามอธั ยาศัยเป็นวธิ กี ารจดั การเรยี นรู้ทผี่ ู้เรยี นสามารถเรยี นรไู้ ดต้ ามความ ตอ้ งการ และความสนใจ จากสื่อเอกสาร ส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ หรือจากการฝึกปฏิบตั ติ ามแหล่ง เรยี นรู้ต่าง ๆ แล้วนำความรูแ้ ละประสบการณ์มาเทยี บโอนเขา้ สู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 6. การเรยี นรูจ้ ากการทำโครงงานเป็นวธิ ีการจดั การเรียนรทู้ ่ผี ู้เรยี นกำหนดเรื่องโดยสมคั ร ใจตามความสนใจ ความตอ้ งการ หรอื สภาพปัญหา ที่จะนำไปสู่การศกึ ษาคน้ คว้า ทดลอง ลงมอื ปฏิบตั จิ รงิ และมีการสรปุ ผลการดำเนนิ งานตามโครงงาน โดยมคี รเู ปน็ ผูใ้ ห้คำปรกึ ษา แนะนำ อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ และกระตนุ้ เสรมิ แรงใหเ้ กิดการเรยี นรู้ 7. การเรยี นรรู้ ปู แบบอน่ื ๆ สถานศกึ ษาสามารถออกแบบวิธกี ารจัดการเรียนรใู้ นรปู แบบ อื่น ๆ ไดต้ ามความต้องการของผูเ้ รียน วิธีการจดั การเรียนรูด้ งั กล่าวข้างตน้ สถานศึกษาและผู้เรยี นร่วมกนั กำหนดวธิ ีเรียน โดย เลอื กเรียนวิธใี ดวิธหี นึ่ง หรือหลายวิธีก็ได้ข้ึนอยกู่ ับความยากงา่ ยของเนอื้ หา และสอดคลอ้ งกับวถิ ี ชวี ิต และการทำงานของผเู้ รียน โดยขณะเดยี วกันสถานศกึ ษาสามารถจัดให้มีการสอนเสรมิ ได้ทุกวธิ ี เรยี น เพอื่ เติมเตม็ ความรู้ให้บรรลมุ าตรฐานการเรียนรู้ 3.2 รูปแบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ดังนี้ 1. กำหนดสภาพปัญหา ความต้องการของผู้เรียน ชมุ ชน สังคม ให้เชอ่ื มโยงกับ ประสบการณแ์ ละสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ของหลักสูตร โดยผู้เรยี นทำความเข้าใจกบั สภาพปัญหาความตอ้ งการนน้ั ๆ แลว้ กำหนดเป้าหมายการเรยี นรู้ และวางแผนการเรียนร้ขู อง ตนเองเพ่ือนำไปส่กู ารปฏิบัติต่อไป 2. แสวงหาขอ้ มูลและการจัดการเรียนรู้ทเ่ี ชือ่ มโยงความรใู้ หม่กบั ความรเู้ ดมิ โดยศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ รวบรวมขอ้ มลู ของตนเอง ชมุ ชน สังคม และวิชาการ จากส่ือ และแหล่งเรยี นรทู้ ี่ หลากหลายมีการสะท้อนความคิด ระดมความคดิ เห็น อภิปราย วิเคราะห์ สังเคราะห์ขอ้ มูล และ สรุปเปน็ ความรู้ 3. ปฏิบัติ โดยให้นำความรูท้ ี่ได้ไปประยกุ ต์ใชใ้ ห้สอดคลอ้ งกบั สถานการณท์ ี่เหมาะสมกบั สงั คม และวฒั นธรรม 4. ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ โดยใหม้ ีการประเมิน ทบทวนแกไ้ ขข้อบกพร่อง และตรวจสอบ ผลการเรยี นรู้ใหบ้ รรลตุ ามเปา้ หมายการเรยี นรู้ทว่ี างไว้ 3.3 บทบาทของผสู้ อนและผเู้ รยี น การจัดการเรยี นรู้เพ่ือให้ผู้เรียนมคี ณุ ภาพตามเป้าหมายของหลกั สูตร ทงั้ ผู้สอนและผเู้ รยี น ควรมีบทบาทดังนี้ 3.3.1 บทบาทของผู้สอน 1) ศึกษาวิเคราะหผ์ ูเ้ รียนเป็นรายบคุ คล แล้วนำข้อมลู มาใช้ในการวางแผน การ จัดการเรียนรทู้ ที่ า้ ทายความสามารถของผู้เรียน 2) กำหนดเป้าหมายท่ีต้องการให้เกดิ ขึน้ กบั ผเู้ รยี น ด้านความร้แู ละทักษะ กระบวนการ ท่ีเปน็ ความคิดรวบยอด หลกั การและความสมั พันธ์ รวมทง้ั คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ 3) ออกแบบการเรยี นรู้และจัดการเรียนร้ทู ตี่ อบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล และพฒั นาการทางสมอง เพ่อื นำผูเ้ รียนไปส่เู ป้าหมาย 4) จดั บรรยากาศท่ีเอือ้ ต่อการเรียนรูแ้ ละดูแลชว่ ยเหลือผู้เรียนใหเ้ กิดการเรยี นรู้

6 5) จัดเตรียมและเลอื กใช้สื่อให้เหมาะสมกับกจิ กรรม นำภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นและ เทคโนโลยที ี่เหมาะสมมาประยุกต์ใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน 6) ประเมินความกา้ วหนา้ ของผเู้ รียนด้วยวธิ กี ารที่หลากหลาย เหมาะสมกับ ธรรมชาติของวชิ าและระดับพฒั นาการของผู้เรียน 7) วิเคราะห์ผลการประเมนิ มาใชใ้ นการซอ่ มเสริมและพฒั นาผู้เรียน รวมทั้ง ปรับปรงุ การจัดการเรยี นการสอนของตนเอง 3.3.2 บทบาทของผเู้ รยี น 1) กำหนดเปา้ หมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรียนรูข้ องตนเอง 2) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหลง่ การเรยี นรู้ วิเคราะห์ สังเคราะหข์ ้อความรู้ ตง้ั คำถาม คดิ หาคำคอบหรอื หาแนวทางแกป้ ัญหาดว้ ยวธิ กี ารต่าง ๆ 3) ลงมือปฏบิ ัติจรงิ สรปุ ส่งิ ที่ไดเ้ รียนร้ดู ้วยตนเอง และนำความรู้ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น สถานการณ์ต่าง ๆ 4) มปี ฏสิ มั พันธ์ ทำงาน ทำกิจกรรมรว่ มกับกลมุ่ และครู 5) ประเมินและพฒั นากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนือ่ ง ส่ือการเรยี นรู้ 1. สื่อเอกสาร เป็นสือ่ รปู แบบตำราเอกสาร ส่งิ พมิ พ์ เชน่ หนงั สือแบบเรียน ใบความรู้ บทความ เพือ่ ใหผ้ เู้ รียน ใชป้ ระกอบในการฝกึ ทกั ษะการคน้ คว้าดว้ ยตนเอง 2. ส่ืออิเล็กทรอนคิ ส์ แบ่งเปน็ 2.1 ส่อื เสรมิ การเรยี นรู้ เป็นส่อื ทบทวนเนื้อหา หรือขยายความในเน้อื หาสาระที่ยาก เชน่ VDO CD คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน สไลด์ แถบบนั ทึกเสยี ง แถบบันทกึ ภาพพร้อมเสียง (วดี ีทศั น์) และอน่ื ๆ 2.2 สือ่ ออนไลน์ เปน็ สอ่ื ทเ่ี ผยแพร่ผ่านอินเตอรเ์ นต็ ในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ E-Books E-Learning Website เปน็ ต้น ซึง่ ผู้เรียนสามารถศกึ ษาหาความรู้ได้ดว้ ยตนเอง ตลอดเวลาท้งั ในและนอกเวลาเรียน และ สามารถใช้ตดิ ตอ่ ส่อื สารระหวา่ งครแู ละผูเ้ รียน 3. สอ่ื ทเ่ี ป็นกิจกรรม/กระบวนการ เป็นสอ่ื เพื่อฝึกกระบวนการคดิ และการปฏิบัตทิ ค่ี รูหรอื ผู้เรียน กำหนดข้ึน เพ่อื เสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ ใชใ้ นการฝกึ ทักษะซ่ึงตอ้ งใช้กระบวนการคดิ การปฏบิ ตั ิ การเผชญิ สถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้ของผูเ้ รยี น เช่น การแสดงละครบทบทสมมติ การสาธติ สถานการณจ์ ำลอง การจัดนทิ รรศการ ไปทศั นศึกษนอกสถานที่ การทำโครงงาน เพลง เกม การปฏิบัติตาม ใบงาน เปน็ ตน้ 4. ส่ือบุคคล เป็นส่ือทีม่ ีประสทิ ธิภาพสูงในการสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ และพฒั นาทักษะต่าง ๆ ที่ สอดคลอ้ งกับเน้อื หาสาระท่ยี าก ซึง่ ตอ้ งเปน็ ผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ความเชีย่ วชาญเฉพะด้าน แนวคดิ เจต คติ และวิธีปฏิบัตไิ ปสูบ่ คุ คลอ่นื ๆ ได้ เช่น ครูผ้สู อน ผู้รู้ ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบา้ น เป็นตน้ 5. สือ่ ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม เปน็ สอ่ื ที่เกิดข้นึ เองตามธรรมชาติ เชน่ พืชผัก ผลไม้ สตั ว์ชนิดต่าง ๆ ปรากฎการณต์ า่ ง ๆ สภาพดนิ ฟา้ อากาศ หอ้ งเรยี น หอ้ งปฏิบัตกิ าร แหล่งวิทยบรกิ าร หรือแหลง่ การเรยี นรู้ ห้องสมุด ชุมชน สงั คม วัฒนธรรม เป็นตน้ 6. สื่อวัสดอุ ุปกรณ์ เปน็ สอ่ื ทป่ี ระดษิ ฐ์ข้นึ เพื่อประกอบการเรียนรู้ เชน่ หุ่นจำลองตา่ ง ๆ แผนภมู ิ ต่าง ๆ แผนที่ ตาราง สถติ ิ กราฟ เปน็ ตน้ นอกจากนร้ี วมถงึ สือ่ ประเภทเคร่ืองมือและอปุ กรณท์ จี่ ำเป็นตอ้ งใช้ ในการปฏิบัตงิ านตา่ ง ๆ เชน่ อปุ กรณ์ทดลองวทิ ยาศาสตร์ เคร่อื งมือวชิ าช่าง เครอื่ งมือวิชาคหกรรม เครอ่ื ง เกษตรกรรม เป็นตน้

7 การวัดและประเมินผล การวดั และประเมนิ ผลจะแบง่ เปน็ 2 ส่วน คอื 1 วิชาบังคับ สำนักงาน กศน.กำหนดสัดส่วนการวัดผลระหว่างภาคเรียนและปลายภาคเรียน เป็น 60 : 40 โดยวัดผลในเนื้อหาที่ต้องรู้ และจัดทำ Test Blueprint เฉพาะเนื้อหาที่ต้องรู้ Test Blueprint ดงั กล่าว จะสอดคลอ้ งกับการสอบ N-net ดว้ ย 2 วิชาเลือกบังคับ กำหนดสัดส่วนการวัดผลระหว่างภาคและปลายภาค คือ 60 : 40 โดย กลุ่มพัฒนาระบบการทดสอบจะเปน็ ผู้รับผิดชอบดำเนนิ การจัดทำ Test Blueprint และจัดทำแบบทดสอบ ทง้ั น้ี เพอื่ ให้การจดั การเรียนการสอนและการวดั ประเมนิ ผลมีมาตรฐานเดยี วกนั ทวั่ ประเทศ 3. วชิ าเลอื กเสรีสถานศึกษาปรับปรงุ ระเบยี บสถานศึกษาวา่ ดว้ ยการวัดและประเมินผลการเรียน โดย เพ่มิ เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล

รายวิชาท่ีลงทะเบยี นเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 8 1. โปรแกรมการเรยี นรูก้ ารศึกษาต่อ ครง้ั รหัสวชิ า รายวิชา นก. 4 3 รายวชิ าบังคบั 4 2 3 1 พต 21001 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวนั 2 1 3 สค 21001 สงั คมศกึ ษา 3 3 สค 21002 ศาสนาและหน้าท่ีพลเมอื ง 3 2 18 สค 21003 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม 1 17 คร้ัง รายวิชาเลือกบงั คับ 4 สค 22021 ลูกเสือ กศน. 3 2 สค 22016 การเงินเพอื่ ชวี ติ 2 1 รายวิชาเลือกเสรี 3 3 พต03003 ภาษาอังกฤษเพือ่ การสอ่ื สาร 2 รวม 18 2. โปรแกรมการเรียนร้กู ารประกอบอาชพี รหัสวิชา รายวิชา นก. รายวิชาบังคับ 4 3 พต 21001 ภาษาองั กฤษในชวี ิตประจำวนั 2 1 สค 21001 สงั คมศกึ ษา 3 สค 21002 ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 3 สค 21003 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม 1 17 รายวิชาเลือกบงั คับ สค 22021 ลกู เสือ กศน. สค 22016 การเงินเพื่อชีวติ 2 รายวิชาเลอื กเสรี ทร 02021 แหลง่ เรยี นรใู้ นชุมชน รวม

9 หมายเหตุ วิธีการคำนวณจำนวนครงั้

10 แผนการจัดการเรียนรูร้ ายภาคเรยี น (ปฏทิ ินการเรยี นร้)ู ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศกั ราช 2551 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตำบลทา้ ยหาด ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมืองสมทุ รสงคราม สัปดาหท์ ่ี 8.00- 09.01- 10.01- รายวชิ า/เวลา 14.01- 15.01- หมายเหตุ วัน เดือน ปี 9.00 10.00 11.00 15.00 11.01- 12.01- 13.01- 16.00 12.00 13.00 14.00 สัปดาห์ที่ 1 หวั เรื่อง กศน.สรา้ งสรรค์การศกึ ษา พกั หัวเรือ่ ง กศน.บอกเลา่ เกา้ สบิ 6 ธ.ค. 63 (ปฐมนเิ ทศ) (ปฐมนเิ ทศกลมุ่ ยอ่ ย) สัปดาห์ที่ 2 โฮมรูม รายวิชาสงั คมศกึ ษา รายวชิ าสังคมศกึ ษา 10 ธ.ค. 63 เร่อื ง การเมอื งการปกครอง เร่ือง การเมืองการปกครอง สัปดาห์ท่ี 3 โฮมรูม รายวชิ าศาสนาและหน้าท่พี ลเมอื ง รายวชิ าศาสนาและหนา้ ทีพ่ ลเมอื ง 17 ธ.ค. 63 เร่อื ง หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง เรือ่ ง หน้าทพ่ี ลเมอื ง สปั ดาห์ที่ 4 โฮมรมู รายวชิ าศาสนาและหน้าท่พี ลเมือง รายวชิ าศาสนาและหน้าทพ่ี ลเมือง 24 ธ.ค. 63 เร่อื ง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี เรื่อง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี สัปดาห์ท่ี 5 โฮมรมู รายวิชาสงั คมศึกษา รายวชิ าสังคมศึกษา 31 ธ.ค. 63 เร่ือง ประวตั ศิ าสตร์ เร่อื ง ประวตั ศิ าสตร์ สัปดาห์ท่ี 6 รายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน รายวชิ าการพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม 7 ม.ค. 64 โฮมรมู สังคม เรื่อง รว่ มมือ ร่วมใจ สงั คม เรื่อง ร่วมมือ รว่ มใจ สร้างสงั คมน่าอยู่ สร้างสงั คมนา่ อยู่ สปั ดาห์ท่ี 7 โฮมรูม รายวชิ าลกู เสอื กศน. รายวชิ าลูกเสอื กศน. 9 ม.ค. 64 เรอ่ื ง ลูกเสอื กับการพัฒนา เร่ือง ลกู เสอื กับการพัฒนา สัปดาห์ที่ 8 โฮมรูม รายวชิ าลูกเสอื กศน. รายวิชาลกู เสือ กศน. 14 ม.ค. 64 เร่ืองลกู เสือไทย ลูกเสอื โลก เรอ่ื งลกู เสอื ไทย ลกู เสือโลก สปั ดาห์ที่ 9 รายวชิ าลกู เสือ กศน. รายวชิ าลกู เสอื กศน. 16 ม.ค. 64 โฮมรมู เร่ืองลกู เสอื กศน.กบั จติ อาสา เร่ืองลกู เสือ กศน.กบั จิตอาสาและ และการบรกิ าร การบรกิ าร สัปดาห์ท่ี 10 โฮมรมู รายวชิ าการเงินเพ่ือชีวติ รายวชิ าการเงนิ เพ่อื ชีวติ 21 ม.ค. 64 เรอื่ งรูจ้ ักการเงนิ เรื่องร้จู กั การเงิน สัปดาห์ที่ 11 โฮมรูม รายวิชาการเงินเพอ่ื ชวี ิต รายวชิ าการเงนิ เพ่ือชีวิต 23 ม.ค. 64 เรื่องชวี ิตกับการเงิน เร่ืองชวี ติ กับการเงิน สปั ดาห์ที่ 12 โฮมรมู รายวิชาการเงินเพอื่ ชวี ิต รายวชิ าการเงินเพ่ือชวี ติ 28 ม.ค. 64 เรื่องรู้ทันทางการเงนิ เรอื่ งรู้ทนั ทางการเงนิ สัปดาห์ท่ี 13 โฮมรมู รายวิชาสงั คมศกึ ษา รายวิชาสังคมศกึ ษา 30 ม.ค. 64 เร่อื ง ภูมิศาสตรก์ ายภาพ เรอ่ื ง ภูมิศาสตร์กายภาพ รายวชิ าภาษาอังกฤษเพ่อื การส่ือสาร รายวิชาภาษาองั กฤษเพอื่ การส่อื สาร โปรแกรม เรอ่ื ง การใหค้ ำแนะนำ (Advice) การเรยี นรู้ สปั ดาห์ท่ี 14 เรอื่ ง การใหค้ ำแนะนำ (Advice) การศกึ ษาตอ่ 4 ก.พ. 64 รายวชิ าแหลง่ เรยี นรใู้ นชมุ ชน โฮมรูม รายวชิ าแหลง่ เรียนร้ใู นชุมชน เร่ืองการสำรวจแหลง่ เรียนรใู้ นชมุ ชน/ โปรแกรม การเรยี นรู้ เร่อื งการสำรวจแหล่งเรียนรู้ในชุมชน/ ใกลต้ วั การประกอบ ใกลต้ วั อาชีพ

11 สปั ดาหท์ ่ี รายวิชา/เวลา วนั เดือน ปี 8.00- 9.01- 10.01- 11.01- 12.01- 13.01- 14.01- 15.01- หมายเหตุ สัปดาห์ที่ 15 11 ก.พ. 64 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.00 15.00 16.00 สปั ดาห์ที่ 16 รายวิชาภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สาร รายวชิ าภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร โปรแกรม 18 ก.พ. 64 พัก การเรียนรู้ เรื่อง การแสดงความคดิ เห็น เรือ่ ง การแสดงความคิดเหน็ สัปดาห์ท่ี 17 (Opinion) การศึกษาตอ่ 25 ก.พ. 64 (Opinion) สัปดาห์ที่ 18 โฮมรมู รายวชิ าแหลง่ เรยี นรูใ้ นชมุ ชน 4 ม.ี ค. 64 รายวิชาแหล่งเรียนรู้ในชุมชน โปรแกรม สัปดาห์ที่ 19 เร่ืองการเรียนรจู้ ากแหลง่ เรยี นรูใ้ น เรอ่ื งการเรียนรูจ้ ากแหลง่ เรยี นรู้ในชุมชน/ การเรยี นรู้ 11 ม.ี ค. 64 ชมุ ชน/ใกลต้ วั สัปดาห์ที่ 20 ใกล้ตวั การประกอบ 14 มี.ค. 64 อาชีพ สัปดาห์ที่ 21 18 ม.ี ค. 64 รายวิชาภาษาองั กฤษในชวี ติ ประจำวัน รายวชิ าภาษาอังกฤษในชวี ติ ประจำวนั สปั ดาห์ท่ี 22 โฮมรมู เรอ่ื ง การพดู แสดงแสดงความคดิ 25 ม.ี ค. 64 เรื่อง การพดู แสดงแสดงความคดิ สปั ดาห์ที่ 23 28 ม.ี ค. 64 รปู แบบต่าง ๆ รปู แบบต่าง ๆ สปั ดาห์ที่ 24 3-4 เม.ย.64 โฮมรมู กจิ กรรมพัฒนาวชิ าการ กจิ กรรมพฒั นาวิชาการ เฉพาะนักศึกษา ตวิ เข้มเตมิ เตม็ ความรู้ ตวิ เข้มเติมเตม็ ความรู้ คาดวา่ จะจบ โฮมรมู รายวชิ าภาษาอังกฤษในชวี ิตประจำวัน รายวชิ าภาษาองั กฤษในชีวิตประจำวัน เรอื่ ง ประโยคตา่ ง ๆ ในภาษาองั กฤษ เรอื่ ง ประโยคต่าง ๆ ในภาษาอังกฤษ รายวชิ าภาษาอังกฤษใน รายวิชาภาษาอังกฤษในชวี ติ ประจำวัน เร่ือง การสื่อสารภาษาอังกฤษใน โฮมรูม ชวี ิตประจำวัน เรือ่ ง การสอ่ื สาร ชีวติ ประจำวนั ภาษาอังกฤษในชวี ติ ประจำวัน โฮมรมู กิจกรรมพฒั นาวิชาการสอนเสริม กจิ กรรมพฒั นาวิชาการสอนเสริม รายวชิ าภาษาองั กฤษในชวี ติ ประจำวนั รายวชิ าภาษาองั กฤษในชวี ิตประจำวัน เร่ือง ภาษาทา่ ทางในการสอ่ื สารใน โฮมรมู เร่อื ง ภาษาทา่ ทางในการส่อื สารใน ชีวติ ประจำวัน ชีวติ ประจำวนั สอบกลางภาครายวิชาเลือกบังคับ โฮมรูม สอบกลางภาครายวิชาบังคับ และรายวิชาเลอื กเสรี สอบปลายภาครายวิชาเลอื กเสรี สอบปลายภาครายวิชาเลอื กเสรี สอบปลายภาครายวิชาบังคับและ สอบปลายภาครายวิชาบังคบั และ รายวิชาเลือกบงั คับ รายวิชาเลือกบงั คับ

13 คำอธบิ ายรายวิชา พต 21001 ภาษาองั กฤษในชีวิตประจำวัน จำนวน 4 หนว่ ยกิต ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มาตรฐานการเรยี นรูร้ ะดบั มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคตเิ ก่ยี วกับ ภาษาท่าทาง การฟงั พดู อ่าน เขยี น ภาษาต่างประเทศ ดว้ ยประโยคที่ซับซอ้ นในชีวติ ประจำวัน และงานอาชพี ของตนไดถ้ กู ต้องตามหลกั ภาษาวัฒนธรรม และกาลเทศะ ของเจา้ ของภาษา ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับเรือ่ งดังต่อไปน้ี 1. การใชภ้ าษาท่าทางในการสอ่ื ความหมาย วิธีการรบั -ตอบโทรศพั ท์อยา่ งง่าย ๆ การแสดงความรู้สึก ดี ใจ เสยี ใจ เข้าใจ พอใจ ไมพ่ อใจ ให้กำลังใจ สนใจ และไม่สนใจ วธิ ีการพูดแทรก พดู ขอบคุณและการตอบรับ วิธีการพูดแสดงความคิดเห็น ความตอ้ งการ และการเสนอให้ความชว่ ยเหลือผอู้ น่ื พรอ้ มกบั การตอบรบั รวมทัง้ ลกั ษณะของประโยคบอกเลา่ ประโยคคำถาม ประโยคปฏเิ สธ ประโยคคำส่ัง และประโยคอทุ าน ซ่ึงใชใ้ น ชวี ิตประจำวนั ในสถานการณ์ต่าง ๆ 2. ลกั ษณะและการใช้ ประโยคความรวม (Compound Sentence) Past Tense ในรปู ต่าง คำกริยา คำกรยิ าวิเศษณ์ คำสนั ธาน และคำอุทาน โดยสามารถนำไปใช้ในการเล่าเร่ืองราวเกีย่ วกับชวี ิตประจำวนั และการ ประกอบอาชีพ การอ่านข่าวสารข้อมูลจากส่ือประเภทต่าง ๆ การอา่ นสลากสินคา้ และการตคี วามหมายของสญั ลักษณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทัง้ เข้าใจการใช้ Internet เพื่อสบื ค้นขอ้ มูล การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ 1. ฝึกฟงั พดู อ่าน เขียน ภาษาอังกฤษในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้สถานการณจ์ ำลอง และ/หรือสือ่ ที่ เหมาะสม 2. ฝึกฟัง พดู อา่ น เขียน จากสถานการณ์จำลองโดยใช้ส่อื ต่าง ๆ ท่ีเหมาะสม และสอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ การวัดและประเมนิ ผล 1. ตรวจสอบจากการนำไปใช้ได้ถกู ต้องและเหมาะสมตามสถานการณ์ 2. สามารถใชภ้ าษาในการส่ือสารได้ถกู ต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ ตารางวเิ คราะห์สาระการเรยี นรู้ ท่ี หวั เรอื่ ง ตัวชี้วัด เนอื้ หา จำนวน ระดับความยากง่าย ชม. งา่ ย ยาก ยากมาก 1 ภาษาทา่ ทาง เขา้ ใจและใช้ภาษาใน 1.ภาษาตามมารยาท 15 สงั คมเพอ่ื สรา้ ง ในการส่ือสารใน การสอื่ สารใน ความสัมพันธ์ระหวา่ ง  ชวี ติ ประจำวนั ชวี ติ ประจำวนั บคุ คลในสถานการณ์ (Language in ตา่ ง ๆ ดงั น้ี daily life) 1.1 การทกั ทาย การ กล่าวลา เชน่ - Good morning. - Good afternoon. - Good evening.

ท่ี หวั เร่อื ง ตัวชว้ี ัด เน้อื หา จำนวน 14 ชม. ระดบั ความยากง่าย - Hi / Hello. งา่ ย ยาก ยากมาก - How are you?  - How are you  today? - I’m fine, thank you and you? - Nice to see you. - Nice to see you too. - Glad to see you. - Glad to see you too. - Good bye. Bye. - See you soon. - See you on…(Day) 1.2 การแนะนำตนเอง และผู้อืน่ เชน่ Pat : Hello, I’m Pat. Suda : Hi, my name is Suda. How do you do ? หรอื A : Bob, this is John, my friend from New Zealand. B : How do you do? Nice to meet you. John : How do you do? Nice to meet you, too. etc. 2. ภาษาท่าทางทีใ่ ช้ใน โอกาสต่าง ๆ ดังน้ี 2.1 ท่าทางทส่ี ื่อ ความหมายทางภาษา เช่น กวกั มอื = Come here. โบกมอื = Bye-bye. ชู 2 นวิ้ = Victory ผายมือ = This way, please.

15 ท่ี หวั เร่อื ง ตวั ชวี้ ัด เนื้อหา จำนวน ระดบั ความยากง่าย ชม. ง่าย ยาก ยากมาก etc. 2.2 ทา่ ทางการปฏบิ ัตติ าม  วฒั นธรรมของเจา้ ของ ภาษา เช่น - Hand Shaking. - Waving good-bye. - Good-bye hug/kiss  - Good night hug/kiss etc. 2.3 คำศัพท์ สำนวน ประโยคและทา่ ทางที่ใช้ สอื่ สารในโอกาสตา่ ง ๆ เชน่ - Merry Christmas. - Happy New Year. - Happy Valentine’s. - Happy Birthday. - Congratulations on your graduation. - Thanks. - Thank you very much. - The same to you. - Many happy returns. etc. 2 การโต้ตอบ รบั -ตอบ โทรศัพท์ 1.คำศัพท์ สำนวน 10  โทรศพั ท์ อย่างง่าย ๆ ประโยคต่าง ๆ ท่ใี ชใ้ นการ

ท่ี หัวเรือ่ ง ตัวชีว้ ัด เนื้อหา จำนวน 16 ชม. (Telephone ระดับความยากง่าย Conversation) สอ่ื สารในการรบั โทรศัพท์ งา่ ย ยาก ยากมาก อยา่ งง่ายรวมกัน การรับ  ฝากข้อความทางโทรศัพท์  - Is Miss/Mrs./Mr. Robert home? - I’m speaking. - He / She is out. - He / She will be back soon. Would you like to wait? etc. 2. การรับฝากข้อความ ทางโทรศัพท์ A : Hello, may I speak to Mrs. Wanida? B : Sorry, she’s not here now. Would you like to leave her a massage? A : My name is Somsri. Please tell her to call me to 02-281- 3732. etc. 3 การแสดง ใชภ้ าษาอังกฤษในการ 1. คำ วลี ประโยค บท 10 ความรู้สกึ ต่าง ๆ แสดงความรู้สกึ (ดใี จ/ สนทนาที่แสดงอารมณ์ (Expression เสยี ใจ/เขา้ ใจ/พอใจ/ of feelings) ไมพ่ อใจ/ใหก้ ำลังใจ/ ความรูส้ ึกตา่ งๆ สนใจ/ไมส่ นใจ) 1.1 พอใจ/ไมพ่ อใจ - That’s great./ That’s bad. - How wonderful! - How awful! - I am so pleased to hear that. - I am afraid I don’t like it.

ท่ี หวั เร่อื ง ตัวชว้ี ัด เน้ือหา จำนวน 17 ชม. ระดบั ความยากง่าย - I love/like/enjoy it. ง่าย ยาก ยากมาก - I am disappointed  to see that.  etc.  1.2 สนใจ/ไมส่ นใจ - I’m interested in..... - I’m not interested in.......... - I don’t care (about that)........... - I have no idea. etc. 1.3 ให้กำลงั ใจ/เห็นใจ/ ปลอบใจ - Don’t worry. - Cheer up. - Take it easy. - Relaxed. - You will be fine. - Well done. - You did a good job. etc. 1.4 ดีใจ/เสียใจ - I’m glad that you can come. - I’m so pleased to see you. - I’m glad to hear from you. - I’m so sorry to hear that………………… - I’m so sorry for being late. - I’m terrible sorry for................................ - It’s my sympathy to hear that…………….

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ช้ีวัด เน้อื หา จำนวน 18 ชม. ระดับความยากง่าย - I’m deeply regret ง่าย ยาก ยากมาก about.....................  - Please pass my  sympathy to.............  etc. 4 การพูดแสดง พูดแสดงความคิดเหน็ ภาษาเพอื่ แสดงความ 20 ความคดิ รูปแบบ และแสดงความ คิดเห็นความต้องการ ต่าง ๆ ตอ้ งการในสถานการณ์ 1. การแสดงความคิดเห็น (Expression of ต่าง ๆ (เหน็ ดว้ ย/ไม่เหน็ ดว้ ย/ opinion, ideas ยอมรับ/ ไมย่ อมรับ) / wishes / A : The weather in offering Bangkok is hotter than helps, etc.) Singapore. B : I think so./ I don’t think so./ I agree with you. A : Living in Bangkok is not so pleasant, don’t you think that? B : Yes, but living in rural areas is less convenient. etc. 2. การแสดงความ ต้องการและตอบรับ เช่น - I’d like some more coffee. - I want to go to..... - I wish you should go with me. - I need........................ - Yes, ..............please do. / Sure. etc.

ท่ี หวั เร่อื ง ตัวชว้ี ัด เนื้อหา จำนวน 19 ชม. ระดับความยากง่าย 3. การแสดงความ งา่ ย ยาก ยากมาก ช่วยเหลือและบรกิ ารผอู้ ืน่  รวมทัง้ ตอบรับ เช่น  - What can I do for  you? - Can I help you? - Need some help? - If you need anything, please tell me./ let me know. - Certainly. - Yes, of course. - I’m afraid................. - Sorry, but................ etc. 4. การกล่าวขอบคุณและ ตอบรบั เชน่ - Thank you for your help. - Thank you every much for your kindness. - Thank you for your invitation. etc. 5. การพูดขออนุญาต และตอบรบั - May I interrupt you for a moment? - May I come in? - Can I borrow your pen? - (It’s) my pleasure. - Don’t mention it. - Yes, you can. etc.

ท่ี หัวเรื่อง ตวั ช้วี ัด เนอื้ หา จำนวน 20 ชม. ระดับความยากง่าย 6. การพูดขอโทษและ งา่ ย ยาก ยากมาก ตอบรับ  - I’m very sorry to be  late.  - I’m lost your box, I’m so sorry. - I’m terrible sorry for..................... - Sorry, it’s my fault. - Please forgive me for being late. - Forget it. - Don’t worry. - It doesn’t matter. etc. 7. การพูดแทรกอย่าง สภุ าพ เช่น - Excuse me, sir. Could you speak louder? - Excuse me, madam. - Could you show me that book? etc. 5 ประโยคตา่ ง ๆ รู้จักลกั ษณะของ 1. ประโยคคำถาม 20 ในภาษาองั กฤษ ประโยคใน คำทใี่ ช้ในการต้ังคำถาม (Different ภาษาองั กฤษ (ประโยค ไดแ้ ก่ Who, When, Types of บอกเล่า/ประโยค Where, Why, What, English คำถาม/ประโยค Whom, How เชน่ Sentences) ปฏิเสธ/ประโยคคำส่งั / - What is your name? ประโยคอทุ าน) และ - Where do you สามารถนำไปใช้ใน teach? ชวี ิตประจำวนั - When did he leave school? - How do you like it? etc. 2. ประโยคปฏิเสธ

ท่ี หัวเร่ือง ตวั ช้วี ัด เนอื้ หา จำนวน 21 ชม. ระดบั ความยากง่าย งา่ ย ยาก ยากมาก รูปแบบประโยคปฏิเสธ และคำกรยิ าที่ใช้ เชน่ - They are not farmer. - He doesn’t like Bobby. - I don’t want to go with him. etc. 6 ประโยคความ รู้จกั ลกั ษณะของ 3. ประโยคคำส่ัง 40  รวม Compound รปู แบบประโยคคำสงั่ / (Compound Sentence และ  Sentence) สามารถนำไปใช้ใน กลุม่ คำท่ีใช้และตวั อยา่ ง ชวี ติ ประจำวัน ประโยค เช่น  - Come here.  - Let’s go now. - Open the door, please. - Please sit down. - Come hear right now. etc. 4. ประโยคอุทาน รูปแบบประโยคอุทาน และตวั อยา่ งประโยค เชน่ - Oh! My god. - Oh, my god! - How marvelous! - What a wonderful party! etc. 1. ส่วนประกอบของ Compound Sentence 2. ประโยค 2 ประโยค มารวมกันด้วยคำเชือ่ มท่ี เหมาะสม คอื and, but, or เช่น

ท่ี หวั เร่อื ง ตัวชว้ี ัด เนอื้ หา จำนวน 22 ชม. ระดบั ความยากงา่ ย - We tried our best ง่าย ยาก ยากมาก but we lost the game.  - Both they and we tried hard. - I’ll go to the cinema or visit my parent. 3. การเชื่อมประโยคให้ เปน็ Compound Sentence โดยใช้ เคร่ืองหมาย/คำเช่ือม ต่อไปน้ี 3.1 , (Comma) + คำสันธาน เช่น - They tried their best, yet they didn’t succeed. ; (Semicolon) ใชใ้ น กรณที ีม่ เี คร่ืองหมายอนื่ ๆ อยู่ดว้ ยหลายแหง่ เชน่ - I also bought her a new car ; I have not yet, nowhere, given it to her. Correlative Conjunction ได้แก่ คำ ต่อไปน้ี both……..and……… either…….or………. neither…..nor……… not only.....but also... เช่น - Neither did he listen, nor did he improve. - Not only the English teacher get him a bad grade,

ท่ี หัวเร่ือง ตวั ชว้ี ัด เนอื้ หา จำนวน 23 7 Past Tense ชม. ใช้ Past Tense ใน ระดับความยากง่าย รปู แบบต่าง ๆ ได้ but also the social งา่ ย ยาก ยากมาก teacher did so.  Past Tense ในรปู แบบ 40 ต่างๆ 1. Past Simple Tense Subject + V2 Subject +……….+V3 1.1 เหตกุ ารณ์ที่เกดิ ขน้ึ ใน  อดีต และจบลงไปแลว้ ก่อนพูดประโยคนั้น เช่น - He spoke. - She came here yesterday. 1.2 แสดงการกระทำท่ี กระทำเป็นประจำในอดีต โดยมคี ำที่แสดงความบ่อย ความเป็นประจำอยดู่ ว้ ย เช่น - He always got up late when he was young. 2. Past continuous tense Subject + + V ing + conj. + Subject + V2 กล่าวถึงเหตุการณ์ 2 อย่าง ในอดีต โดยขณะที่ เหตุการณ์หนงึ่ ดำเนนิ อยู่มี อกี เหตกุ ารณ์แทรกเข้ามา - เหตุการณท์ ่ีดำเนินอยู่ ใช้ Past continuous tense - เหตกุ ารณ์ท่ีเกดิ ใหม่ แทรกเขา้ มาใช้ Past simple tense

ท่ี หวั เร่อื ง ตวั ช้วี ัด เนือ้ หา จำนวน 24 ชม. ระดับความยากงา่ ย งา่ ย ยาก ยากมาก - คำทีเ่ ชอ่ื มเหตกุ ารณ์ที่ สองเข้าดว้ ยกัน คอื when หรือ while เช่น - I was reading a book when she came in. While I was reading a book, she came in.

25 คำอธบิ ายรายวชิ า สค21001 สงั คมศึกษา จำนวน 3 หน่วยกิต ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดับ มคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั เกี่ยวกับภมู ิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตรก์ ารเมือง การปกครอง ในทวีปเอเชีย และนำมาปรบั ใช้ในการดำเนินชวี ิต เพอ่ื ความมั่นคงของชาติ ศึกษาและฝึกทักษะเกีย่ วกับเร่อื งดังตอ่ ไปน้ี 1. ลักษณะทางภูมิศาสตร์กายภาพ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิศาสตร์กายภาพ และความสัมพันธ์ทาง ภูมิศาสตร์กายภาพ ที่ส่งผลกระทบถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชากร ตลอดจนการเกิด ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ มของประเทศตา่ งๆ ในทวปี เอเชยี 2. ความเปน็ มาของประวตั ศิ าสตร์ประเทศตา่ งๆ ในทวีปเอเชีย 3. ความหมาย และความสำคญั ของเศรษฐศาสตร์ ระบบเศรษฐกจิ และกลุ่มของเศรษฐกิจในทวปี เอเชยี 4. การเมือง การปกครอง และการเปรียบเทยี บรปู แบบการเมอื ง การปกครองของประเทศต่างๆ ในทวปี เอเชีย การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ 1. จดั ให้มีการสำรวจสภาพภูมิศาสตร์กายภาพประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครองของ ชมุ ชน จัดกลุม่ อภปิ รายแลกเปลีย่ นเรียนรู้ สืบคน้ ขอ้ มลู ทางกายภาพ จากแหลง่ เรยี นรู้ภูมปิ ญั ญา แผน ท่ี Website ฯลฯ และสรปุ ผลการเรยี นรู้ นำเสนอในรปู แบบตา่ งๆ 2. จัดใหม้ ีการศกึ ษาจากสื่อการเรยี นรู้ เช่น เอกสาร ตำรา CD แหล่งการเรียนรู้ ภมู ปิ ญั ญา สถานท่ีสำคัญ 3. จดั ใหม้ กี ารสืบค้นรวบรวมขอ้ มูล โดยวธิ ีการต่างๆ เช่น การศึกษาดงู าน การเกบ็ ขอ้ มูล จากองค์กร ฟงั การบรรยายจากผูร้ ู้ จัดกล่มุ อภิปราย การวเิ คราะห์ เสนอแนวคดิ ทางเลอื ก 4. จัดกจิ กรรมการศกึ ษาจากสภาพจรงิ การเลา่ ประสบการณ์ การแลกเปลย่ี นเรียนรู้ การค้นคว้าจากผู้รู้ แหลง่ การเรยี นรู้ ส่อื เทคโนโลยี สอื่ เอกสาร การจำลองเหตุการณ์ การอภปิ ราย การวเิ คราะห์ สรุปผล การเรยี นรู้ และนำเสนอ ในรูปแบบท่ีหลากหลาย การวัดและประเมินผล ประเมินจากการทดสอบ การสังเกต การประเมินการมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและการตรวจผลงาน ฯลฯ ตารางวเิ คราะห์สาระการเรียนรู้ ท่ี หัวเร่อื ง ตวั ชว้ี ัด เน้ือหา จำนวน ระดบั ความยากงา่ ย ชม. 1. ภมู ศิ าสตร์ 1. มคี วามรู้ ความ 1. ลกั ษณะทาง งา่ ย ยาก ยากมาก กายภาพทวีป 20  เอเชีย เขา้ ใจ ลักษณะ ภูมิศาสตร์กายภาพของ ภูมศิ าสตรก์ ายภาพของ ประเทศตา่ งๆ ในทวปี ประเทศต่างๆ ในทวปี เอเชีย เอเชีย - ที่ต้ังอาณาเขตของ 2. มคี วามรู้ ความ ประเทศตา่ งๆ ในทวีป เข้าใจการเปล่ยี นแปลง เอเชยี สภาพภูมศิ าสตร์

26 ท่ี หัวเร่ือง ตัวชว้ี ัด เนอื้ หา จำนวน ระดบั ความยากง่าย ชม. ง่าย ยาก ยากมาก กายภาพทีส่ ่งผล - ภมู ปิ ระเทศของ กระทบต่อวิถชี ีวิตความ ประเทศตา่ งๆ ในทวีป เปน็ อยขู่ องประชากร เอเชีย ไทย และประเทศต่างๆ - ภูมิอากาศของประเทศ ในทวีปเอเชยี ตา่ งๆ ในทวปี เอเชยี 2.1 หลักการ  เปลย่ี นแปลงสภาพ ภูมิศาสตร์กายภาพ  2.2 กรณีตัวอย่างการ เปลีย่ นแปลงสภาพ ภมู ศิ าสตรก์ ายภาพที่ สง่ ผลกระทบต่อวถิ ีชีวิต ความเปน็ อยขู่ อง ประชากรไทย และทวีป เอเชยี  3. มีทักษะในการใช้ 3. วิธีใช้เครื่องมือทาง เคร่อื งมือทาง ภูมศิ าสตร์ แผนที่ ลกู โลก ภมู ศิ าสตร์ เช่น แผนท่ี Website ดาวเทยี ม GIS ลูกโลก Website GPRS ฯลฯ ดาวเทยี ม GIS GPRS ฯลฯ 20  4. มีความรู้ ความ 4. สภาพภูมศิ าสตร์ เขา้ ใจ เกี่ยวกับ กายภาพของไทยท่ีสง่ ผล ความสมั พนั ธข์ อง ตอ่ ทรพั ยากรตา่ งๆ และ สภาพภูมศิ าสตร์ สงิ่ แวดลอ้ มต่างๆ คอื กายภาพท่มี ตี ่อการเกดิ สภาพปา่ ไม้ ดิน หิน แร่ ทรพั ยากรธรรมชาติ แม่น้ำ ภเู ขา ลำคลอง และส่ิงแวดล้อมในทวีป หนอง บึง ทะเล ชายฝ่งั เอเชีย สตั ว์ป่า สัตวท์ ะเล สัตว์ นำ้ จืด เปลือกหอย แนว ปะการัง และอ่ืนๆส่งผล ตอ่ ทรพั ยากร และ สิ่งแวดล้อมตา่ งๆ คือ สภาพป่าไม้ ดิน หิน แร่ ภเู ขา แมน่ ้ำลำคลอง หนอง บงึ ทะเล ชายฝั่ง สตั วป์ า่ สัตวท์ ะเล สัตว์

ท่ี หวั เรื่อง ตัวชี้วัด เนอ้ื หา จำนวน 27 ชม. 2 ประวัติศาสตร์ ระดับความยากง่าย ทวีปเอเชีย น้ำจดื เปลอื กหอย แนว ง่าย ยาก ยากมาก 3. เศรษฐศาสตร์ 5. สามารถนำความรู้ ปะการงั และอื่นๆ   เกี่ยวกบั 5.1 ความสำคญั ในการ  ทรัพยากรธรรมชาติ ดำรงชวี ติ ให้สอดคลอ้ ง  ของประเทศไทยและ กับสภาพทรัพยากรใน  ทวปี เอเชียมาปรบั ใชใ้ น ประเทศไทย และ การดำรงชีวติ และ ประเทศต่างๆในทวีป ความมั่นคงของชาติ เอเชยี 5.2 กรณีตัวอย่างการ ปรบั ตวั ในการดำรงชวี ติ ท่ี สอดคลอ้ งกับสภาพ ทรัพยากรในประเทศไทย และประเทศตา่ งๆในทวปี เอเชยี 1. อธิบายความเปน็ มา 1.ประวตั ิศาสตรส์ งั เขป 20 ของประวัตศิ าสตร์ ของประเทศในทวีป ประเทศในทวปี เอเชีย เอเชีย - จนี - อนิ เดีย - เขมร - ลาว - มาเลเซีย - พม่า - อินโดนเี ซีย - ฟลิ ิปปนิ ส์ - ญ่ีปนุ่ ฯลฯ 2. สามารถนำ 2. เหตกุ ารณ์สำคญั ทาง 10 เหตกุ ารณ์ใน ประวัติศาสตร์ที่เกดิ ขน้ึ ประวตั ิศาสตร์มา ในประเทศไทยและ วิเคราะห์ใหเ้ หน็ ความ ประเทศในทวปี เอเชยี เปลี่ยนแปลงท่ีเกดิ - ยุคล่าอาณานคิ ม ขน้ึ กบั ประเทศไทย - ยคุ สงครามเย็น และประเทศในทวีป ฯลฯ เอเชยี 1.เข้าใจความหมาย 1.1 ความหมาย 15 ความสำคัญ ของ ความสำคญั ของ เศรษฐศาสตร์มหภาค

28 ท่ี หัวเร่ือง ตัวช้วี ัด เน้อื หา จำนวน ระดับความยากง่าย ชม. งา่ ย ยาก ยากมาก เศรษฐศาสตร์และ และเศรษฐศาสตร์ ระบบเศรษฐกิจ จุลภาค 1.2 ระบบเศรษฐกิจใน  ประเทศไทย 2.หลกั การ และวิธกี าร เลอื กใช้ทรัพยากรเพ่ือ  การผลติ 2.เขา้ ใจหลกั การ และ 3.คุณธรรมในการผลติ วิธกี ารตัดสินใจเลือกใช้ 4.กฎหมาย และขอ้ มูล  ทรัพยากร เพอื่ การ การคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค  ผลิตสินค้า และบริการ 5.1 หน่วยงานท่ีให้ความ 3.เลอื กวิธีการท่มี ี ค้มุ ครองผู้บริโภค  ประสทิ ธภิ าพมาใช้ใน 5.2 การพทิ ักษส์ ิทธิ และ การผลติ สนิ คา้ และ ผลประโยชนข์ อง  บรกิ ารได้ ผบู้ รโิ ภค 6.1 ความสำคัญของกลุ่ม ทางเศรษฐกิจในทวปี 15  เอเชยี 6.2 กลุม่ ทางเศรษฐกิจ ต่างๆในทวปี เอเชีย  7.1 สภาพเศรษฐกิจของ ประเทศไทยและ  ประเทศตา่ งๆในทวีป เอเชยี 7.2 ระบบเศรษฐกิจของ ประเทศต่างๆในทวปี  เอเชยี 8.ลักษณะ ประเภท สนิ คา้ เข้า และสินค้าออก  ของประเทศตา่ งๆในทวปี เอเชีย 4. การเมือง การ 1. รู้และเข้าใจระบอบ 1. การปกครอง ระบอบ 20  ปกครอง การเมืองการปกครอง ประชาธิปไตย และอ่นื ๆ ตา่ งๆ ทีใ่ ชอ้ ยู่ใน ปัจจบุ ัน 

29 ท่ี หัวเร่อื ง ตัวช้วี ัด เนอื้ หา จำนวน ระดับความยากงา่ ย ชม. ง่าย ยาก ยากมาก 2. วเิ คราะหค์ วาม 2. เปรียบเทียบรปู แบบ แตกต่าง ของรปู แบบ การเมอื งการปกครอง การปกครองระบอบ ระบอบประชาธิปไตย ประชาธิปไตย และ และระบอบอน่ื ๆ ของ ระบอบอนื่ ๆ ประเทศตา่ งๆ ในทวปี รวมท้ังตระหนกั ใน เอเชยี คุณค่าของการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย

30 คำอธิบายรายวชิ า สค21002 ศาสนาและหนา้ ทพ่ี ลเมอื ง จำนวน 2 หน่วยกติ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ มาตรฐานการเรยี นรู้ระดบั 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ คุณค่าและสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณขี อง ประเทศในทวีปเอเชีย 2. มคี วามรู้ ความเข้าใจดำเนินชีวติ ตามวิถีประชาธปิ ไตย กฎระเบยี บของประเทศเพอื่ นบา้ น ศกึ ษาและฝึกทักษะเก่ียวกับเรอื่ งดังต่อไปนี้ 1. ประวตั ิความเป็นมาของศาสนาในประเทศไทย และประเทศในทวปี เอเชีย 2. หลักธรรมสำคญั ของการปฏบิ ตั ติ นให้อยรู่ ว่ มกนั อย่างสันตสิ ุข 3. การบริหารจิต ตามหลักศาสนา 4. การปฏบิ ตั ิตนเป็นคนดตี ามหลกั คำสอนของแต่ละศาสนา (พทุ ธ ครสิ ต์ อิสลาม) 5. วัฒนธรรม ประเพณี ทส่ี ำคญั ของประเทศไทยและทวปี เอเชยี 6. การอนรุ กั ษ์ สืบสาน วฒั นธรรม ประเพณี และคา่ นิยม จรยิ ธรรมทางสังคม ทีพ่ ึงประสงค์ของสงั คมไทย 7. โครงสรา้ งและสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ที่เกย่ี วข้องกบั สิทธเิ สรภี าพ หนา้ ที่ของประชาชน 8. การปฏริ ูปการเมอื งและจดุ เดน่ ของรัฐธรรมนูญทีเ่ กี่ยวข้องกับสิทธเิ สรภี าพหนา้ ที่ของประชาชน 9. หลกั การอยูร่ ว่ มกนั ตามวิถีทางประชาธิปไตยบนพน้ื ฐานของคณุ ธรรมจริยธรรม 10. สถานการณ์และ การมีสว่ นรว่ มทางการเมืองการปกครองในสงั คมไทย 11. สิทธมิ นุษยชนพืน้ ฐาน การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ จัดใหม้ กี ารคน้ คว้าหาความรู้ จากสื่อเอกสาร ตำรา สอื่ อิเล็กทรอนกิ ส์ ภูมิปัญญา สถาบันทางศาสนา การ ฝกึ ปฏบิ ัติ การทำโครงงาน การจัดกลุ่มอภิปรายแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ การวิเคราะห์ สถานการณ์จำลอง การสรุปผล การเรียนรู้ และนำเสนอในรูปแบบตา่ ง ๆ การวดั และประเมินผล ประเมินจากการทดสอบ การสังเกต การประเมนิ การมีสว่ นร่วมในการทำกจิ กรรมและการตรวจผลงาน ฯลฯ ตารางวเิ คราะห์สาระการเรยี นรู้ ท่ี หัวเร่อื ง ตวั ช้ีวัด เนือ้ หา จำนวน ระดบั ความยากงา่ ย ชม. งา่ ย ยาก ยากมาก 1. ศาสนา 1. มีความรู้ ความ 1. ความเปน็ มาของ 20  วัฒนธรรม เข้าใจเกยี่ วกับความ ศาสนาในประเทศไทย ประเพณี เป็นมาของศาสนา - พุทธ ตา่ งๆ ในประเทศไทย - ครสิ ต์ และประเทศในทวปี - อิสลาม เอเชยี - ฮนิ ดู  2. นำหลกั ธรรม 2. ความเปน็ มาของ สำคญั ๆ ในศาสนาของ ศาสนาในทวปี เอเชีย ตน มาประพฤติปฏิบตั ิ - พุทธ ให้สามารถอยู่ร่วมกัน - ครสิ ต์ กับศาสนาอนื่ ไดอ้ ย่าง - อิสลาม สนั ตสิ ุข - ฮนิ ดู

31 ท่ี หัวเร่ือง ตวั ชว้ี ัด เนือ้ หา จำนวน ระดับความยากง่าย ชม. ง่าย ยาก ยากมาก 3. เห็นประโยชนใ์ น 3. หลกั ธรรมในแตล่ ะ  การนำหลกั ธรรมคำ ศาสนาที่ทำใหอ้ ยู่ร่วมกับ สอนในศาสนาท่ีตนนบั ศาสนาอ่นื ได้อยา่ งมี ถอื มาประพฤติปฏิบตั ิ ความสุข ตน เพื่อใหเ้ ป็นคนดีใน - ศาสนาพุทธ คือ สังคม พรหมวหิ าร4 ฆราวาสธรรม ฯลฯ - ศาสนาครสิ ต์ - ศาสนาอสิ ลาม 4.นำข้อปฏิบัตขิ อง - ศาสนาฮนิ ดู  บคุ คลตัวอยา่ งที่ใช้ 4.1 หลักธรรมในแต่ละ หลักธรรมทางศาสนา ศาสนาที่ทำให้ผ้นู ำมา มาปฏิบัติใน ประพฤตปิ ฏบิ ตั เิ ปน็ คนดี ชีวิตประจำวันมาใชใ้ ห้ ในศาสนาพทุ ธคอื เบญจ เหมาะสมกับวิถีชวี ติ ศลี เบญจธรรม พรหม ของตนเอง วิหารธรรมทที่ ำให้งาม ศาสนาครสิ ต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาฮินดู  4.2 กรณตี วั อยา่ งบคุ คล 5. มคี วามรู้ ความ ตวั อย่างในแต่ละศาสนา เขา้ ใจในวัฒนธรรม 5. วฒั นธรรมประเพณใี น 20  ประเพณขี องประเทศ ประเทศไทยและ ไทยและประเทศใน ประเทศในเอเชีย เอเชยี - ภาษา - การแตง่ กาย - อาหาร - ประเพณี 6. ตระหนกั ถึง ฯลฯ  ความสำคัญ ใน 6. การอนรุ ักษ์ และสืบ วฒั นธรรมประเพณี สาน วัฒนธรรมประเพณี ของประเทศไทยและ ของประเทศไทย และ ประเทศในเอเชีย ประเทศในเอเชีย(กรณี 7. มสี ่วนร่วมในการ ตวั อย่าง)  ปฏิบตั ิตนตาม 7. การประพฤติปฏิบตั ิ วฒั นธรรมประเพณี ตน เพอื่ การอนุรักษ์ และ ของสังคมไทย สบื สาน วฒั นธรรม ประเพณขี องประเทศ

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ช้วี ัด เนื้อหา จำนวน 32 2 หนา้ ทีพ่ ลเมือง ชม. ระดบั ความยากง่าย ไทยและประเทศใน ง่าย ยาก ยากมาก 8. ประพฤติตนตาม เอเชีย   ค่านิยมจรยิ ธรรมที่พึง 8. คา่ นิยมทีพ่ ึงประสงค์  ประสงค์ของสังคมไทย ของประเทศไทยและ  ประเทศตา่ งๆในเอเชีย  1.รู้และเข้าใจ 1.1 ความเป็นมา 20  ความสำคัญของ หลักการ เจตนารมณ์   รัฐธรรมนญู แหง่ ของรฐั ธรรมนญู  ราชอาณาจกั รไทย 1.2 โครงสร้างและสาระ สำคญั ของรฐั ธรรมนูญ 1.3 การปฏิรูปการเมอื ง และจุดเดน่ ของ รัฐธรรมนูญที่เกย่ี วกบั สิทธเิ สรีภาพหน้าที่ของ ประชาชน 2. รู้และเขา้ ใจหลกั 2. หลกั การอย่รู ่วมกนั คณุ ธรรมจรยิ ธรรมของ ตามวิถที าง การอยู่รว่ มกนั ประชาธปิ ไตยบนพืน้ ฐาน ของคณุ ธรรมจริยธรรม 3. มสี ่วนร่วมทางการ 3.สถานการณ์ และการมี เมืองการปกครองตาม ส่วนรว่ มทางการเมอื ง ระบอบประชาธปิ ไตย การปกครองตามระบอบ อนั มีพระมหากษตั ริย์ ประชาธปิ ไตยอนั มี เป็นประมขุ พระมหากษัตริยเ์ ปน็ ประมุข 4. รู้และเข้าใจหลกั สิทธิ 4.หลกั สิทธิมนษุ ยชน มนุษยชน 20 5. การมีส่วนรว่ มใน 5. การมีสว่ นรว่ มในการ การคุ้มครองปกปอ้ ง ค้มุ ครองตนเอง และผอู้ ืน่ ตนเอง และผู้อื่นตาม ตามหลักสทิ ธมิ นุษยชน หลักสทิ ธมิ นุษยชน 6. ตระหนกั ถงึ 6.ประโยชน์ของการมีส่วน ประโยชนข์ องการมี ร่วมในการคุม้ ครองฯ สว่ นรว่ มในการ (ยกตัวอยา่ ง) คมุ้ ครองปกปอ้ งตนเอง และผูอ้ ืน่ ตามหลักสทิ ธิ มนุษยชน

33 คำอธิบายรายวิชา สค21003 การพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม จำนวน 1 หนว่ ยกิต ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น มาตรฐานการเรยี นรูร้ ะดบั มีความรู้ ความเขา้ ใจ หลักการพัฒนาชุมชน สังคม สามารถวเิ คราะห์ ข้อมูล และกำหนดแนวทางการ พฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม ใหส้ อดคล้องกบั สภาพการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณป์ จั จุบัน ศกึ ษาและฝึกทักษะเกีย่ วกับเร่ืองดงั ต่อไปนี้ 1. ความหมาย ความสำคญั ของขอ้ มูล ประโยชน์ของข้อมลู ตนเอง ชมุ ชน สังคม 2. เทคนคิ และวิธกี ารจดั เก็บข้อมูล เช่น การจัดเวทีประชาคม การสำรวจข้อมูลการประชาพิจารณ์ โดย ใช้แบบสอบถาม การสืบค้นข้อมลู จากแหลง่ ต่างๆ ฯลฯ 3. การวเิ คราะหข์ ้อมลู เพ่อื การจัดทำแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม 4. การจัดทำแผนพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคมและการนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ จัดให้ผู้เรียนฝกึ ทักษะจากการปฏบิ ัตจิ ริงการเก็บขอ้ มูล การวิเคราะห์ขอ้ มูล การจัดทำแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม โดยการเข้าร่วมสังเกตการณ์ สร้างสถานการณ์จำลอง จัดทำเวทีประชาคม และการศึกษาดูงาน เปรียบเทยี บการจดั ทำแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม ระหวา่ งกลุ่ม ระหว่างชุมชน การวดั และประเมินผล จากผลงาน และการมีส่วนรว่ มในการจดั ทำแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม ตารางวเิ คราะห์สาระการเรียนรู้ ท่ี หวั เร่อื ง ตวั ชวี้ ัด เนือ้ หา จำนวน ระดบั ความยากงา่ ย ชม. งา่ ย ยาก ยากมาก 1. พฒั นาชุมชน 1. มคี วามรู้ ความ 1.หลักการพฒั นาตนเอง  สังคม เข้าใจ หลกั การพฒั นา ชมุ ชนสังคม 20 ชุมชน สังคม  2. ความหมาย 2. มคี วามรู้ ความ ความสำคัญ ประโยชน์ เข้าใจ และเห็น ของข้อมลู ดา้ น ความสำคญั ของข้อมลู - ภมู ศิ าสตร์ ตนเอง ครอบครวั - ประวัติศาสตร์ ชุมชนสังคม - เศรษฐศาสตร์ - การเมอื งการ ปกครอง - ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี - หน้าท่พี ลเมือง - ทรัพยากร สง่ิ แวดลอ้ ม - สาธารณสขุ

34 ท่ี หัวเร่ือง ตวั ชี้วัด เน้อื หา จำนวน ระดบั ความยากง่าย ชม. งา่ ย ยาก ยากมาก - การศึกษา  3.วิเคราะหแ์ ละอธบิ าย 3. วธิ ีการจัดเกบ็ ขอ้ มลู วิเคราะหข์ อ้ มูลด้วย วิธีการท่หี ลากหลาย และเผยแพรข่ อ้ มลู  4. เกิดความตระหนกั 4. การมสี ว่ นรว่ มในการ และมีสว่ นร่วมในการ วางแผนพฒั นาตนเอง จัดทำแผนพฒั นา ครอบครัว ชุมชนสังคม ชมุ ชน สงั คม 20  5. สามารถกำหนดแนว 5.1 เทคนคิ การมีส่วน ทางการพฒั นาตนเอง ร่วมในการจดั ทำแผน ครอบครวั ชุมชน เชน่ สังคม - การจดั ทำเวที ประชาคม - การประชุมกลุ่มยอ่ ย - การสมั มนา - การสำรวจประชามติ - การประชาพิจารณ์ ฯลฯ  5.2 การจัดทำแผน - ทิศทาง นโยบาย - โครงการ - ผู้รบั ผดิ ชอบ - จดั ลำดบั ความสำคัญ ฯลฯ 5.3 การเผยแพร่สูก่ าร ปฏบิ ัติ - การเขียนรายงาน - การเขียนโครงงาน ฯลฯ

35 คำอธบิ ายรายวิชา สค 22021 ลูกเสือ กศน. จำนวน 3 หน่วยกิต ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ มาตรฐานการเรียนร้รู ะดบั 1. มีความร้คู วามเขาใ้ จ ตระหนักเกี่ยวกบั ภมู ศิ าสตร์ประวัตศาสตร์เศรษฐศาสตร์การเมือง การปกครองใน ทวีปเอเชยี และนำมาปรับใชใ้ นการดำเนินชีวิตเพอ่ื ความม่ันคงของชาติ 2. มคี วามรคู้ วามเขาใ้ จ เห็นคุณคา่ และสืบทอดศาสนาวัฒนธรรม ประเพณขี องประเทศ ในทวีปเอเชีย 3. มีความรู้ ความเข้าใจ ดำเนินชวี ติ ตามวิถปี ระชาธปิ ไตย กฎระเบียบของประเทศ เพอื่ นบ้าน 4. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจหลักการพัฒนาชุมชน สังคม สามารถวเิ คราะหข์ ้อมูล และกำหนด แนวทางการ พฒั นานเองครอบครัว ชมุ ชน สังคม ให้สอดคลอง้ กบั สภาพการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณ์ ปจั จบุ ัน ศกึ ษาและฝกึ ทกั ษะเกยี่ วกับเรอื่ งต่อไปนี้ ลูกเสอื กับการพัฒนาการลกู เสือไทย การลกู เสอื โลก คุณธรรม จริยธรรมของลกู เสอื วินยั และความเปน็ ระเบียบเรียบร้อยลกู เสอื กศน.กบัการพัฒนาลูกเสือกศน.กบัจิตอาสาและการบรกิ าร การเขยี นโครงการเพื่อพัฒนา ชุมชนและสังคม ทักษะลูกเสือความปลอดภัยในการเขาร้ ่วมกิจกรรมลูกเสือ การปฐมพยาบาล การเดนิ ทางไกล อยู่ ค่ายพักแรม และชีวติ ชาวค่าย และการฝึกปฏิบัติการเดนิ ทางไกล อยคู่ ่ายพักแรม และชวี ติ ชาวค่าย การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ ศกึ ษาค้นคว้าจากตา ราเอกสารแหลง่ การเรียนรู้ในชุมชน สื่อเทคโนโลยีอนิ เทอรเ์ น็ต และ ส่ือที่ หลากหลายวทิ ยากรผู้รู้ปราชญชุมชน ผู้ทรงคณุ วุฒจิ ัดกลมุ่ ศกึ ษาคนค้ ว้า อภิปราย แลกเปลยี่ นเรียนรู้ ศกึ ษานอก สถานที่ นิทรรศการ สาธิต ฝกึ ปฏิบัตจิ รงิ ในพื้นท่ี/ชมุ ชน การฝกึ ปฏบิ ัติการเดินทางไกล อยู่ค่ายพักแรม และชีวิต ชาวค่าย จดั ทา โครงงาน วางแผนและร่วมกันศกึ ษาจดั ทา โครงการ แก้ปญั หาจรงิ ในชมุ ชน การฝึกปฏิบัติการ เดนิ ทางไกล อยคู่ า่ ยพักแรม และชีวติชาวคา่ ย การวดั และประเมินผล สังเกตพฤติกรรมในการเรียนรู้การแลกเปลี่ยนเรยี นรคู้ วามสนใจ ความตั้งใจ ความรับผิดชอบ การปฏบิ ตั ิ จริ ง การปฏบิ ตั ิงานกลมุ่ ความคดิ เหน็ ของเพอ่ื น ๆ ในกลมุ่ แฟ้มสะสมงาน ใบงาน ชนิ้ งาน ผลงาน แบบทดสอบ ผลการฝึกปฏิบตั กิ การเดนิ ทางไกล อยู่คา่ ยพักแรม และชวี ิตชาวคา่ ย ตารางวิเคราะห์สาระการเรยี นรู้ ท่ี หวั เรือ่ ง ตัวชวี้ ัด เน้อื หา จำนวน ระดับความยากงา่ ย ชม. งา่ ย ยาก ยากมาก 1. ลูกเสือกับการ 1. อธิบายสาระสำคญั 1. สาระสำคญั ของการ 2  พฒั นา ของการลกู เสือ  ลกู เสอื  1.1วตั ถุประสงคข์ องการ  พัฒนา ลกู เสือ 1.2 หลกั การสำคัญของ การ ลูกเสือ 2. อธบิ ายความสำคัญ 2.ความสำคัญของการ ของการลูกเสอื กบั การพัฒนา ลกู เสือกับการพัฒนา 2.1 การพัฒนาตนเอง

ท่ี หวั เร่อื ง ตวั ชีว้ ัด เนือ้ หา จำนวน 36 ชม. 2 การลูกเสอื ไทย ระดบั ความยากง่าย 2.2 การพัฒนา ง่าย ยาก ยากมาก 3 การลูกเสอื โลก  4 คณุ ธรรม สมั พันธภาพระหว่างง  จรยิ ธรรม บุคคล  ของลูกเสอื 2.3 การพฒั นา  3. อภิปรายความเปน็ สมั พนั ธภาพ ภายใน   พลเมืองดใี นทศั นะของ ชุมชนและสังคม  ลกู เสอื 3.ลกู เสอื กับการพัฒนา   ความเปน็ พลเมืองดี   3.1 ความหมายของ  พลเมืองดี   3.2 ความเปน็ พลเมืองดี ในทศั นะ ของการลกู เสอื 1. อธบิ ายประวตั ิ 1. ประวัตลิ ูกเสอื ไทย 3 ลกู เสือไทย 1.1 พระราชประวตั ิของ 2.อธิบายความร้ทู ่ัวไป พระบาทสมเดจ็ พระ เก่ยี วกบคั ณะลูกเสือ มงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว แหง่ ชาติ 1.2 กำเนดิ ลูกเสอื ไทย 1.3 กิจการลกู เสือไทย แตล่ ะยุค 2. ความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกับ คณะลูกเสอื แห่งชาติ 2.1 คณะลกู เสือแห่งชาติ 2.2 การบรหิ ารงานของ คณะลูกเสือแหง่ ชาติ 2.3 การลกู เสือใน สถานศกึ ษา 1.อธิบายประวัตผใู้ ห้กำ 1. ประวัติผู้ใหก้ ำเนดิ 3 เนิดลกู เสอื โลก ลูกเสือโลก 2. อธบิ ายความสำคัญ 2. องคก์ ารลกู เสอื โลก ขององคก์ ารลูกเสอื โลก 3. ความสัมพนั ธ์ระหว่าง 3. อธิบาความสมั พนั ธ์ ลกู เสอื ไทยกับลกู เสอื โลก ระหว่างการลกู เสือไทย กบั การลกู เสอื โลก 1. อธบิ ายคำปฏิญาณ 1. คำปฏิญาณ กฎ และ 3 กฎ และคตพิ จน์ของ คติพจนข์ อง ลกู เสือ ลกู เสือ 2. คุณธรรมและ 2. ระบคุ ุณธรรมและ จรยิ ธรรมจากคำ จรยิ ธรรมตา่ ง ๆ ทเ่ี กิด

ท่ี หัวเรื่อง ตวั ช้ีวัด เนอ้ื หา จำนวน 37 ชม. 5 วนิ ัยและ ระดับความยากง่าย ความเป็น จาก คำปฏญิ าณและ ปฏิญาณและกฎของ งา่ ย ยาก ยากมาก ระเบยี บ เรยี บร้อย กฎของ ลูกเสือ ลกู เสอื  6 ลกู เสอื กศน. 3. ยกตวั อยา่ งการนำ 3. การนำคำปฏิญาณ  กับการพัฒนา  คำปฏิญาณและกฎ และกฎของ ลกู เสือมาใช้  ของลกู เสอื มาใช้ใน ในชวี ติ ประจำวนั  ชีวิตประจำวนั   1. อธบิ ายความหมาย 1. วนิ ัย และความเปน็ 6  และความสำคญั ของ ระเบียบ เรยี บร้อย  วนิ ัย 1.1 ความหมายของวินัย   2. อธบิ ายผลกระทบ และ ความเปน็ ระเบยี บ  จาก การขาดวนิ ยั เรียบรอ้ ย 3. ยกตวั อยา่ งแนวทาง 1.2 ความสำคัญของวนิ ยั การ เสรมิ สรา้ งวนิ ัย และ ความเปน็ ระเบียบ และความเป็นระเบียบ เรยี บร้อย เรยี บรอ้ ย 2. ผลกระทบจากการ 4. อธิบายระบบหมู่ ขาดวินยั ลูกเสอื 3. แนวทางการ 5. อธิบายการพัฒนา เสรมิ สร้างวินัย และ ภาวะ ผนู้ ำ –ผู้ตาม ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย 4. ระบบหมลู่ กู เสือ 5.การพัฒนาภาวะผ้นู ำ- ผู้ตาม 1. อธบิ ายความเป็นมา 1. ลูกเสือ กศน. 6 และ ความสำคญั ของ 1.1 ความเปน็ มาของ ลูกเสือ กศน. ลกู เสือ กศน. 2.อธิบายลูกเสือ กศน. 1.2 ความสำคญั ของ กบั การพัฒนา ลูกเสอื กศน. 3. อธบิ ายบทบาท 2.ลูกเสือ กศน.กับการ หนา้ ที่ ของลกู เสอื กศน. พฒั นา ท่ีมีตอ่ ตนเอง 3. บทบาทหนา้ ทข่ี อง ครอบครัว ชมุ ชน และ ลกู เสอื กศน. ทีม่ ตี อ่ สังคม ตนเองครอบครัว ชุมชน 4. ระบุบทบาทหน้าท่ี และสงั คม ของ ลกู เสอื กศน. ท่ีมี 4. บทบาทหน้าทข่ี อง ตอ่ สถาบนั หลักของ ลกู เสอื กศน. ท่มี ีตอ่ ชาติ สถาบนั หลักของชาติ

ท่ี หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เน้อื หา จำนวน 38 ชม. ระดบั ความยากง่าย 7 ลูกเสือ กศน. 1. อธิบายความหมาย 1. จติ อาสาและการ 12 งา่ ย ยาก ยากมาก กับจิตอาสา และ และความสำคญั ของ บรกิ าร   การบรกิ าร จติ อาสา และการ 1.1 ความหมายของจิต   บริการ อาสา  2. อธิบายหลกั การของ 1.2 ความสำคญั ของจิต  จิตอาสาและการ อาสา  บรกิ าร 1.3 ความหมายของการ  3. เสนอผลการปฏิบัติ บริการ   ตน ในฐานะลกู เสอื 1.4 ความสำคญั ของการ  กศน. เพื่อเป็นจิตอาสา บริการ   และการใหบ้ รกิ าร 2. หลกั การของจติ อาสา   อยา่ งน้อย 2 กิจกรรม และการ บริการ 4. ยกตวั อยา่ งกจิ กรรม 2.1 หลักการของจติ จิตอาสา และการ อาสา ให้บริการ ของ 2.2 หลักการของการ ลูกเสอื กศน.อย่างนอ้ ย บรกิ าร 2กจิ กรรม 3. การปฏบิ ตั ิตนในฐานะ ลูกเสือ กศน. เพ่อื เป็นจติ อาสา และการให้บรกิ าร 4.กจิ กรรมจิตอาสาและ การให้บริการของลูกเสอื กศน. 8 การเขียน 1. อธบิ ายความหมาย 1. การเขียนโครงการ 12 โครงการ ความสำคัญของ เพื่อพัฒนาชุมชนและ เพ่ือพัฒนา โครงการ สงั คม ชมุ ชน 2. จำแนกลักษณะ 1.1 ความหมายของ และสังคม ของโครงการ โครงการ 3. ระบุองค์ประกอบ 1.2 ความสำคญั ของ ของโครงการ โครงการ 4. อธบิ ายขั้นตอนการ 2. ลกั ษณะของโครงการ เขยี น โครงการ 3. องคป์ ระกอบของ 5. บอกข้ันตอนการ โครงการ ดำเนนิ งานตาม 4.ขน้ั ตอนการเขยี น โครงการ โครงการ 6. อภปิ รายผลการ 5. การดำเนนิ การตาม ปฏบิ ัตงิ านตาม โครงการ โครงการและการเสนอ ผลการ ดำเนนิ งาน

ท่ี หัวเรอื่ ง ตวั ชว้ี ัด เนอ้ื หา จำนวน 39 9 ทกั ษะลูกเสือ ชม. ระดบั ความยากง่าย 10 ความปลอดภยั 6. การสรปุ รายงานผล งา่ ย ยาก ยากมาก ในการเข้าร่วม กิจกรรมลูกเสอื การด าเนินงานโครงการ   เพ่ือเสนอตอ่ ทป่ี ระชมุ  1. อธบิ ายความหมาย 1.แผนที่ - เขม็ ทิศ 6   และ ความสำคัญของ 1.1 ความหมายและ  แผนท่ี – เขม็ ทิศ ความสำคญั ของแผนที่  2. อธบิ ายสว่ น 1.2 ความหมายและ  ประกอบของเข็มทิศ ความสำคญั ของเขม็ ทศิ   3. อธิบายวธิ ีการใช้ 2. วธิ กี ารใชแ้ ผนที่ –  Google Map เขม็ ทศิ  4. อธบิ ายความหมาย 2.1 วธิ ีการใชแ้ ผนที่ และความสำคญั ของ 2.2 วธิ กี ารใช้เข็มทิศ เง่ือนเชือกและการผูก 3. การใชG้ oogle Map แน่น 4. เงอ่ื นเชอื กและการผูก 5. ผูกเงอื่ นเชือกและ แน่น บอก ช่ือเงื่อนพร้อม 4.1 ความหมายของ ประโยชน์ของเงื่อน เงื่อนเชือกและการผูก อยา่ งนอ้ ย5เงือ่ น แน่น 6. สาธติ วธิ ีการผูกเง่อื น 4.2 ความสำคัญของ เชือก 1 วธิ ี เงอื่ นเชือกและการผูก แน่น 4.3 การผกู เงื่อนเชอื ก และการผูกแนน่ 1. บอกความหมาย 1. ความปลอดภัยในการ 6 และความสำคัญของ เข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ ความ ปลอดภัยในการ 1.1 ความหมายของ เขา้รว่ มกจิ กรรมลกู เสอื ความปลอดภัยในการ 2. บอกหลกั การ เข้ารว่ มกจิ กรรมลกู เสือ วิธกี ารเฝ้าระวังเบอ้ื ง 1.2 ความสำคัญของ ต้นในการเขาร้ ว่ ม ความปลอดภัยในการ กจิ กรรมลกู เสอื เขา้ ร่วมกจิ กรรมลกู เสือ 3. อธบิ ายสถานการณ์ 2. หลกั การวิธกี ารในการ หรอื โอกาส ท่ีจะเกดิ เฝา้ ระวงั เบื้องตน้ ในการ ความไมป่ ลอดภัยใน เขา้ รว่ มกจิ กรรมลูกเสอื การเข้ารว่ มกจิ กรรม 3. การช่วยเหลอื เมื่อเกดิ ลูกเสือ เหตุความไมป่ ลอดภัยใน การเข้ารว่ มกิจกรรม ลกู เสอื

ท่ี หัวเร่อื ง ตวั ชี้วัด เนอ้ื หา จำนวน 40 ชม. ระดบั ความยากง่าย 4. การปฏิบตั ติ นตาม ง่าย ยาก ยากมาก หลักความปลอดภัย  11 การปฐม 1. อธิบายความหมาย 1. การปฐมพยาบาล 12   พยาบาล และความสำคัญของ 1.1ความหมายของการ  การปฐมพยาบาล ปฐมพยาบาล   2. อธิบายวธิ ีการปฐม 1.2ความสำคัญของการ   พยาบาลกรณีต่าง ๆ ปฐมพยาบาล  อยา่ งน้อย 3วธิ ี 1.3 หลกั การของการ   3. อธิบายวิธีการวัด ปฐมพยาบาล  สัญญาณชพี และการ 2. วิธีการปฐมพยาบาล   ประเมินเบ้ืองต้น กรณีต่าง ๆ  4. สาธิตวธิ ีการ 2.1 อบุ ัตเิ หตุ  ช่วยชีวิตขนั้ พ้ืนฐาน 2.2 ภาวะการเจ็บปว่ ย  โดยปจั จบุ นั 2.3 พิษแมลงสัตวกัด ตอ่ ย 2.4 ถูกทำรา้ ย 3. การวัดสญั ญาณชพี และการประเมินเบื้องตนั 3.1 การวัดสัญญาณชพี 3.2 การประเมินเบื้องต้น 4. วธิ ีการชว่ ยชีวติ ขั้น พ้ืนฐาน 12 การเดนิ ทางไกล 1. อธบิ ายความหมาย 1.การเดนิ ทางไกล 6 อยคู่ า่ ยพักแรม ของ การเดินทางไกล 1.1 ความหมายของการ และชีวิตชาว 2. อธบิ ายความหมาย เดิ ทางไกล คา่ ย ของการอยู่คา่ ยพักแรม 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของ 3. อธบิ ายการใช้ การเดนิ ทางไกล เคร่อื งมือสำหรับชีวิต 1.3 หลักการของการ ชาวคา่ ย เดนิ ทางไกล 4. อธิบายวิธีการ 1.4 การบรรจเุ ครอื่ ง จดั การค่ายพักแรม หลังสำหรับการเดนิ ทางไกล 2.การอยู่คา่ ยพักแรม 2.1 ความหมายของการ อยคู่ ่ายพักแรม 2.2 วตั ถุประสงค์ของ การอยู่คา่ ยพักแรม

ท่ี หัวเรือ่ ง ตัวชว้ี ัด เนือ้ หา จำนวน 41 ชม. 13 การฝึก ระดบั ความยากง่าย ปฏบิ ตั ิการเดิน 2.3 หลกั การของการอยู่ ง่าย ยาก ยากมาก ทางไกลอยู่ค่าย  พกั แรม และ คา่ ยพักแรม ชีวิตชาวค่าย  3. ชวี ิตชาวคา่ ย  3.1 เคร่อื งมือ เครื่องใช้   ทจ่ี ำเปน็ สำหรับชวี ิตชาว   ค่าย   3.2 การสรา้ งครวั ชาว  ค่าย  3.3 การสรา้ งเตา  ประเภทต่าง ๆ   3.4 การประกอบอาหาร  แบบชาวค่าย 3.5 การกางเต็นทแ์ ละ การเกบ็ เตน็ ท์ชนดิ ต่าง ๆ 4. วธิ กี ารจัดการค่ายพัก แรม 4.1 การวางผังคา่ ยพัก แรม 4.2 การสขุ าภิบาลใน คา่ ยพักแรม 1. วางแผนและปฏบิ ัติ กจิ กรรมการเดินทางไกล 40 กจิ กรรมการเดนิ อยคู่ ่ายพกั แรม และชีวิต ทางไกลอยู่ค่ายพักแรม ชาวคา่ ย และชีวิตชาวคา่ ยทุก 1.กจิ กรรมเสริมสร้าง กจิ กรรม คณุ ธรรมและอุดมการณ์ 2. ใช้ชวี ติ ชาวค่าย ลกู เสอื รว่ มกบั ผอู้ นื่ ในคา่ ยพัก 2.กิจกรรมสรา้ งคา่ ยพัก แรมได้อย่าง แรม สนุกสนานและมี 3.กิจกรรมชีวิตชาวค่าย ความสขุ 4.กจิ กรรมฝกึ ทักษะ ลูกเสอื 5.กิจกรรมกลางแจ้ง 6.กิจกรรมนนทั นาการ และชมุ นมุ รอบกองไฟ 7.กิจกรรมนำเสนอผล การดำเนนิ งานตาม โครงการท่ไี ดด้ ำเนินการ มากอ่ นการเขาค้ ่าย

42 คาํ อธิบายรายวชิ า สค 22016 การเงนิ เพอ่ื ชีวติ 2 จำนวน 3 หน่วยกิต ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดับ มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครองในทวีปเอเชยี และนำมาปรับใช้ในการดำเนินชวี ิต เพ่ือความมน่ั คงของชาติ ศึกษาและฝกึ ทักษะเกยี่ วกับเรอ่ื งดังต่อไปนี้ 1. วา่ ดว้ ยเรอื่ งของเงิน ความหมายและประโยชน์ ประเภทของเงิน เงินฝากและการประกันภัย การชำระเงิน ทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ โครงสร้างระบบสถาบันการเงินของประเทศไทย 2. การวางแผนทางการเงนิ การรู้จกั ฐานะการเงินของตนเอง บนั ทึกรายรบั -รายจ่าย เปา้ หมายการเงินในชวี ิต การออม 3. สนิ เชอื่ ความหมายของสินเชื่อ ลักษณะของสินเชื่อรายย่อย ประเภทและการคำนวณดอกเบี้ยเงินกู้วิธีการ ปอ้ งกนั ปญั หาหนี้ เครดติ บโู ร วธิ กี ารแกไ้ ขปัญหาหน้ี หนว่ ยงานท่ใี ห้คำปรึกษาเรือ่ งวธิ แี กไ้ ขปัญหาหน้ี 4. สทิ ธิและหน้าทข่ี องผู้ใช้บริการทางการเงนิ สิทธขิ องผู้ใช้บริการทางการเงนิ 4 ประการ หน้าทข่ี องผใู้ ชบ้ รกิ ารทางการเงนิ 5 ประการ รู้จักศูนย์ คมุ้ ครองผใู้ ชบ้ รกิ ารทางการเงนิ (ศคง.) และหนว่ ยงานท่ีรบั ที่รับเรื่องร้องเรียนอื่น ๆ การเขยี นหนงั สอื รอ้ งเรียนและ ขัน้ ตอนที่เกย่ี วขอ้ ง 5. ภัยทางการเงิน ลกั ษณะ การป้องกันตนเอง และการแก้ปญั หาภยั ทางการเงนิ การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ 1. จัดกลมุ่ อภปิ รายในเนื้อหาท่เี กยี่ วข้อง 2. ศึกษาจากเอกสารและสื่อทุกประเภทที่เกี่ยวข้อง เว็บไซต์ของธนาคารแห่งประเทศไทย และ เว็บไซตข์ อง ศคง. 3. จัดทำโครงการนทิ รรศการฐานการเรียนรู้ 4. เชญิ วทิ ยากรผรู้ ู้มาใหค้ วามรเู้ กีย่ วกบั การก่อหนอ้ี ย่างเหมาะสม และการวางแผนการเงนิ ในชีวติ การวดั และประเมนิ ผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมระหวา่ งการเรยี นรู้ 2. วดั ความรจู้ ากการทำกิจกรรมใบงาน 3. การวดั ผลสัมฤทธ์ิปลายภาค ตารางวิเคราะห์สาระการเรยี นรู้ ท่ี หัวเร่ือง ตัวช้ีวดั เนอ้ื หา จำนวน ระดบั ความยากง่าย ชม. ง่าย ยาก ยากมาก 1. วา่ ด้วยเรอ่ื งของ 24 ชม. เงิน 1. อธบิ ายความหมาย 1. ความหมายและ  1.1 ความหมาย และประโยชน์ของเงิน ประโยชน์ของเงิน และประโยชน์ 2. บอกความหมาย 2. ความหมาย ความ  และความแตกต่างของ แตกตา่ งของการใหเ้ งนิ และการให้ยมื เงิน

ที่ หัวเร่ือง ตวั ช้วี ัด เน้อื หา จำนวน 43 1.2 ประเภท ชม. ของเงิน ระดบั ความยากง่าย การใหเ้ งนิ และการ งา่ ย ยาก ยากมาก 1.3 เงินฝาก  และการ ใหย้ ืมเงิน ประกนั ภัย  1.บอกประเภทและ 1. เงนิ ไทย  ลกั ษณะของเงินไทย - ธนบัตร   2. อธบิ ายวิธีการ - เหรยี ญกษาปณ์   ตรวจสอบธนบัตร 2. เงนิ ตราต่างประเทศ  3. บอกสกลุ เงนิ ของ - สกลุ เงินของประเทศ  ประเทศในทวีปเอเชยี ในทวีปเอเชีย 4. คำนวณอตั รา - อัตราการ แลกเปลย่ี นเงินตรา แลกเปลี่ยน และวิธกี าร ตา่ งประเทศ คำนวณอตั ราแลกเปลีย่ น 5. บอกช่องทางการ เงินตราตา่ งประเทศ แลกเปลีย่ นเงนิ ตรา - ช่องทางการ ตา่ งประเทศ แลกเปลีย่ นเงนิ ตรา ตา่ งประเทศ 1. บอกลกั ษณะบัญชี 1. ประเภท ลักษณะ เงินฝากแต่ละประเภท ประโยชน์ ขอ้ จำกัด ของ 2. บอกประโยชน์และ การฝากเงนิ ขอ้ จำกดั การฝากเงนิ - บัญชีเงินฝากออม ประเภทตา่ ง ๆ ทรพั ย์ - บญั ชีเงนิ ฝากประจำ - บัญชเี งินฝากประจำ รายเดอื นปลอดภาษี - สลากออมทรัพย์/ สลากออมสนิ 3. บอกความหมายของ 2. ความหมายและ ดอกเบี้ยเงนิ ฝาก วธิ กี ารคำนวณดอกเบ้ีย 4. คำนวณดอกเบ้ียเงนิ เงินฝาก ฝากอยา่ งงา่ ย 5. บอกความหมายของ 3. การคมุ้ ครองเงนิ ฝาก การคมุ้ ครองเงินฝาก 6. บอกประเภทของ เงินฝากท่ีได้รบั การ คมุ้ ครอง 7. อธบิ ายความหมาย 4. การประกนั ภัย และประโยชนข์ องการ ประกันภัย

ท่ี หัวเรอื่ ง ตัวช้วี ดั เน้อื หา จำนวน 44 ชม. 1.4 การชำระ 8. บอกประเภท และ 1. ความหมาย และ ระดบั ความยากง่าย เงินทาง ลกั ษณะการประกันภัย ประโยชน์ของการชำระ 35 ชม. ง่าย ยาก ยากมาก อิเลก็ ทรอนิกส์ แตล่ ะประเภท เงินทางอิเล็กทรอนกิ ส์  1. บอกความหมาย 2. ลักษณะของบตั ร  1.5 โครงสร้าง และประโยชนข์ องการ ATM บัตรเดบติ บัตร ระบบสถาบัน ชำระเงินทาง เครดติ  การเงนิ ของ อิเลก็ ทรอนกิ ส์  ประเทศไทย 2. บอกลักษณะของ 1. โครงสรา้ งระบบ บตั ร ATM บัตรเดบิต สถาบนั การเงนิ ของ  2. การวางแผน บตั รเครดติ ประเทศไทย  การเงิน 2.1 3. เปรียบเทียบความ 2. สถาบันการเงินและ  การรจู้ กั ฐานะ แตกต่างบตั ร ATM หน่วยงานอนื่ ภายใตก้ าร การเงินของ บัตรเดบิต บัตรเครดติ กำกับของธนาคารแห่ง ตนเอง 1. บอกโครงสรา้ ง ประเทศไทย ระบบสถาบนั การเงิน ของประเทศไทย - ประเภท 2. บอกประเภทของ - บทบาทหน้าที่ สถาบันการเงนิ และ หนว่ ยงานอ่นื ภายใต้ 1. หลักการประเมิน การกำกับของธนาคาร ฐานะทางการเงินของ แหง่ ประเทศไทย ตนเองโดยคำนวณ 3. อธิบายบทบาท จำนวนและอัตราสว่ น หน้าท่ขี องสถาบัน ดังน้ี การเงนิ และหน่วยงาน อ่นื ภายใตก้ ารกำกบั - ความมงั่ ค่งั สทุ ธิ ของธนาคารแห่ง - อัตราส่วนภาระ ประเทศไทย หน้ีสินตอ่ รายได้ (ตอ่ เดือน) 1. อธบิ ายหลักการ ประเมนิ ฐานะการเงิน 2. คำนวณฐานะ การเงินของตนเอง

ที่ หัวเรอื่ ง ตัวช้ีวัด เน้ือหา จำนวน 45 ชม. 2.2 บันทกึ ระดบั ความยากง่าย รายรบั - - จำนวนเงนิ ออมเผอ่ื ง่าย ยาก ยากมาก รายจา่ ย ฉุกเฉนิ  2.3 เป้าหมาย การเงนิ ในชวี ิต - อตั ราสว่ นเงินออม   3. อธิบายลกั ษณะของ ต่อรายได้ (ตอ่ เดือน)  การมีสุขภาพการเงินท่ี 2. การมสี ขุ ภาพการเงนิ   ดี ทีด่ ี  4. ประเมนิ สุขภาพ - ความหมาย   การเงินของตนเอง - ลกั ษณะการมี  สุขภาพการเงินที่ดี ไดแ้ ก่ - มีภาระชำระหนี้ ไมเ่ กิน 1 ใน 3 ของ รายได้ต่อเดือน - ออมอย่างน้อย 1 ใน 4 ของรายไดต้ ่อเดอื น - มีเงนิ ออมเผ่ือ ฉกุ เฉินประมาณ 6 เท่า ของรายจ่ายจำเปน็ ตอ่ เดอื น 1. บอกความแตกต่าง 1. ความหมายของความ ของ “ความจำเป็น” จำเปน็ และความตอ้ งการ และ “ความตอ้ งการ” 2. จดั ลำดับ 2. การจัดลำดบั ความสำคัญของ ความสำคัญของรายจา่ ย รายจ่าย 3. บอกลกั ษณะของ 3. ลักษณะและ การบันทกึ รายรบั - ประโยชน์ของบันทกึ รายจา่ ย รายรับ-รายจ่าย 4. บอกประโยชนข์ อง 4. วธิ ีบันทึกรายรับ- การบนั ทกึ รายรับ- รายจ่าย รายจา่ ย 5. จดบันทึกรายรับ- รายจ่าย 1. บอกประโยชน์ของ 1. ประโยชน์ของการมี การมีเป้าหมายการเงิน เป้าหมายการเงินในชวี ิต ในชวี ิต 2. เปา้ หมายการเงนิ ท่ี 2. บอกเป้าหมาย ควรมใี นชีวิต การเงนิ ที่ควรมใี นชีวิต 3. ประเภทของ เป้าหมายการเงิน

46 ที่ หัวเร่อื ง ตัวชว้ี ดั เนอ้ื หา จำนวน ระดบั ความยากง่าย 2.4 การออม ชม. งา่ ย ยาก ยากมาก 3. สนิ เชอ่ื - ระยะส้นั (ไมเ่ กิน 1ปี) - ระยะกลาง (1 – 3 ปี) - ระยะยาว (มากกวา่ 3 ปี) 3. อธิบายวิธกี าร 4. วิธกี ารต้ังเป้าหมาย   ตง้ั เปา้ หมายการเงิน การเงนิ ตามหลัก   ตามหลัก SMART SMART  4. วางแผนการเงินตาม 5. การวางแผนการเงนิ  เปา้ หมายทีต่ ั้งไว้ ให้เปน็ ไปตามเป้าหมาย   ท่ีตัง้ ไว้ 1. อธิบายความหมาย 1. ความหมาย และ   และประโยชน์ของการ ประโยชนข์ องการออม ออม 2. เป้าหมายการออม 2. ต้ังเป้าหมายการ 3. หลักการออมให้สำเร็จ ออม 4. ความรเู้ บอื้ งตน้ 3. บอกหลักการออม เกย่ี วกับกองทนุ การออม ให้สำเร็จ แหง่ ชาติ (กอช.) 4. อธิบายบทบาท หนา้ ทีแ่ ละหลักการ ของกองทนุ การออม แหง่ ชาติ (กอช.) 1. บอกความหมายของ 1. การประเมนิ ความ 36 ชม. “หน้ดี ี” และ “หนีพ้ ึง เหมาะสมก่อนตดั สินใจ ระวัง” กอ่ หนี้ 2. บอกลกั ษณะของ 2. ลกั ษณะของสนิ เชื่อ สนิ เช่อื รายย่อย รายยอ่ ยและการคำนวณ 3. บอกประเภท ดอกเบยี้ ดอกเบย้ี เงินกู้ 4. คำนวณดอกเบ้ยี เงินกู้ 5. บอกความหมาย 3. เครดติ บโู ร และบทบาทหนา้ ท่ขี อง เครดิตบโู ร 6. บอกวธิ กี าร 4. วธิ ีการปอ้ งกนั ปญั หา ตรวจสอบข้อมูลเครดิต หน้ี ของตนเอง 5. วิธกี ารแก้ไขปญั หาหนี้

ท่ี หัวเรื่อง ตัวช้ีวดั เนือ้ หา จำนวน 47 ชม. ระดบั ความยากง่าย 7. บอกวิธีการป้องกนั 6. หน่วยงานท่ใี ห้ ง่าย ยาก ยากมาก ปัญหาหน้ี คำปรึกษาเกี่ยวกบั การ  8. บอกวิธกี ารแกไ้ ข แก้ไขปญั หาหน้ี  ปัญหาหน้ี  9. บอกหนว่ ยงานทใี่ ห้   คำปรึกษาเรือ่ งวธิ แี กไ้ ข ปญั หาหนี้ 4. สทิ ธิและหนา้ ท่ี 1. บอกสทิ ธิของ 1. สทิ ธิของผูใ้ ชบ้ ริการ 10 ชม. ของผใู้ ชบ้ ริการ ผู้ใชบ้ ริการทางการเงนิ ทางการเงิน ทางการเงิน - ได้รับขอ้ มูลท่ีถูกต้อง - เลือกใชผ้ ลิตภัณฑ์ และบริการได้อยา่ งอิสระ - รอ้ งเรยี นเพื่อความ เป็นธรรม - ไดร้ บั การพจิ ารณา ค่าชดเชยหากเกิดความ เสยี หาย 2. บอกหน้าที่ของ 2. หน้าที่ของผู้ใช้บริการ ผ้ใู ชบ้ ริการทางการเงิน ทางการเงนิ - วางแผนการเงิน - ตดิ ตามขอ้ มลู ขา่ วสารทางการเงนิ อยา่ ง สม่ำเสมอ - เขา้ ใจรายละเอยี ด และเปรยี บเทยี บข้อมูล กอ่ นเลอื กใช้ - ตรวจทานความถูก ตอ้ งของธุรกรรมทาง การเงินทุกคร้งั - เมือ่ เป็นหน้ตี ้องชำระ หนี้ 3. บอกบทบาทหนา้ ท่ี 3. บทบาทศูนย์ค้มุ ครอง ของศนู ย์คุ้มครอง ผใู้ ช้บรกิ ารทางการเงิน ผใู้ ช้บรกิ ารทางการเงนิ (ศคง.) และหน่วยงานที่ (ศคง.) และหนว่ ยงาน รับเรอ่ื งร้องเรยี นอื่น ๆ ทร่ี ับเร่อื งร้องเรยี นอนื่ ๆ 4. ข้นั ตอนการรอ้ งเรยี น 4. บอกข้นั ตอนการ และการเขยี นหนังสือ รอ้ งเรียน รอ้ งเรยี น

ท่ี หวั เรอื่ ง ตวั ช้ีวดั เน้อื หา จำนวน 48 5. ภัยทางการเงิน ชม. 5. บอกหลกั การเขียน ระดบั ความยากง่าย หนังสอื ร้องเรยี น 1. ประเภท ลักษณะ 15 ชม. ง่าย ยาก ยากมาก 1. บอกประเภทและ ลกั ษณะของภยั ทาง การป้องกันตนเอง และ  การเงนิ การแกไ้ ขปญั หาของภัย 2. บอกวิธีการป้องกัน ทางการเงิน ตนเองจากภยั ทาง การเงนิ - หนนี้ อกระบบ 3. บอกวิธีการ - แชรล์ กู โซ่ แก้ปัญหาทเ่ี กิดจากภยั ทางการเงนิ - ภยั ใกล้ตวั เช่น การ หลอกลวงใหจ้ า่ ยเบ้ีย ประกนั งวดสดุ ท้าย ตก ทอง / ลอ็ ตเตอรี่ปลอม - แกง๊ คอลเซ็นเตอร์ - ภยั ออนไลน์ (ท่ไี ม่ใช่ ธนาคารออนไลน)์ เช่น ภัยทม่ี าทางสื่อสงั คม ออนไลน์

49 คำอธบิ ายรายวิชา พต 03003 ภาษาอังกฤษเพือ่ การส่ือสาร จำนวน 1 หน่วยกิต ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น มาตรฐานท่ี 2.1 มีความรู้ความเข้าใจ และทกั ษะพน้ื ฐานเก่ยี วกบั ภาษาและการส่ือสาร ศึกษาและฝึกทกั ษะเกย่ี วกับเรือ่ งตอ่ ไปน้ี เข้าใจนำ้ เสยี ง ความรูส้ กึ ของผู้พดู รวมทง้ั คำชีแ้ จง คำบรรยาย คำแนะนำ สารสนเทศและคมู่ อื ต่าง ๆ อ่านออกเสยี งบทอา่ นได้อย่างถกู ต้อง ตามหลกั การออกเสียงและเหมาะสมกับเนื้อหาที่อ่าน เข้าใจ ตีความ หรือ แสดงความคดิ เห็น เกย่ี วกบั สอื่ ที่เปน็ ความเรียง และไมใ่ ช่ความเรียง แบบต่าง ๆ ท่ซี ับซอ้ นยิง่ ขึ้น และถ่ายโอน เป็นถ้อยคำของตนเองได้ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับขอ้ ความ ข่าวสาร บทความ สารคดี บันเทิงคดที ี่ซบั ซ้อน จากส่ือส่งิ พมิ พ์ หรือส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ ใช้ภาษาตามมรรยาททางสังคม เพอ่ื สรา้ งความสัมพันธร์ ะหวา่ งบุคคลและ สามารถดำเนินการส่ือสารได้อย่างตอ่ เนอื่ งและเหมาะสม ใช้ภาษาเพอ่ื แสดงความคดิ เหน็ แสดงความตอ้ งการของ ตน การเสนอตนเพื่อการบริการแก่ผู้อื่น นำเสนอข้อมูล เรื่องราว รายงานเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือเรื่องทั่วไป นำเสนอความคดิ เหน็ ท่ีมีต่อเหตุการณ์ กจิ กรรม สินค้าหรอื บรกิ ารในทอ้ งถน่ิ ของตน ด้วยวิธกี ารทีห่ ลากหลายได้ อยา่ งสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ นำเสนอบทกวี หรอื บทละครสนั้ โดยใช้เค้าโครงเร่ืองเดิม หรือแต่งข้ึนเอง อย่างอิสระดว้ ยความเพลดิ เพลนิ การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ ผู้เรียนฝึกฝนการ ตีความ การแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับสื่อที่เป็นความเรียง และไม่ใช่ความเรียง แบบตา่ ง ๆ ที่ซบั ซอ้ นย่งิ ข้นึ และถ่ายโอนเปน็ ถอ้ ยคำของตนเองได้ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั ข้อความ ข่าวสาร บทความ สารคดี บันเทิงคดีที่ซับซ้อนจากสื่อสิ่งพิมพ์ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้ภาษาตามมรรยาททางสังคม การเสนอตนเพ่ือการบริการแก่ผอู้ ่นื นำเสนอขอ้ มลู เร่อื งราว รายงานเกี่ยวกับเหตุการณห์ รอื เรอ่ื งทวั่ ไป นำเสนอ ความคิดเห็นที่มีต่อเหตุการณ์ กิจกรรม สินค้าหรือบริการในท้องถิ่นของตน ด้วยวิธีการที่หลากหลายได้อย่าง สร้างสรรคแ์ ละมีประสิทธภิ าพ นำเสนอบทกวี หรือบทละครสั้น โดยใช้เค้าโครงเรือ่ งเดิม หรือแต่งขนึ้ เอง อย่าง อิสระดว้ ยความเพลิดเพลนิ การวัดผลและประเมนิ ผล ตรวจสอบด้วยวิธกี ารทเี่ หมาะสมและแสดงใหเ้ หน็ ว่าสามารถนำไปใชใ้ นชีวิตจริงได้ พิจารณาจากการ สังเกต การมีสว่ นรว่ มตามสถานการณต์ ่าง ๆ ตารางวเิ คราะห์สาระการเรยี นรู้ ท่ี หัวเรื่อง ตวั ช้วี ัด เนอ้ื หา จำนวน ระดบั ความยากง่าย ชม. ง่าย ยาก ยากมาก 1. การใหค้ ำแนะนำ - สามารถให้คำแนะนำ - การให้คำแนะนำ 10  ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ - You Should see 30  ได้ the doctor - You could call the Police 2. การแสดงความ - สามารถแสดงความ - ขอ้ ความ คิดเห็น คดิ เหน็ เกี่ยวกับ How do you like - ขอ้ ความ your - ขา่ วสาร English class?