Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 5.ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

5.ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

Published by Preeyanoot Yodbuddee, 2020-11-30 11:01:03

Description: 5.ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

Search

Read the Text Version

ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง กลมุ สาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑

สารบญั หนา คํานํา ๑ ทาํ ไมตอ งเรียนภาษาตา งประเทศ ๑ เรียนรูอะไรในภาษาตางประเทศ ๒ สาระและมาตรฐานการเรียนรู ๓ คุณภาพผูเ รยี น ๘ ตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นรูแกนกลาง ๘ ๓๖ สาระท่ี ๑ ภาษาเพือ่ การสื่อสาร ๔๔ สาระท่ี ๒ ภาษาและวฒั นธรรม ๔๖ สาระที่ ๓ ภาษากับความสมั พนั ธก บั กลมุ สาระการเรียนรูอน่ื ๔๙ สาระที่ ๔ ภาษากับความสมั พนั ธก บั ชุมชนและโลก ๕๑ อภธิ านศัพท คณะผูจัดทาํ

กลุม สาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ทาํ ไมตอ งเรียนภาษาตา งประเทศ ในสังคมโลกปจจุบัน การเรียนรูภาษาตางประเทศมีความสําคัญและจําเปนอยางย่ิง ในชีวิตประจําวัน เน่ืองจากเปนเคร่ืองมือสําคัญในการติดตอสื่อสาร การศึกษา การแสวงหาความรู การประกอบอาชพี การสรา งความเขา ใจเกย่ี วกบั วัฒนธรรมและวิสัยทัศนของชุมชนโลก และตระหนัก ถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมและมุมมองของสังคมโลก นํามาซึ่งมิตรไมตรีและความรวมมือกับ ประเทศตางๆ ชวยพัฒนาผูเรียนใหมีความเขาใจตนเองและผูอ่ืนดีขึ้น เรียนรูและเขาใจความแตกตาง ของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี การคิด สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง มีเจตคติที่ดีตอการใชภาษาตางประเทศ และใชภาษาตางประเทศเพื่อการสื่อสารได รวมทั้งเขาถึง องคความรูตา งๆ ไดง า ยและกวา งข้ึน และมีวสิ ยั ทัศนใ นการดาํ เนินชีวติ ภาษาตางประเทศท่ีเปนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน ซึ่งกําหนดใหเรียนตลอดหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน คือ ภาษาอังกฤษ สวนภาษาตางประเทศอ่ืน เชน ภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน จีน ญี่ปุน อาหรับ บาลี และภาษากลุมประเทศเพื่อนบาน หรือภาษาอื่นๆ ใหอยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะจัดทํา รายวชิ าและจัดการเรียนรตู ามความเหมาะสม เรยี นรูอ ะไรในภาษาตา งประเทศ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ มุงหวังใหผูเรียนมีเจตคติท่ีดีตอภาษาตางประเทศ สามารถใชภาษาตางประเทศ สื่อสารในสถานการณตาง ๆ แสวงหาความรู ประกอบอาชีพ และศึกษาตอ ในระดับท่ีสงู ขน้ึ รวมท้ังมีความรูความเขาใจในเร่ืองราวและวัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลก และสามารถถายทอดความคิดและวัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกไดอยางสรางสรรค ประกอบดวย สาระสาํ คญั ดงั นี้ • ภาษาเพื่อการส่ือสาร การใชภาษาตางประเทศในการฟง-พูด-อาน-เขียน แลกเปล่ียน ขอ มูล ขา วสาร แสดงความรสู กึ และความคิดเหน็ ตีความ นําเสนอขอมูล ความคิดรวบยอดและความ คดิ เห็นในเรือ่ งตางๆ และสรางความสมั พันธร ะหวา งบุคคลอยา งเหมาะสม • ภาษาและวัฒนธรรม การใชภาษาตางประเทศตามวัฒนธรรมของเจาของภาษา ความสัมพันธ ความเหมือนและความแตกตางระหวางภาษากับวัฒนธรรมของเจาของภาษา ภาษาและ วฒั นธรรมของเจา ของภาษากบั วฒั นธรรมไทย และนําไปใชอ ยางเหมาะสม

๒ • ภาษากับความสัมพันธกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน การใชภาษาตางประเทศในการ เช่ือมโยงความรูกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน เปนพ้ืนฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู และ เปดโลกทัศนข องตน • ภาษากับความสัมพันธกับชุมชนและโลก การใชภาษาตางประเทศในสถานการณตางๆ ทั้งในหองเรียนและนอกหองเรียน ชุมชน และสังคมโลก เปนเคร่ืองมือพื้นฐานในการศึกษาตอ ประกอบอาชพี และแลกเปล่ยี นเรียนรูกบั สังคมโลก สาระและมาตรฐานการเรยี นรู สาระที่ ๑ ภาษาเพอ่ื การสื่อสาร มาตรฐาน ต ๑.๑ เขา ใจและตคี วามเรอื่ งทฟ่ี งและอานจากส่อื ประเภทตางๆ และแสดงความคิดเห็น อยา งมเี หตผุ ล มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปล่ยี นขอมลู ขาวสาร แสดงความรูส ึก และ ความคดิ เหน็ อยางมีประสทิ ธภิ าพ มาตรฐาน ต ๑.๓ นาํ เสนอขอมลู ขาวสาร ความคิดรวบยอด และความคดิ เหน็ ในเรอื่ งตางๆ โดยการ พดู และการเขยี น สาระท่ี ๒ ภาษาและวฒั นธรรม มาตรฐาน ต ๒.๑ เขา ใจความสมั พนั ธร ะหวางภาษากบั วัฒนธรรมของเจาของภาษา และนาํ ไปใช ได อยา งเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต ๒.๒ เขา ใจความเหมอื นและความแตกตางระหวา งภาษาและวัฒนธรรมของเจา ของภาษา กบั ภาษาและวฒั นธรรมไทย และนาํ มาใชอ ยางถูกตอ งและเหมาะสม สาระที่ ๓ ภาษากบั ความสมั พันธก บั กลมุ สาระการเรยี นรอู นื่ มาตรฐาน ต ๓.๑ ใชภาษาตา งประเทศในการเชอ่ื มโยงความรกู ับกลมุ สาระการเรียนรูอื่น และเปน พน้ื ฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู และเปด โลกทศั นข องตน สาระที่ ๔ ภาษากับความสมั พันธก บั ชุมชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภาษาตา งประเทศในสถานการณต า งๆ ทัง้ ในสถานศกึ ษา ชมุ ชน และสงั คม มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภ าษาตา งประเทศเปน เครือ่ งมือพ้ืนฐานในการศึกษาตอ การประกอบอาชพี และ การแลกเปล่ียนเรยี นรูก บั สังคมโลก

๓ คุณภาพผเู รียน จบชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๓ • ปฏิบัติตามคําส่ัง คําขอรองที่ฟง อานออกเสียงตัวอักษร คํา กลุมคํา ประโยคงายๆ และ บทพูดเขาจังหวะงายๆ ถูกตองตามหลักการอาน บอกความหมายของคําและกลุมคําที่ฟงตรงตาม ความหมาย ตอบคําถามจากการฟงหรืออานประโยค บทสนทนาหรือนิทานงา ยๆ • พูดโตตอบดวยคําส้ันๆ งายๆ ในการสื่อสารระหวางบุคคลตามแบบที่ฟง ใชคําส่ังและ คําขอรองงายๆ บอกความตองการงายๆ ของตนเอง พูดขอและใหขอมูลเกี่ยวกับตนเองและเพ่ือน บอกความรสู กึ ของตนเองเก่ยี วกับส่งิ ตา งๆ ใกลตวั หรอื กิจกรรมตา งๆ ตามแบบท่ีฟง • พดู ใหขอมลู เก่ยี วกบั ตนเองและเรื่องใกลต วั จัดหมวดหมูคําตามประเภทของบคุ คล สัตว และส่ิงของตามที่ฟง หรืออา น • พดู และทาํ ทา ประกอบ ตามมารยาทสังคม/วัฒนธรรมของเจาของภาษา บอกชื่อและคําศัพท งายๆ เก่ียวกับเทศกาล/วันสําคัญ/งานฉลอง และชีวิตความเปนอยูของเจาของภาษา เขารวมกิจกรรม ทางภาษาและวัฒนธรรมทีเ่ หมาะกบั วยั • บอกความแตกตางของเสียงตัวอักษร คํา กลุมคํา และประโยคงายๆ ของภาษาตางประเทศ และภาษาไทย • บอกคาํ ศัพทท ่ีเกยี่ วของกบั กลมุ สาระการเรยี นรอู น่ื • ฟง/พดู ในสถานการณง า ยๆ ที่เกิดขนึ้ ในหองเรยี น • ใชภาษาตางประเทศ เพื่อรวบรวมคําศพั ทท ีเ่ ก่ยี วของใกลต ัว • มีทักษะการใชภาษาตางประเทศ (เนนการฟง-พูด) สื่อสารตามหัวเรื่องเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดลอมใกลตัว อาหาร เครื่องดื่ม และเวลาวางและนันทนาการ ภายใน วงคําศัพทป ระมาณ ๓๐๐-๔๕๐ คํา (คาํ ศัพทท ี่เปนรปู ธรรม) • ใชประโยคคําเดียว (One Word Sentence) ประโยคเด่ียว (Simple Sentence) ในการสนทนา โตต อบตามสถานการณใ นชีวิตประจําวัน จบชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖ • ปฏิบัติตามคําสั่ง คําขอรอง และคําแนะนําที่ฟงและอาน อานออกเสียงประโยค ขอความ นิทาน และบทกลอนสั้นๆ ถูกตองตามหลักการอาน เลือก/ระบุประโยคและขอความตรงตาม ความหมายของสัญลักษณหรือเคร่ืองหมายที่อาน บอกใจความสําคัญ และตอบคําถามจากการฟงและ อา น บทสนทนา นิทานงายๆ และเรอื่ งเลา

๔ • พูด/เขียนโตตอบในการสื่อสารระหวางบุคคล ใชคําส่ัง คําขอรอง และใหคําแนะนํา พูด/ เขียนแสดงความตอ งการ ขอความชวยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการใหความชวยเหลือในสถานการณ งายๆ พูดและเขียนเพ่ือขอและใหขอมูลเกี่ยวกับตนเอง เพ่ือน ครอบครัว และเรื่องใกลตัว พูด/เขียน แสดงความรูสึกเก่ียวกบั เรอ่ื งตา งๆ ใกลตัว กิจกรรมตางๆ พรอ มทง้ั ใหเหตุผลสั้นๆ ประกอบ • พูด/เขียนใหขอมูลเก่ียวกับตนเอง เพื่อน และสิ่งแวดลอมใกลตัว เขียนภาพ แผนผัง แผนภูมิ และตารางแสดงขอมูลตา งๆ ทฟ่ี ง และอาน พูด/เขียนแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับเร่ืองตางๆ ใกลต ัว • ใชถอ ยคํา นาํ้ เสียง และกริ ยิ าทาทางอยา งสุภาพ เหมาะสม ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรม ของเจาของภาษา ใหขอมูลเก่ียวกับเทศกาล/วันสําคัญ/งานฉลอง/ชีวิตความเปนอยูของเจาของภาษา เขา รว มกจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ • บอกความหมือน/ ความแตกตางระหวางการออกเสียงประโยคชนิดตางๆ การใช เครื่องหมายวรรคตอน และการลําดับคํา ตามโครงสรางประโยคของภาษาตางประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบความเหมือน/ความแตกตางระหวางเทศกาล งานฉลองและประเพณีของเจาของภาษากับ ของไทย • คน ควา รวบรวมคาํ ศพั ทท เ่ี กย่ี วขอ งกบั กลมุ สาระการเรยี นรอู ืน่ จากแหลง การเรียนรู และนาํ เสนอ ดว ยการพูด/การเขยี น • ใชภ าษาสือ่ สารในสถานการณตา งๆ ทีเ่ กิดข้ึนในหอ งเรยี นและสถานศึกษา • ใชภาษาตา งประเทศในการสบื คนและรวบรวมขอ มูลตางๆ • มีทักษะการใชภาษาตางประเทศ (เนนการฟง-พูด-อาน-เขียน) ส่ือสารตามหัวเร่ืองเกี่ยวกับ ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน ส่ิงแวดลอม อาหาร เครื่องด่มื เวลาวางและนันทนาการ สขุ ภาพและสวสั ดกิ าร การซ้ือ-ขาย และลมฟาอากาศ ภายในวงคําศัพทประมาณ ๑,๐๕๐-๑,๒๐๐ คํา (คําศัพทท่ีเปนรูปธรรมและ นามธรรม) • ใชป ระโยคเดยี่ วและประโยคผสม (Compound Sentences) สื่อความหมายตามบริบทตางๆ จบช้นั มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๓ • ปฏิบัติตามคําขอรอง คําแนะนํา คําช้ีแจง และคําอธิบายท่ีฟงและอาน อานออกเสียง ขอความ ขาว โฆษณา นิทาน และบทรอยกรองสั้นๆ ถูกตองตามหลักการอาน ระบุ/เขียนสื่อท่ีไมใช ความเรียงรูปแบบตางๆ สัมพันธกับประโยคและขอความที่ฟงหรืออาน เลือก/ระบุหัวขอเรื่อง ใจความ สําคัญ รายละเอียดสนับสนุน และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเร่ืองที่ฟงและอานจากส่ือประเภทตางๆ พรอ มทัง้ ใหเหตผุ ลและยกตวั อยา งประกอบ • สนทนาและเขียนโตตอบขอมูลเกี่ยวกับตนเองและเร่ืองตางๆ ใกลตัว สถานการณ ขาว เร่ืองที่อยูในความสนใจของสังคมและสื่อสารอยางตอเนื่องและเหมาะสม ใชคําขอรอง คําชี้แจง และ

๕ คาํ อธบิ าย ใหคําแนะนําอยางเหมาะสม พูดและเขียนแสดงความตองการ เสนอและใหความชวยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการใหความชวยเหลือ พูดและเขียนเพื่อขอและใหขอมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องท่ีฟงหรืออานอยางเหมาะสม พูดและเขียนบรรยาย ความรูสึกและความคิดเห็นของตนเองเก่ียวกับเรื่องตางๆ กิจกรรม ประสบการณ และขาว/เหตุการณ พรอ มท้ังใหเหตผุ ลประกอบอยางเหมาะสม • พูดและเขียนบรรยายเก่ียวกับตนเอง ประสบการณ ขาว/เหตุการณ/เร่ือง/ประเด็นตางๆ ที่อยูในความสนใจของสังคม พูดและเขียนสรุปใจความสําคัญ/แกนสาระ หัวขอเร่ืองท่ีไดจากการ วิเคราะหเร่ือง/ขาว/เหตุการณ/สถานการณที่อยูในความสนใจ พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ กจิ กรรม ประสบการณ และเหตุการณ พรอมใหเหตผุ ลประกอบ • เลือกใชภาษา นํ้าเสียง และกิริยาทาทางเหมาะกับบุคคลและโอกาส ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจาของภาษา อธิบายเกี่ยวกับชีวิตความเปนอยู ขนบธรรมเนียมและประเพณี ของเจาของภาษา เขา รวม/จดั กจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ • เปรียบเทียบ และอธิบายความเหมือนและความแตกตางระหวางการออกเสียงประโยคชนิด ตางๆ และการลําดับคําตามโครงสรางประโยคของภาษาตางประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบและ อธิบายความเหมือนและความแตกตางระหวางชีวิตความเปนอยูและวัฒนธรรมของเจาของภาษากับ ของไทย และนําไปใชอยา งเหมาะสม • คนควา รวบรวม และสรุปขอมูล/ขอเท็จจริงท่ีเกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนจาก แหลง การเรียนรู และนําเสนอดว ยการพดู และการเขียน • ใชภาษาส่ือสารในสถานการณจริง/สถานการณจําลองท่ีเกิดขึ้นในหองเรียน สถานศึกษา ชมุ ชน และสงั คม • ใชภาษาตางประเทศในการสืบคน/คนควา รวบรวม และสรุปความรู/ขอมูลตางๆ จากส่ือ และแหลง การเรียนรูตางๆ ในการศึกษาตอและประกอบอาชีพ เผยแพร/ประชาสัมพันธขอมูล ขาวสาร ของโรงเรียน ชุมชน และทอ งถน่ิ เปนภาษาตา งประเทศ • มีทักษะการใชภาษาตางประเทศ (เนนการฟง-พูด-อาน-เขียน) ส่ือสารตามหัวเร่ืองเก่ียวกับ ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดลอม อาหาร เคร่ืองดื่ม เวลาวางและนันทนาการ สุขภาพและ สวัสดิการ การซื้อ-ขาย ลมฟาอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางทองเที่ยว การบริการ สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ภายในวงคําศัพทประมาณ ๒,๑๐๐-๒,๒๕๐ คํา (คําศัพทที่เปน นามธรรมมากขน้ึ ) • ใชประโยคผสมและประโยคซับซอน (Complex Sentences) ส่ือความหมายตามบริบทตางๆ ในการสนทนาท้งั ท่ีเปนทางการและไมเปนทางการ

๖ จบชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๖ • ปฏิบัติตามคําแนะนําในคูมือการใชงานตางๆ คําช้ีแจง คําอธิบาย และคําบรรยายท่ีฟงและ อาน อา นออกเสยี งขอ ความ ขาว ประกาศ โฆษณา บทรอ ยกรอง และบทละครสนั้ ถกู ตองตามหลักการอา น อธบิ ายและเขียนประโยคและขอความสมั พันธกับสื่อทีไ่ มใ ชความเรยี งรปู แบบตา งๆ ท่ีอา น รวมท้ังระบุ และเขียนส่ือที่ไมใชความเรียงรูปแบบตางๆ สัมพันธกับประโยคและขอความท่ีฟงหรืออาน จับใจความสําคัญ วิเคราะหความ สรุปความ ตีความ และแสดงความคิดเห็นจากการฟงและอานเรื่อง ทเี่ ปนสารคดีและบันเทิงคดี พรอมทั้งใหเหตุผลและยกตวั อยางประกอบ • สนทนาและเขียนโตตอบขอมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องตางๆ ใกลตัว ประสบการณ สถานการณ ขาว/เหตุการณ ประเด็นท่ีอยูในความสนใจและส่ือสารอยางตอเนื่องและเหมาะสม เลือก และใชคําขอรอง คําชี้แจง คําอธิบาย และใหคําแนะนํา พูดและเขียนแสดงความตองการ เสนอและให ความชวยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการใหความชวยเหลือในสถานการณจําลองหรือสถานการณจริง อยางเหมาะสม พูดและเขยี นเพอ่ื ขอและใหขอ มลู บรรยาย อธบิ าย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็น เก่ียวกับเร่ือง/ประเด็น/ขาว/เหตุการณท่ีฟงและอานอยางเหมาะสม พูดและเขียนบรรยายความรูสึกและ แสดงความคิดเห็นของตนเองเก่ียวกับเร่ืองตางๆ กิจกรรม ประสบการณ และขาว/เหตุการณอยางมี เหตผุ ล • พูดและเขียนนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับตนเอง/ประสบการณ ขาว/เหตุการณ เร่ืองและประเด็น ตางๆ ตามความสนใจ พูดและเขียนสรุปใจความสําคัญ แกนสาระที่ไดจากการวิเคราะหเรื่อง กิจกรรม ขาว เหตุการณ และสถานการณตามความสนใจ พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับกิจกรรม ประสบการณ และเหตุการณ ทงั้ ในทองถ่นิ สังคม และโลก พรอมท้งั ใหเ หตุผลและยกตวั อยา งประกอบ • เลือกใชภ าษา น้ําเสียง และกิริยาทาทางเหมาะกับระดับของบุคคล เวลา โอกาสและสถานที่ ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจาของภาษา อธิบาย/อภิปรายวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ และ ท่มี าของขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจา ของภาษา เขา รว ม แนะนาํ และจดั กจิ กรรมทางภาษาและ วัฒนธรรมอยา งเหมาะสม • อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกตางระหวางโครงสรางประโยค ขอความ สํานวน คําพังเพย สุภาษิต และบทกลอนของภาษาตางประเทศและภาษาไทย วิเคราะห/อภิปรายความเหมือนและความ แตกตางระหวางวิถีชีวิต ความเชือ่ และวัฒนธรรมของเจาของภาษากบั ของไทย และนําไปใชอยางมีเหตผุ ล • คนควา/สืบคน บันทึก สรุป และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับขอมูลท่ีเกี่ยวของกับกลุมสาระ การเรียนรูอ่นื จากแหลงเรียนรตู า งๆ และนาํ เสนอดวยการพดู และการเขยี น • ใชภาษาสื่อสารในสถานการณจริง/สถานการณจําลองท่ีเกิดข้ึนในหองเรียน สถานศึกษา ชมุ ชน และสงั คม

๗ • ใชภาษาตางประเทศในการสืบคน/คนควา รวบรวม วิเคราะห และสรุปความรู/ขอมูลตางๆ จากส่ือและแหลงการเรียนรูตางๆ ในการศึกษาตอและประกอบอาชีพ เผยแพร/ประชาสัมพันธ ขอมูล ขา วสาร ของโรงเรียน ชุมชน และทอ งถิ่น/ประเทศชาติ เปนภาษาตา งประเทศ • มีทักษะการใชภาษาตางประเทศ (เนนการฟง-พูด-อาน-เขียน) สื่อสารตามหัวเรื่องเก่ียวกับ ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน ส่ิงแวดลอม อาหาร เคร่ืองดื่ม ความสัมพันธระหวางบุคคล เวลาวางและ นันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซ้ือ-ขาย ลมฟาอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทาง ทองเท่ียว การบริการ สถานท่ี ภาษา และวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ภายในวงคําศัพทประมาณ ๓,๖๐๐-๓,๗๕๐ คาํ (คาํ ศัพทท ่มี รี ะดบั การใชแ ตกตา งกนั ) • ใชประโยคผสมและประโยคซับซอนส่ือความหมายตามบริบทตางๆ ในการสนทนา ทั้งท่ี เปน ทางการและไมเปน ทางการ

๘ ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรูแ กนกลาง สาระที่ ๑ ภาษาเพอ่ื การส่อื สาร มาตรฐาน ต ๑.๑ เขา ใจและตคี วามเรื่องทฟี่ งและอานจากสือ่ ประเภทตา งๆ และแสดงความคิดเหน็ อยางมีเหตุผล ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง ป.๑ ๑. ปฏบิ ัตติ ามคําสงั่ งายๆ ทฟ่ี ง คาํ สัง่ ทใ่ี ชในหอ งเรียน เชน Stand up./Sit down./ Listen./ Repeat./Quiet!/ Stop! etc. ๒. ระบุตวั อกั ษรและเสยี ง อา นออก ตวั อักษร (letter names) เสยี งตัวอักษรและสระ เสียงและสะกดคํางา ยๆ ถูกตอ งตาม (letter sounds) และการสะกดคาํ หลกั การอา น หลักการอานออกเสยี ง เชน - การออกเสียงพยัญชนะตนคาํ และพยัญชนะทายคํา - การออกเสยี งเนนหนกั -เบา (stress)ในคําและ กลุมคาํ - การออกเสยี งตามระดับเสยี งสูง-ตา่ํ (intonation) ในประโยค ๓. เลือกภาพตรงตามความหมาย คํา กลุม คํา และความหมาย เกย่ี วกับตนเอง ของคําและกลมุ คําที่ฟง ครอบครวั โรงเรียน สง่ิ แวดลอมใกลตัว อาหาร เครือ่ งดื่ม และนนั ทนาการ ภายในวงคาํ ศัพท ประมาณ ๑๕๐-๒๐๐ คํา (คําศพั ทที่เปน รปู ธรรรม) ๔. ตอบคําถามจากการฟงเร่ือง บทอา นเกย่ี วกบั เรอื่ งใกลต วั หรือนทิ านทม่ี ี ใกลตวั ภาพประกอบ ประโยคคําถามและคาํ ตอบ - Yes/No Question เชน Is it a/an..? Yes, it is./No, it is not. etc. - Wh-Question เชน What is it? It is a/an... etc. ป.๒ ๑. ปฏิบตั ติ ามคําสั่ง และคาํ ขอรอง คาํ สง่ั และคาํ ขอรอ งที่ใชใ นหอ งเรียน งา ย ๆ ที่ฟง - คําสัง่ เชน Show me a/an.../ Open your book. Don’t talk in class. etc. - คาํ ขอรอง เชน Please come here./ Come here, please. Don’t make a loud noise, please./ Please don’t make a loud noise. etc.

๙ ชัน้ ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรูแ กนกลาง ป.๒ ๒.ระบุตวั อกั ษรและเสียง อา นออก ตวั อักษร เสยี งตวั อักษรและสระ การสะกดคาํ และ เสียงคํา สะกดคาํ และอานประโยค ประโยค หลักการอานออกเสยี ง เชน งา ยๆ ถูกตอ งตามหลกั การอา น - การออกเสยี งพยญั ชนะตน คําและพยญั ชนะทายคาํ - การออกเสยี งเนนหนกั -เบา ในคําและกลมุ คํา - การออกเสยี งตามระดับเสยี งสูง-ตา่ํ ในประโยค ๓. เลอื กภาพตรงตามความหมายของ คํา กลุมคาํ ประโยคเดย่ี ว (simple sentence) และ คาํ กลมุ คาํ และประโยคทฟี่ ง ความหมาย เก่ยี วกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดลอ มใกลต วั อาหาร เครอ่ื งดม่ื และ นนั ทนาการ เปนวงคาํ ศัพทส ะสมประมาณ ๒๕๐- ๓๐๐ คํา (คาํ ศพั ทท่ีเปน รูปธรรรม) ๔. ตอบคําถามจากการฟง ประโยค ประโยค บทสนทนา หรือนิทานทีม่ ีภาพประกอบ บทสนทนา หรอื นทิ านงายๆ ท่ีมีภาพ ประโยคคําถามและคําตอบ ประกอบ - Yes/No Question เชน Is this/that a/an..? Yes, it is./No, it isn’t. etc. - Wh-Question เชน What is this/that/it? This/that/It is a/an… How many…? There is/are… Where is the…? It is in/on/under… etc. ป.๓ ๑. ปฏบิ ตั ิตามคาํ สัง่ และคาํ ขอรอ งท่ี คาํ สง่ั และคําขอรอ งท่ใี ชใ นหอ งเรียน ฟง หรอื อา น - คาํ สงั่ เชน Give me a/an.../Draw and color the picture./ Put a/an…in/on/under a/an…/ Don’t eat in class. etc. - คาํ ขอรอง เชน Please take a queue./ Take a queue, please./ Don’t make a loud noise, please./ Please don’t make a loud noise./ Can you help me, please? etc. ๒. อา นออกเสยี งคํา สะกดคาํ อาน คํา กลุม คํา ประโยคเดยี่ ว และบทพูดเขาจงั หวะ กลมุ คํา ประโยค และบทพดู เขา และการสะกดคํา จังหวะ (chant) งา ยๆ ถูกตองตาม การใชพจนานกุ รม หลกั การอาน หลักการอา นออกเสยี ง เชน - การออกเสยี งพยญั ชนะตน คําและพยัญชนะทา ยคาํ - การออกเสยี งเนน หนกั -เบา ในคาํ และกลุมคํา - การออกเสยี งตามระดับเสียงสงู -ต่ํา ในประโยค

๑๐ ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ป.๓ ๓. เลือก/ระบภุ าพ หรือสัญลกั ษณต รง กลมุ คาํ ประโยคเดยี่ ว สญั ลกั ษณ และความหมาย ตามความหมายของกลุม คาํ และ เก่ยี วกบั ตนเอง ครอบครัว โรงเรยี น ส่งิ แวดลอ ม ประโยคท่ฟี ง ใกลตัว อาหาร เครอื่ งดม่ื และนนั ทนาการ เปน วงคาํ ศัพทส ะสมประมาณ ๓๕๐-๔๕๐ คาํ (คําศัพท ท่ีเปน รูปธรรรม) ๔. ตอบคาํ ถามจากการฟง หรืออา น ประโยค บทสนทนา หรือนทิ านท่มี ภี าพประกอบ ประโยค บทสนทนา หรอื นิทาน ประโยคคาํ ถามและคาํ ตอบ งายๆ - Yes/No Question เชน Is/Are/Can…? Yes,…is/are/can./ No,…isn’t/aren’t/can’t. etc. - Wh-Question เชน What is this/that/it? This/that/It is a/an… How many…? There is/are… Where is/are…? It is in/on/under… They are etc. ป.๔ ๑. ปฏบิ ตั ิตามคําสัง่ คําขอรอ ง และ คําสง่ั และคําขอรองทีใ่ ชใ นหอ งเรยี น และ คาํ แนะนํา (instructions) งา ยๆ ทฟ่ี ง คําแนะนําในการเลน เกม การวาดภาพ หรือการ หรืออาน ทาํ อาหารและเคร่ืองดืม่ - คาํ สง่ั เชน Look at the…/here/over there./ Say it again./ Read and draw./ Put a/an…in/on/under a/an…/ Don’t go over there. etc. - คําขอรอ ง เชน Please take a queue./ Take a queue, please./ Can you help me, please? etc. - คาํ แนะนาํ เชน You should read everyday./Think before you speak./ คาํ ศพั ทที่ ใชใ นการเลน เกม Start./ My turn./ Your turn./ Roll the dice./ Count the number./ Finish./ คําบอกลาํ ดับข้นั ตอน First,... Second,… Then,… Finally,... etc.

๑๑ ชน้ั ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๔ ๒. อานออกเสยี งคาํ สะกดคํา อา น คํา กลุมคํา ประโยค ขอความ บทพดู เขา จงั หวะ กลุมคํา ประโยค ขอ ความงา ยๆ และการสะกดคาํ และบทพูดเขา จงั หวะถูกตอ งตาม การใชพจนานกุ รม หลกั การอา น หลักการอานออกเสียง เชน - การออกเสยี งพยญั ชนะตนคาํ และพยญั ชนะทา ยคํา - การออกเสยี งเนน หนกั -เบา ในคําและกลุมคาํ - การออกเสยี งตามระดับเสยี งสงู -ต่าํ ในประโยค ๓. เลือก/ระบภุ าพ หรอื สัญลักษณ กลุมคาํ ประโยคเดยี่ ว สญั ลกั ษณ เคร่ืองหมาย และ หรือเคร่อื งหมายตรงตามความหมาย ความหมาย เก่ยี วกบั ตนเอง ครอบครวั โรงเรยี น ของประโยคและขอ ความส้ันๆ ทฟ่ี ง ส่งิ แวดลอ ม อาหาร เคร่อื งด่ืม เวลาวางและ หรอื อาน นนั ทนาการ สุขภาพและสวสั ดกิ าร การซ้อื -ขาย และลมฟาอากาศ และเปนวงคาํ ศพั ทสะสม ประมาณ ๕๕๐-๗๐๐ คาํ (คาํ ศพั ทท ีเ่ ปนรปู ธรรม และนามธรรม) ๔. ตอบคําถามจากการฟงและอา น ประโยค บทสนทนา นิทานท่ีมภี าพประกอบ ประโยค บทสนทนา และนิทาน คําถามเกย่ี วกบั ใจความสาํ คญั ของเรือ่ ง เชน ใคร งา ยๆ ทําอะไร ทไ่ี หน - Yes/No Question เชน Is/Are/Can…? Yes,…is/are/can./ No,…isn’t/aren’t/can’t. Do/Does/Can/Is/Are...? Yes/No… etc. - Wh-Question เชน Who is/are…? He/She is…/They are… What…?/Where…? It is …/They are… What...doing? …is/am/are… etc. - Or-Question เชน Is this/it a/an...or a/an…? It is a/an… etc. ป.๕ ๑. ปฏบิ ัติตามคําสัง่ คําขอรอ ง และ คําสัง่ และคาํ ขอรอ งท่ใี ชในหองเรยี น ภาษาทา ทาง คาํ แนะนํางา ยๆ ทีฟ่ งและอาน และคาํ แนะนําในการเลนเกม การวาดภาพ หรือการ ทาํ อาหารและเครือ่ งดมื่ - คาํ ส่ัง เชน Look at the…/here/over there./ Say it again./ Read and draw./ Put a/an…in/on/under a/an…/ Don’t go over there. etc.

๑๒ ช้นั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๕ - คําขอรอง เชน Please take a queue./ Take a queue, please./ Can/Could you help me, please? etc. - คําแนะนาํ เชน You should read everyday./ Think before you speak./ คําศพั ทท ีใ่ ชในการ เลนเกม Start./ My turn./ Your turn./ Roll the dice./ Count the number./ Finish./ คาํ บอกลําดบั ขนั้ ตอน First,… Second,… Next,… Then,… Finally,… etc. ๒. อา นออกเสยี งประโยค ขอ ความ ประโยค ขอความ และบทกลอน และบทกลอนสน้ั ๆ ถกู ตอ งตาม การใชพจนานกุ รม หลักการอา น หลกั การอานออกเสียง เชน - การออกเสียงพยญั ชนะตนคําและพยัญชนะทายคํา - การออกเสยี งเนนหนกั -เบา ในคาํ และกลุมคาํ - การออกเสยี งตามระดบั เสยี งสงู -ตํ่า ในประโยค - การออกเสยี งเช่อื มโยง (linking sound) ใน ขอความ - การออกเสยี งบทกลอนตามจังหวะ ๓. ระบ/ุ วาดภาพ สัญลกั ษณ หรือ กลมุ คํา ประโยคผสม ขอ ความ สัญลกั ษณ เครอ่ื งหมายตรงตามความหมายของ เครอ่ื งหมาย และความหมายเกี่ยวกบั ตนเอง ประโยคและขอ ความส้ันๆ ทฟ่ี ง หรือ ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดลอม อาหาร เครอ่ื งดม่ื อา น เวลาวา งและนนั ทนาการ สขุ ภาพและสวสั ดกิ าร การซือ้ -ขาย และลมฟา อากาศ และเปนวงคาํ ศัพท สะสมประมาณ ๗๕๐-๙๕๐ คาํ (คาํ ศพั ททีเ่ ปน รปู ธรรมและนามธรรม) ๔. บอกใจความสาํ คญั และตอบ ประโยค บทสนทนา นทิ าน หรอื เรอ่ื งสัน้ ๆ คาํ ถามจากการฟงและอานบท คําถามเกย่ี วกบั ใจความสําคญั ของเรื่อง เชน ใคร สนทนา และนิทานงายๆ หรอื ทําอะไร ท่ไี หน เม่ือไร เรื่องสัน้ ๆ - Yes/No Question เชน Is/Are/Can…? Yes,…is/are/can./ No,…isn’t/aren’t/can’t. Do/Does/Can/Is/Are...? Yes/No… etc.

๑๓ ชน้ั ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๕ - Wh-Question เชน Who is/are…? He/She is…/They are… What…?/Where…? It is …/They are… What...doing? …is/am/are… etc. - Or-Question เชน Is this/it a/an...or a/an…? It is a/an… etc. ป.๖ ๑. ปฏิบตั ิตามคาํ สง่ั คาํ ขอรอง และ คาํ สงั่ คาํ ขอรอง ภาษาทาทาง และคําแนะนาํ ใน คาํ แนะนําที่ฟง และอา น การเลนเกม การวาดภาพ การทําอาหารและ เครือ่ งด่ืม และการประดิษฐ - คาํ สัง่ เชน Look at the…/here/over there./ Say it again./ Read and draw./ Put a/an…in/on/under a/an…/ Don’t go over there. etc. - คาํ ขอรอ ง เชน Please look up the meaning in a dictionary./ Look up the meaning in a dictionary, please./ Can/Could you help me, please? etc. - คาํ แนะนาํ เชน You should read everyday./ Think before you speak./ คําศัพทท่ีใชใ นการ เลนเกม Start./ My turn./ Your turn./ Roll the dice./ Count the number./ Finish./คาํ บอกลาํ ดับ ข้ันตอน First,… Second,… Next,… Then,… Finally,… etc. ๒. อานออกเสยี งขอความ นทิ าน ขอความ นทิ าน และบทกลอน และบทกลอนสัน้ ๆ ถูกตอ งตาม การใชพจนานกุ รม หลกั การอาน หลกั การอา นออกเสยี ง เชน - การออกเสยี งพยญั ชนะตนคาํ และพยัญชนะทายคํา - การออกเสยี งเนนหนกั -เบา ในคําและกลมุ คาํ - การออกเสยี งตามระดับเสียงสูง-ตาํ่ ในประโยค - การออกเสยี งเชือ่ มโยง (linking sound) ใน ขอ ความ - การออกเสยี งบทกลอนตามจังหวะ

๑๔ ชน้ั ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ป.๖ ๓. เลือก/ระบปุ ระโยค หรอื ขอ ความ ประโยค หรอื ขอความ สัญลักษณ เครื่องหมาย สนั้ ๆ ตรงตามภาพ สัญลักษณ หรือ และความหมายเกยี่ วกับตนเอง ครอบครวั โรงเรียน เคร่ืองหมายทอี่ าน ส่ิงแวดลอ ม อาหาร เครอ่ื งดืม่ เวลาวา งและ นันทนาการ สุขภาพและสวสั ดกิ าร การซอ้ื -ขาย และลมฟาอากาศ และเปนวงคําศัพทส ะสม ประมาณ ๑,๐๕๐-๑,๒๐๐ คาํ (คําศพั ททเี่ ปน รปู ธรรมและนามธรรม) ๔. บอกใจความสําคัญและตอบ ประโยค บทสนทนา นทิ าน หรอื เร่ืองเลา คาํ ถามจากการฟงและอานบท คาํ ถามเกย่ี วกบั ใจความสาํ คญั ของเรือ่ ง เชน ใคร สนทนา นิทานงา ยๆ และเรอื่ งเลา ทําอะไร ทไ่ี หน เม่ือไร อยางไร ทําไม - Yes/No Question เชน Is/Are/Can…? Yes,…is/are/can./ No,…isn’t/aren’t/can’t. Do/Does/Can/Is/Are...? Yes/No… etc. - Wh-Question เชน Who is/are…? He/She is…/They are… What…?/Where…? It is …/They are… What...doing? …is/am/are… etc. - Or-Question เชน Is this/it a/an...or a/an…? It is a/an… Is/Are/Was/Were/Did…or…? etc. ม. ๑ ๑. ปฏบิ ัตติ ามคําสงั่ คําขอรอง คําสั่ง คาํ ขอรอง คาํ แนะนาํ และคําช้แี จงในการ คําแนะนํา และคาํ ชีแ้ จงงายๆ ที่ฟง ทําอาหารและเครอื่ งดม่ื การประดิษฐ การใชยา/ และอาน สลากยา การบอกทิศทาง ปา ยประกาศตา งๆ หรือ การใชอ ุปกรณ - คาํ ส่งั เชน Look at the…/here/over there./ Say it again/ Read and draw./ Put a/an…in/on/under a/an…/ Go to the window and open it./ Take out the book, open on page ๑๗ and read it./ Don’t go over there./ Don’t be late. etc.

๑๕ ช้นั ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ม. ๑ - คาํ ขอรอง เชน Please look up the meaning in a dictionary./ Look up the meaning in a dictionary, please./ Can/Could you help me, please?/ Excuse me, could you …? etc. - คําแนะนาํ เชน You should read everyday./ Think before you speak./ คําศัพทท่ีใชใ นการ เลน เกม Start./ My turn./ Your turn./ Roll the dice./ Count the number./ Finish. etc. - คําสนั ธาน (conjunction) เชน and/but/or - ตัวเชื่อม (connective words) เชน First,… Second,…Third,… Next,… Then,… Finally,… etc. ๒. อานออกเสยี งขอความ นทิ าน ขอความ นทิ าน และบทรอ ยกรอง และบทรอยกรอง (poem) สน้ั ๆ การใชพ จนานกุ รม ถูกตอ งตาม หลักการอา น หลักการอา นออกเสียง เชน - การออกเสยี งพยญั ชนะตน คาํ และพยัญชนะทา ยคํา - การออกเสียงเนน หนกั -เบา ในคาํ และกลุม คาํ - การออกเสียงตามระดบั เสยี งสูง-ตํา่ ในประโยค - การแบงวรรคตอนในการอา น - การอานบทรอยกรองตามจงั หวะ ๓. เลอื ก/ระบปุ ระโยคและขอ ความ ประโยค หรอื ขอความ และความหมายเกย่ี วกับ ใหสมั พนั ธกบั สอื่ ที่ไมใ ชความเรยี ง ตนเอง ครอบครวั โรงเรียน สิ่งแวดลอม อาหาร (non-text information) ทีอ่ าน เครอื่ งดื่ม เวลาวา งและนันทนาการ สขุ ภาพและ สวัสดกิ าร การซือ้ -ขาย ลมฟาอากาศ การศกึ ษา และอาชีพ การเดินทางทองเท่ยี ว การบรกิ าร สถานท่ี ภาษา และวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี เปน วงคําศัพทสะสมประมาณ ๑,๔๐๐-๑,๕๕๐ คํา (คาํ ศพั ทท เ่ี ปนรปู ธรรมและนามธรรม) การตคี วาม/ถายโอนขอมูลใหส ัมพนั ธกับสื่อที่ ไมใชความเรยี ง เชน สญั ลักษณ เครือ่ งหมาย กราฟ

๑๖ ชน้ั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ม. ๑ แผนภมู ิ ตาราง ภาพสตั ว สิ่งของ บคุ คล สถานที่ ตา งๆ โดยใช Comparison of adjectives/ adverbs/ Contrast : but, although/ Quantity words เชน many/ much/ a lot of/ lots of/ some/ any/ a few/ few/ a little/ little etc. ๔. ระบหุ วั ขอเร่ือง (topic) บทสนทนา นทิ าน เรอ่ื งสน้ั และเร่ืองจากสอ่ื ใจความสําคญั (main idea) และ ประเภทตางๆ เชน หนังสอื พมิ พ วารสาร วทิ ยุ ตอบคาํ ถามจากการฟงและอา น โทรทศั น เว็บไซด บทสนทนา นทิ าน และเรอ่ื งสั้น การจบั ใจความสําคัญ เชน หวั ขอ เรือ่ ง ใจความสาํ คัญ รายละเอียดสนับสนุน คําถามเกย่ี วกบั ใจความสาํ คญั ของเรือ่ ง เชน ใคร ทําอะไร ทีไ่ หน เม่ือไร อยางไร ทาํ ไม ใชห รือไม - Yes/No Question - Wh-Question - Or-Question etc. - Tenses : present simple/ present continuous/ past simple/ future simple etc. - Simple sentence/ Compound sentence ม.๒ ๑. ปฏิบตั ติ ามคําขอรอง คาํ แนะนํา คําขอรอ ง คําแนะนํา คําช้แี จง และคําอธบิ าย เชน คาํ ช้แี จง และคาํ อธิบายงา ยๆ ที่ฟง การทาํ อาหารและเคร่อื งด่มื การประดษิ ฐ และอา น การใชยา/สลากยา การบอกทศิ ทาง การใชอ ปุ กรณ - Passive Voice ทีใ่ ชใ นโครงสรา งประโยคงา ยๆ เชน is/are + Past Participle - คาํ สันธาน (conjunction) เชน and/ but/ or/ before/ after etc. - ตวั เชือ่ ม (connective words) เชน First,… Second,… Third,… Fourth,… Finally,… etc.

๑๗ ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง ม.๒ ๒. อา นออกเสยี งขอความ ขา ว ขอความ ขาว ประกาศ และบทรอ ยกรอง ประกาศ และบทรอ ยกรองสั้นๆ การใชพจนานกุ รม ถกู ตอ งตามหลักการอาน หลกั การอา นออกเสยี ง เชน - การออกเสยี งพยญั ชนะตนคาํ และพยัญชนะทายคํา - การออกเสียงเนนหนกั -เบา ในคาํ และกลุมคาํ - การออกเสยี งตามระดับเสยี งสงู -ตํ่า ในประโยค - การออกเสยี งเช่อื มโยงในขอ ความ - การแบงวรรคตอนในการอา น - การอานบทรอยกรองตามจงั หวะ ๓. ระบุ/เขยี นประโยค และขอ ความ ประโยค หรอื ขอความ และความหมายเกยี่ วกับ ใหสมั พันธกบั สือ่ ท่ีไมใ ชค วามเรยี ง ตนเอง ครอบครวั โรงเรยี น ส่ิงแวดลอม อาหาร รปู แบบตา งๆ ทอ่ี าน เครอื่ งดม่ื เวลาวา งและนันทนาการ สขุ ภาพและ สวัสดกิ าร การซื้อ-ขาย ลมฟาอากาศ การศกึ ษาและ อาชีพ การเดนิ ทางทองเทยี่ ว การบรกิ าร สถานท่ี ภาษา และวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี เปน วง คาํ ศพั ทส ะสมประมาณ ๑,๗๕๐-๑,๙๐๐ คาํ (คําศัพทที่เปน รูปธรรมและนามธรรม) การตคี วาม/ถายโอนขอ มูลใหสมั พนั ธกบั ส่ือท่ี ไมใ ชความเรยี ง เชน สัญลกั ษณ เครื่องหมาย กราฟ แผนภมู ิ แผนผงั ตาราง ภาพสัตว สง่ิ ของ บุคคล สถานท่ีตา งๆ โดยใช Comparison of adjectives/ adverbs/ Contrast: but, although/ Quantity words เชน many/ much/ a lot of/ lots of/ some/ any/ a few/ few/ a little/ little etc. ๔. เลอื กหวั ขอเรอ่ื ง ใจความสําคญั บทสนทนา นทิ าน เร่อื งสั้น และเรอ่ื งจากสอ่ื บอกรายละเอยี ดสนับสนุน ประเภทตา งๆ เชน หนังสือพมิ พ วารสาร วทิ ยุ (supporting detail) และแสดงความ โทรทศั น เว็บไซด คิดเหน็ เกย่ี วกบั เรอ่ื งทีฟ่ ง และอา น การจบั ใจความสําคญั เชน หวั ขอเร่ือง ใจความ พรอ มทัง้ ใหเ หตผุ ลและยกตวั อยาง สาํ คัญ รายละเอยี ดสนบั สนนุ งายๆ ประกอบ คาํ ถามเกีย่ วกบั ใจความสาํ คญั ของเรอ่ื ง เชน ใคร ทําอะไร ท่ไี หน เมื่อไร อยา งไร ทําไม ใชห รือไม

๑๘ ชัน้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ม.๒ - Yes/No Question - Wh-Question - Or-Question etc. ประโยคทใี่ ชในการแสดงความคดิ เห็น การให เหตุผล และการยกตวั อยาง เชน I think…/ I feel…/ I believe… - คําสนั ธาน (conjunctions) and/ but/ or/ because/ so/ before/after - ตัวเช่ือม (connective words) First,… Next,… After,… Then,… Finally,… etc. - Tenses: present simple/ present continuous/ present perfect/ past simple/ future tense etc. - Simple sentence/Compound sentence ม.๓ ๑. ปฏิบัตติ ามคําขอรอง คําแนะนาํ คาํ ขอรอง คาํ แนะนํา คําชแี้ จง และคาํ อธบิ าย ใน คาํ ชี้แจง และคาํ อธิบายท่ฟี ง และ การประดษิ ฐ การบอกทศิ ทาง ปายประกาศตางๆ อาน การใชอ ปุ กรณ - Passive Voice ทใี่ ชในโครงสรางประโยคงายๆ เชน is/are + past partciple - คาํ สันธาน (conjunction) เชน and/ but/ or/ before/ after/ because etc. - ตวั เชื่อม (connective words) เชน First,… Second,…Third,… Fourth,… Next,… Then,… Finally,… etc. ๒. อานออกเสยี งขอความ ขา ว ขอความ ขาว โฆษณา และบทรอ ยกรอง โฆษณา และบทรอ ยกรองสัน้ ๆ การใชพจนานกุ รม ถูกตอ งตามหลักการอาน หลักการอานออกเสียง เชน - การออกเสยี งพยัญชนะตนคาํ และพยัญชนะทา ยคํา สระเสียงส้ัน สระเสียงยาว สระประสม - การออกเสียงเนน หนกั -เบา ในคําและกลมุ คํา - การออกเสยี งตามระดบั เสียงสงู -ตํ่า ในประโยค - การออกเสียงเชอื่ มโยงในขอความ - การแบง วรรคตอนในการอา น - การอานบทรอยกรองตามจังหวะ

๑๙ ช้นั ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง ม.๓ ๓. ระบแุ ละเขยี นสือ่ ท่ีไมใชค วาม ประโยค ขอ ความ และความหมายเกย่ี วกบั ตนเอง เรยี งรูปแบบตา งๆใหส มั พันธก บั ครอบครวั โรงเรียน สิง่ แวดลอม อาหาร เคร่ืองดื่ม ประโยค และขอ ความทฟี่ ง หรอื อาน เวลาวา งและนนั ทนาการ สขุ ภาพและสวัสดิการ การซอ้ื -ขาย ลมฟา อากาศ การศกึ ษาและอาชีพ การเดนิ ทางทอ งเทีย่ ว การบริการ สถานท่ี ภาษา และวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี เปนวงคําศพั ท สะสมประมาณ ๑,๔๐๐-๑,๕๕๐ คาํ (คําศัพท ที่เปนรปู ธรรมและนามธรรม) การตคี วาม/ถายโอนขอ มลู ใหสมั พนั ธกับสือ่ ท่ี ไมใชความเรยี ง เชน สญั ลกั ษณ เครอื่ งหมาย กราฟ แผนภูมิ ตาราง ภาพสตั ว สิ่งของ บุคคล สถานท่ี ตางๆ โดยใช Comparison of adjectives/ adverbs/ Contrast : but, although/ Quantity words เชน many/ much/ a lot of/ lots of/ some/ any /a few/ few/ a little/ little etc. ๔. เลอื ก/ระบหุ ัวขอเรอ่ื ง ใจความ การจบั ใจความสาํ คญั เชน หวั ขอเรอ่ื ง ใจความ สาํ คญั รายละเอยี ดสนับสนนุ และ สําคัญ รายละเอยี ดสนับสนนุ จากสอ่ื สง่ิ พมิ พแ ละ แสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั เรอื่ งทฟ่ี ง สอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส เชน หนงั สือพมิ พ วารสาร วทิ ยุ และอานจากสอื่ ประเภทตา งๆ โทรทัศน เว็บไซดบนอนิ เทอรเน็ต พรอมทง้ั ใหเ หตุผลและยกตวั อยา ง คาํ ถามเก่ยี วกบั ใจความสาํ คญั ของเรอ่ื ง เชน ใคร ประกอบ ทาํ อะไร ทไ่ี หน เมอื่ ไร อยางไร ทาํ ไม ใชห รอื ไม - Yes/No Question - Wh-Question - Or-Question etc. ประโยคที่ใชใ นการแสดงความคิดเหน็ การให เหตุผลและการยกตวั อยา ง เชน I think…/ I feel…/ I believe…/ I agree/disagree…/ I don’t believe…/ I have no idea… - if clauses - so…that/such…that

๒๐ ชนั้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ม.๓ - คาํ สันธาน (conjunctions) and/ but/ or/ because/ so/ before/ after etc. - Infinitive pronouns :some/ any/ someone/ anyone/ everyone/ one/ ones etc. - Tenses : present simple/ present continuous/ present perfect/ past simple/ future tense etc. - Simple sentence/ Compound sentence/ Complex sentence ม. ๔-๖ ๑. ปฏบิ ตั ติ ามคาํ แนะนาํ ในคมู ือ คาํ แนะนาํ คาํ ช้ีแจง คําอธิบาย คําบรรยาย เชน การใชง านตา งๆ คําชแ้ี จง คําอธิบาย ประกาศเตอื นภัยตา งๆ ยาและการใชยา การใช และคําบรรยายที่ฟง และอา น อุปกรณและสงิ่ ของ การสืบคน ขอ มลู ทาง อนิ เทอรเนต็ - Modal verb : should/ ought to/ need/ have to/ must+ verb ทีเ่ ปน infinitive without to เชน You should have it after meal. (Active Voice)/The doses must be divided. (Passive Voice) - Direct/Indirect Speech - คําสันธาน (conjunction) and/ but/ or/ so/ not only…but also/ both…and/ as well as/ after/ because etc. - ตวั เช่อื ม (connective words) เชน First,… Second,… Third,… Fourth,… Next,… Then,… Finally,… etc. ๒. อานออกเสยี งขอ ความ ขา ว ขอ ความ ขา ว ประกาศ โฆษณา บทรอ ยกรอง และ ประกาศ โฆษณา บทรอ ยกรอง และ บทละครส้นั บทละครสั้น (skit) ถูกตองตาม การใชพ จนานกุ รม หลกั การอา น หลกั การอานออกเสยี ง เชน - การออกเสียงพยญั ชนะตน คําและพยญั ชนะทา ยคํา สระเสยี งสั้น สระเสียงยาว สระประสม

๒๑ ชน้ั ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรูแ กนกลาง ม. ๔-๖ - การออกเสยี งเนนหนกั -เบา ในคําและกลุมคํา - การออกเสยี งตามระดบั เสียงสูง-ต่าํ ในประโยค - การออกเสยี งเช่ือมโยงในขอความ - การแบง วรรคตอนในการอา น - การอา นบทรอ ยกรองตามจงั หวะ ๓. อธบิ ายและเขียนประโยค ประโยคและขอ ความ และขอ ความใหสัมพนั ธก ับส่ือที่ การตคี วาม/ถา ยโอนขอมูลใหสัมพนั ธกับส่อื ท่ี ไมใชค วามเรยี งรปู แบบตางๆ ท่อี าน ไมใชความเรยี ง เชน ภาพ แผนผงั กราฟ แผนภมู ิ รวมทง้ั ระบแุ ละเขียนสื่อที่ไมใช ตาราง อกั ษรยอ จากกลุมสาระการเรียนรูอ นื่ ดว ย ความเรยี งรปู แบบตางๆ ใหสัมพนั ธ การพดู และการเขียนอธิบาย โดยใช Comparison of กับประโยค และขอความที่ฟงหรอื adjectives/ adverbs/ Contrast : but, although, อาน however, in spite of…/ Logical connectives เชน caused by/ followed by/ consist of. etc. ๔. จับใจความสาํ คญั วิเคราะหความ เร่ืองทีเ่ ปนสารคดแี ละบนั เทงิ คดี สรุปความ ตคี วาม และแสดงความ การจับใจความสําคัญ การสรปุ ความ การวิเคราะห คดิ เหน็ จากการฟงและอานเรือ่ งท่ี ความการตคี วาม เปน สารคดแี ละบนั เทิงคดี พรอ มทั้ง การใช skimming/scanning/guessing/context clue ใหเหตุผลและยกตวั อยา งประกอบ ประโยคทใี่ ชในการแสดงความคดิ เหน็ การให เหตุผลและการยกตวั อยา ง เชน I believe…/ I agree with… but…/ Well, I must say…/ What do you think of /about…?/I think/don’t think…?/ What’s your opinion about…?/ In my opinion…/ - if clauses - so…that/such…that - too to…/enough to… - on the other hand,… - other (s)/another/the other (s) - คาํ สันธาน (conjunctions) because/and/so/but/ however/because of/due to/owing to etc. - Infinitive pronouns : some, any, someone, anyone, everyone, one, ones etc. - Tenses : present simple/present continuous/ present perfect/past simple/future tense etc. - Simple sentence/Compound sentence/Complex sentence

๒๒ สาระที่ ๑ ภาษาเพ่อื การสื่อสาร มาตรฐาน ต ๑.๒ มที ักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปล่ยี นขอ มลู ขาวสาร แสดงความรสู กึ และความคดิ เห็นอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ ชั้น ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ป.๑ ๑. พดู โตต อบดวยคําส้ันๆ งา ยๆ ใน บทสนทนาที่ใชใ นการทกั ทาย กลา วลา ขอบคณุ การส่อื สารระหวางบุคคลตามแบบ ขอโทษ และประโยค/ขอ ความทีใ่ ชแ นะนาํ ตนเอง ที่ฟง เชน Hi/ Hello/ Good morning/ Good afternoon/ Good evening/ I am…/ Goodbye./ Bye./ Thank you./ I am sorry. etc. ๒. ใชค าํ สั่งงายๆ ตามแบบทฟี่ ง คาํ สงั่ ทใี่ ชใ นหอ งเรียน ๓. บอกความตองการงายๆ ของ คาํ ศัพท สํานวน และประโยคทีใ่ ชบ อกความ ตนเองตามแบบทีฟ่ ง ตองการ เชน I want…/Please,… etc. ๔. พดู ขอและใหข อมูลงา ยๆ คาํ ศัพท สาํ นวน และประโยคที่ใชข อและใหขอ มลู เกยี่ วกับตนเองตามแบบทีฟ่ ง เก่ยี วกับตนเอง เชน What’s your name?/ My name is…/ I am…/ How are you?/ I am fine. etc. ป.๒ ๑. พดู โตตอบดว ยคําสน้ั ๆ งา ยๆ ใน บทสนทนาท่ใี ชใ นการทกั ทาย กลาวลา ขอบคณุ การสื่อสารระหวางบคุ คลตามแบบ ขอโทษ และประโยค/ขอความที่ใชแ นะนาํ ตนเอง ท่ฟี ง เชน Hi/ Hello/ Good morning/ Good afternoon/ Good evening/ How are you?/ I’m fine./ I am… / Goodbye./ Bye./ Thank you./ I am sorry. etc. ๒. ใชค ําสัง่ และคําขอรอ งงา ยๆ ตาม คาํ สัง่ และคาํ ขอรองที่ใชใ นหอ งเรยี น แบบทฟ่ี ง ๓. บอกความตอ งการงายๆ ของ คําศพั ท สํานวน และประโยคทใี่ ชบอกความ ตนเองตามแบบท่ีฟง ตองการ เชน I want…/ Please,… etc. ๔. พูดขอและใหข อ มูลงา ยๆ คําศพั ท สาํ นวน และประโยคท่ใี ชขอและใหขอ มูล เกี่ยวกับตนเองตามแบบทฟ่ี ง เก่ียวกับตนเอง เชน What’s your name?/ My name is…/ I am…/ How are you?/ I am fine. etc.

๒๓ ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแ กนกลาง ป.๓ ๑. พดู โตต อบดว ยคําสน้ั ๆ งา ยๆ ใน บทสนทนาท่ใี ชในการทกั ทาย กลาวลา ขอบคณุ การสอ่ื สารระหวา งบุคคลตามแบบ ขอโทษ และประโยค/ขอ ความท่ีใชแนะนําตนเอง ท่ีฟง เชน Hi/ Hello/ Good morning/ Good afternoon/ Good evening/ I am sorry./ How are you? I’m fine.Thank you. And you?/ Nice to see you./ Nice to see you too./ Goodbye./Bye./ See you soon/ later./ Thanks./ Thank you./ Thank you very much./ You’re welcome. etc. ๒ .ใชค ําสง่ั และคําขอรองงา ยๆ ตาม คําส่ังและคาํ ขอรองทีใ่ ชใ นหองเรียน แบบทฟี่ ง ๓. บอกความตอ งการงา ยๆ ของ คําศพั ท สาํ นวน และประโยคทีใ่ ชบ อกความตอ งการ ตนเองตามแบบท่ฟี ง เชน Please,…/ May I go out?/ May I come in? etc. ๔. พูดขอและใหข อ มลู งายๆ เกย่ี วกับ คาํ ศพั ท สํานวน และประโยคท่ีใชขอและใหข อ มลู ตนเอง และเพอื่ นตามแบบทฟี่ ง เก่ยี วกับตนเอง และเพ่ือน เชน What’s your name? My name is… How are you? I am fine. What time is it? It is one o’clock. What is this? It is a/an… How many…are there? There is a/an…/There are… Who is…? He/She is… etc. ๕. บอกความรูสกึ ของตนเอง คําและประโยคทีใ่ ชแสดงความรูส ึก เชน ดใี จ เกย่ี วกบั ส่ิงตางๆ ใกลต วั หรอื เสยี ใจ ชอบไมช อบ เชน Yeah!/ Great!/ Cool!/ กจิ กรรมตา งๆ ตามแบบท่ีฟง I’m happy./ I like cats./ I don’t like snakes. etc. ป.๔ ๑. พูด/เขยี นโตต อบในการสือ่ สาร บทสนทนาท่ีใชในการทักทาย กลา วลา ขอบคณุ ระหวางบุคคล ขอโทษ การพดู แทรกอยา งสุภาพ ประโยค/ ขอ ความทใ่ี ชแนะนําตนเอง เพอ่ื น และบคุ คลใกล ตัว และสํานวนการตอบรับ เชน Hi/Hello/Good morning/Good afternoon/Good evening/I am sorry./How are you?/I’m fine. Thank you. And you?/ Hello.I am… Hello,…I am… This is my sister.Her name is… Hello,…/Nice to see you. Nice to see you too./Goodbye./ Bye./See you soon/later./ Thanks./Thank you./Thank you very much./You’re welcome./It’s O.K. etc.

๒๔ ชนั้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง ป.๔ ๒ .ใชค ําส่ัง คําขอรอ ง และคําขอ คาํ สง่ั คําขอรอง และคําขออนุญาตท่ใี ชใ น อนุญาตงา ยๆ หอ งเรยี น ๓. พดู /เขยี นแสดงความตอ งการ คาํ ศัพท สํานวน และประโยคท่ใี ชแสดงความ ของตนเอง และขอความชว ยเหลอื ตองการและขอความชวยเหลอื ในสถานการณต างๆ ในสถานการณง า ยๆ เชน I want …/ Please…/ May…?/ I need your help./ Please help me./ Help me! etc. ๔. พูด/เขยี นเพ่ือขอและใหข อ มลู คาํ ศัพท สํานวน และประโยคทใ่ี ชข อและใหขอมูล เกยี่ วกบั ตนเอง เพ่ือน และครอบครวั เก่ยี วกบั ตนเอง สิ่งใกลต ัว เพื่อน และครอบครวั เชน What’s your name? My name is… What time is it? It is one o’clock. What is this? It is a/an… How many…are there? There is a/an…/There are… Where is the…? It is in/on/under… etc. ๕. พดู แสดงความรูสึกของตนเอง คาํ และประโยคทใ่ี ชแสดงความรสู ึก เชน ดใี จ เก่ียวกบั เรือ่ งตา งๆ ใกลต ัว และ เสยี ใจ ชอบ ไมช อบ รัก ไมร ัก เชน กจิ กรรมตา งๆ ตามแบบท่ีฟง I/You/We/They like…/He/She likes… I/You/We/They love…/He/She loves… I/You/We/They don’t like/love/feel… He/She doesn’t like/love/feel… I/You/We/They feel… etc. ป.๕ ๑. พูด/เขยี นโตต อบในการสอ่ื สาร บทสนทนาท่ใี ชใ นการทักทาย กลาวลา ขอบคุณ ระหวางบุคคล ขอโทษ ชมเชย การพดู แทรกอยา งสุภาพ ประโยค/ ขอ ความท่ีใชแนะนาํ ตนเอง เพือ่ น และบุคคลใกล ตัว และสํานวนการตอบรับ เชน Hi/ Hello/ Good morning/ Good afternoon/ Good evening/ I am sorry./ How are you?/ I’m fine. Thank you. And you?/ Hello. I am…/ Hello,…I am… This is my sister. Her name is… /Hello,…/ Nice to see you. Nice to see you too./ Goodbye./ Bye./ See you soon/later./ Good/Very good./ Thanks./ Thank you./ Thank you very much./ You’re welcome./ It’s O.K. etc.

๒๕ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง ป.๕ ๒. ใชคาํ ส่ัง คําขอรอ ง คาํ ขอ คาํ สง่ั คําขอรอง คาํ แนะนาํ ท่ีมี ๑-๒ ข้ันตอน อนุญาต และใหคาํ แนะนํางา ยๆ ๓. พูด/เขียนแสดงความตองการ คาํ ศัพท สาํ นวน และประโยคทใ่ี ชบอกความ ขอความชวยเหลอื ตอบรบั และ ตอ งการ ขอความชว ยเหลอื ตอบรบั และปฏิเสธ ปฏเิ สธการใหค วามชว ยเหลอื ใน การใหความชว ยเหลือ เชน Please…/ May…?/ สถานการณง า ยๆ I need…/ Help me!/ Can/ Could…?/ Yes,.../No,… etc. ๔. พดู /เขยี นเพื่อขอและใหข อ มลู คาํ ศพั ท สํานวน และประโยคที่ใชขอและใหข อมลู เก่ียวกบั ตนเอง เพ่ือน ครอบครัว เกย่ี วกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และเรือ่ งใกลตวั และเร่ืองใกลต วั เชน What do you do? I’m a/an… What is she/he? …is a/an (อาชพี ) How old/tall…? I am… Is/Are/Can…or…? …is/are/can… Is/Are…going to…or…? …is/are going to… etc. ๕. พูด/เขยี นแสดงความรสู กึ ของ คําและประโยคทใี่ ชแสดงความรูสึก เชน ชอบ ตนเองเกย่ี วกบั เรื่องตางๆ ใกลตัว ไมช อบ ดีใจ เสียใจ มีความสุข เศรา หิว รสชาติ และกจิ กรรมตา งๆ พรอมทงั้ ให เชน เหตุผลส้ันๆ ประกอบ I’m…/He/She/It is…/You/We/They are… I/You/We/They like…/He/She likes…because… I/You/We/They love…/He/She loves…because… I/You/We/They don’t like/love/feel…because… He/She doesn’t like/love/feel…because… I/You/We/They feel…because… etc. ป.๖ ๑. พดู /เขยี นโตตอบในการสอ่ื สาร บทสนทนาทใี่ ชในการทักทาย กลา วลา ขอบคุณ ระหวา งบคุ คล ขอโทษ ชมเชย การพดู แทรกอยางสุภาพ ประโยค/ ขอความที่ใชแ นะนําตนเอง เพอ่ื น และบคุ คลใกล ตวั และสาํ นวนการตอบรบั เชน Hi/ Hello/ Good morning/ Good afternoon/ Good evening/ I am

๒๖ ช้นั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๖ sorry./ How are you?/ I’m fine./Verywell./ Thank you. And you?/ Hello. I am… Hello,…I am… This is my sister. Her name is… Hello,…/ Nice to see you. Nice to see you, too./ Goodbye./ Bye./ See you soon/later./ Great!/ Good./ Very good. Thank you./ Thank you very much./ You’re welcome./ It’s O.K./ That’s O.K./ That’s all right./ Not at all./ Don’tworry./Never mind./ Excuse me./ Excuse me, Sir./Miss./Madam. etc. ๒. ใชค าํ สัง่ คําขอรอ ง และให คําส่ัง คาํ ขอรอ ง และคาํ แนะนําทมี่ ี ๒-๓ ขน้ั ตอน คําแนะนาํ ๓. พดู /เขียนแสดงความตองการ คาํ ศพั ท สาํ นวน และประโยคทใ่ี ชบ อกความ ขอความชว ยเหลือ ตอบรับและ ตองการ ขอความชว ยเหลือ ตอบรบั และปฏเิ สธ ปฏิเสธการใหค วามชว ยเหลอื ใน การใหค วามชว ยเหลอื เชน Please…/ May…?/ I สถานการณง ายๆ need…/ Help me!/ Can/Could…?/ Yes,.../No,… etc. ๔. พูดและเขยี นเพื่อขอและให คาํ ศัพท สาํ นวน และประโยคท่ใี ชข อและใหข อมลู ขอ มลู เก่ยี วกับตนเอง เพอื่ น เกี่ยวกบั ตนเอง เพ่ือน ครอบครัว และเร่ืองใกลต ัว ครอบครวั และเร่ืองใกลตวั เชน What do you do? I’m a/an… What is she/he? …is a/an (อาชีพ) How old/tall…? I am… Is/Are/Can…or…? …is/are/can… Is/Are…going to…or…? …is/are going to… etc. ๕. พูด/เขยี นแสดงความรสู ึกของ คําและประโยคทใี่ ชแ สดงความรสู ึก และการให ตนเองเกย่ี วกบั เร่อื งตางๆ ใกลต ัว เหตุผลประกอบ เชน ชอบ/ไมช อบ ดีใจ เสยี ใจ กิจกรรมตา งๆ พรอ มทงั้ ใหเหตุผล มีความสขุ เศรา หวิ รสชาติ สวย นา เกลียด ส้ันๆ ประกอบ เสยี งดงั ดี ไมด ี เชน I’m…/He/She/It is…/You/We/They are… I/You/We/They like…/He/She likes…because…

๒๗ ชน้ั ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ป.๖ I/You/We/They love…/He/She loves…because… I/You/We/They don’t like/love/feel…because… He/She doesn’t like/love/feel…because… I/You/We/They feel…because… etc. ม.๑ ๑. สนทนา แลกเปลี่ยนขอมลู ภาษาทใ่ี ชใ นการสื่อสารระหวา งบคุ คล เชน การ เก่ียวกบั ตนเอง กิจกรรม และ ทักทาย กลา วลา ขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย การพูด สถานการณต า งๆ ในชีวติ ประจําวนั แทรกอยางสภุ าพ การชักชวน ประโยค/ขอ ความ ท่ีใชแ นะนาํ ตนเอง เพ่ือน และบุคคลใกลตัว และ สํานวนการตอบรับ การแลกเปล่ยี นขอ มลู เกี่ยวกับ ตนเอง กจิ กรรม สถานการณต างๆ ในชวี ติ ประจาํ วนั ๒. ใชคําขอรอง ใหค าํ แนะนาํ และ คําขอรอง คาํ แนะนาํ และคาํ ช้แี จง คาํ ชแ้ี จง ตามสถานการณ ๓. พดู และเขียนแสดงความตองการ ภาษาทใี่ ชในการแสดงความตองการ ขอความ ขอความชว ยเหลอื ตอบรับและ ชวยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการใหค วาม ปฏเิ สธการใหความชวยเหลอื ใน ชว ยเหลือ เชน สถานการณตางๆ อยางเหมาะสม Please…/…, please./ I’d like…/ I need…/ May/Can/Could…?/ Yes,../Please do./Certainly./ Yes, of course./ Sure./ Go right ahead./ Need some help?/ What can I do to help?/ Would you like any help?/ I’m afraid…/ I’m sorry, but…/ Sorry, but… etc. ๔. พูดและเขยี นเพ่อื ขอและให คาํ ศพั ท สํานวน ประโยค และขอความทีใ่ ชใ นการ ขอมูล และแสดงความคิดเหน็ ขอและใหขอมูล และแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั เก่ียวกับเรอ่ื งทฟี่ ง หรอื อา นอยาง เร่อื งทฟ่ี ง หรืออา น เหมาะสม ๕. พูดและเขียนแสดงความรสู กึ ภาษาทใ่ี ชในการแสดงความรสู ึก ความคิดเหน็ และ และความคดิ เหน็ ของตนเองเกย่ี วกับ ใหเ หตผุ ลประกอบ เชน ชอบ ไมช อบ ดใี จ เสียใจ เร่อื งตางๆ ใกลต ัว กจิ กรรมตางๆ มีความสขุ เศรา หิว รสชาติ สวย นาเกลยี ด เสยี งดงั พรอ มทง้ั ใหเ หตุผลส้ันๆ ประกอบ ดี ไมดี จากขา ว เหตกุ ารณ สถานการณ ใน อยา งเหมาะสม ชวี ิตประจาํ วัน เชน

๒๘ ช้ัน ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแ กนกลาง ม.๑ Nice/ Very nice./ Well done!/ Congratulations. I like… because… / I love…because…/ I feel… because… I think…/ I believe…/ I agree/disagree… I don’t believe…/ I have no idea…/ Oh no! etc. ม.๒ ๑. สนทนา แลกเปลยี่ นขอ มูล ภาษาทใี่ ชในการส่ือสารระหวา งบคุ คล เชน การ เก่ยี วกบั ตนเอง เรื่องตา งๆ ใกลต วั ทกั ทาย กลาวลา ขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย การพดู และสถานการณต า งๆ ใน แทรกอยา งสภุ าพ การชกั ชวน ประโยค/ขอ ความ ชีวิตประจาํ วนั อยา งเหมาะสม ทใ่ี ชแ นะนําตนเอง เพอื่ น และบุคคลใกลตัว และ สํานวนการตอบรับ การแลกเปล่ยี นขอมูลเกี่ยวกับ ตนเอง เร่ืองใกลตวั สถานการณตางๆ ใน ชีวติ ประจาํ วัน ๒. ใชคาํ ขอรอ ง ใหคาํ แนะนาํ คําขอรอง คาํ แนะนํา คําชแี้ จง และคาํ อธบิ าย คําชี้แจง และคําอธิบายตาม สถานการณ ๓. พูดและเขยี นแสดงความตอ งการ ภาษาทใ่ี ชใ นการแสดงความตอ งการ เสนอและให เสนอและใหค วามชว ยเหลือ ตอบรบั ความชวยเหลอื ตอบรับและปฏเิ สธการใหความ และปฏเิ สธการใหค วามชว ยเหลอื ชวยเหลอื ในสถานการณต า งๆ เชน ในสถานการณต างๆ อยางเหมาะสม Please…/…, please./ I’d like…/ I need… / May/Can/Could…?/ Yes,../Please do./ Certainly./ Yes, of course./ Sure./ Go right ahead./ Need some help?/ What can I do to help?/ Would you like any help?/ I’m afraid…/ I’m sorry, but…/ Sorry, but… etc. ๔. พูดและเขียนเพอ่ื ขอและให คําศพั ท สาํ นวน ประโยค และขอความทใี่ ชในการ ขอ มลู บรรยาย และแสดงความ ขอและใหข อ มูล บรรยาย และแสดงความคิดเหน็ คิดเห็นเกย่ี วกบั เร่อื งทฟ่ี ง หรอื อาน เกี่ยวกับเรอื่ งทฟ่ี ง หรืออา น อยางเหมาะสม

๒๙ ชน้ั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ม.๒ ๕. พดู และเขียนแสดงความรสู กึ ภาษาทใ่ี ชใ นการแสดงความรสู กึ ความคิดเห็น และ และความคดิ เห็นของตนเองเก่ยี วกับ ใหเ หตุผลประกอบ เชน ชอบ ไมชอบ ดีใจ เสยี ใจ เรอื่ งตางๆ กจิ กรรม และประสบการณ มคี วามสุข เศรา หิว รสชาติ สวย นา เกลยี ด เสยี งดัง พรอ มทัง้ ใหเหตผุ ลประกอบอยาง ดี ไมด ี จากขาว เหตกุ ารณ สถานการณ ใน เหมาะสม ชีวติ ประจําวัน เชน Nice./ Very nice./ Well done!/ Congratulations on… / I like…because…/ I love…because…/ I feel… because…/ I think…/ I believe…/ I agree/ disagree…/ I’m afraid I don’t like…/ I don’t believe…/ I have no idea…/ Oh no! etc. ม.๓ ๑. สนทนาและเขียนโตต อบขอ มูล ภาษาทใ่ี ชใ นการสื่อสารระหวางบุคคล เชน การ เกีย่ วกบั ตนเอง เร่ืองตา งๆใกลต ัว ทักทาย กลาวลา ขอบคณุ ขอโทษ ชมเชย การพดู สถานการณ ขา ว เร่อื งทอ่ี ยใู นความ แทรกอยางสุภาพ การชักชวน การแลกเปลยี่ น สนใจของสังคมและส่อื สารอยา ง ขอ มลู เกย่ี วกบั ตนเอง เรอื่ งใกลตวั สถานการณ ตอเนอ่ื งและเหมาะสม ตางๆ ในชีวติ ประจาํ วนั การสนทนา/เขียนขอ มลู เกี่ยวกบั ตนเองและบุคคลใกลต ัว สถานการณ ขาว เรอ่ื งทอี่ ยูในความสนใจในชีวติ ประจําวนั ๒. ใชค ําขอรอ ง ใหคําแนะนาํ คาํ ขอรอง คําแนะนาํ คาํ ชแี้ จง คําอธิบาย ที่มีข้ันตอน คําชแ้ี จง และคาํ อธบิ ายอยา ง ซบั ซอ น เหมาะสม ๓. พดู และเขยี นแสดงความตอ งการ ภาษาทใี่ ชในการแสดงความตอ งการ เสนอและให เสนอและใหค วามชว ยเหลือ ตอบรบั ความชวยเหลอื ตอบรับและปฏิเสธการใหความ และปฏิเสธการใหค วามชว ยเหลอื ชว ยเหลอื ในสถานการณต า งๆ เชน ในสถานการณต า งๆ อยางเหมาะสม Please…/…, please./ I’d like…/ I need…/ May/Can/Could…?/ Yes,../Please do./ Certainly./ Yes, of course./ Sure./ Go right ahead./ Need some help?/ What can I do to help?/ Would you like any help?/ I’m afraid…/ I’m sorry, but…/ Sorry, but… etc. ๔. พดู และเขยี นเพ่อื ขอและให คาํ ศพั ท สํานวน ประโยค และขอ ความทีใ่ ชในการ ขอ มูล อธิบาย เปรียบเทยี บ และ ขอและใหข อมูล อธิบาย เปรยี บเทียบ และแสดง แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั เรอื่ งที่ฟง ความคิดเหน็ เก่ยี วกับเรือ่ งทฟ่ี งหรืออาน หรอื อา นอยางเหมาะสม

๓๐ ชัน้ ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.๓ ๕. พดู และเขยี นบรรยายความรูส กึ ภาษาทใ่ี ชในการแสดงความรสู กึ ความคดิ เหน็ และ และความคิดเห็นของตนเองเกีย่ วกับ ใหเหตุผลประกอบ เชน ชอบ ไมช อบ ดใี จ เสยี ใจ เร่ืองตางๆ กิจกรรม ประสบการณ มคี วามสุข เศรา หิว รสชาติ สวย นาเกลยี ด เสยี งดงั และขา ว/เหตกุ ารณ พรอ มทงั้ ให ดี ไมด ี จากขา ว เหตกุ ารณ สถานการณ ใน เหตผุ ลประกอบอยา งเหมาะสม ชวี ิตประจําวัน เชน Nice./ Very nice./ Well done!/ Congratulations on... / I like…because…/ I love… because… / I feel… because…I think…/ I believe…/ I agree/disagree…/ I’m afraid …/ I don’t like… I don’t believe…/ I have no idea…/ Oh no! etc. ม.๔-๖ ๑. สนทนาและเขยี นโตตอบขอ มูล ภาษาทใ่ี ชใ นการส่ือสารระหวางบุคคล เชน การ เก่ยี วกบั ตนเองและเร่อื งตาง ๆ ทักทาย กลา วลา ขอบคณุ ขอโทษ ชมเชย การพูด ใกลต วั ประสบการณ สถานการณ แทรกอยา งสภุ าพ การชกั ชวน การแลกเปลย่ี น ขา ว / เหตุการณ ประเดน็ ทอ่ี ยูใน ขอ มูลเก่ียวกบั ตนเอง เรื่องใกลต วั สถานการณ ความสนใจของสงั คม และสื่อสาร ตางๆ ในชีวติ ประจาํ วนั การสนทนา/เขียนขอ มลู อยางตอเนอ่ื งและเหมาะสม เกย่ี วกับตนเองและบุคคลใกลต ัว ประสบการณ สถานการณต างๆ ขา วเหตุการณ ประเดน็ ทอี่ ยใู น ความสนใจของสงั คม ๒. เลอื กและใชค ําขอรอง ให คาํ ขอรอ ง คาํ แนะนํา คําชแ้ี จง คําอธบิ าย ทมี่ ี คําแนะนํา คาํ ชแ้ี จง คําอธิบาย ขั้นตอนซบั ซอ น อยางคลอ งแคลว ๓.พูดและเขยี นแสดงความตอ งการ ภาษาทใ่ี ชใ นการแสดงความตองการ เสนอและให เสนอ ตอบรบั และปฏเิ สธการให ความชว ยเหลอื ตอบรับและปฏเิ สธการใหค วาม ความชว ยเหลอื ในสถานการณ ชว ยเหลอื ในสถานการณตางๆ เชน จาํ ลองหรือสถานการณจ รงิ อยา ง Please…/…, please./ I’d like…/ I need…/ เหมาะสม May/Can/Could…?/Would you please…?Yes,../ Please do. /Certainly./ Yes, of course./Sure./ Need some help?/ What can I do to help?/ Would you like any help?/ If you like I could…/ What can I do to help?/ Would you like any help?/ Would you like me to help you?/ If you need anything, please…/ Is there anything I can do?/ I’ll do it for you./ I’m afraid…/ I’m sorry, but…/ Sorry, but… etc.

๓๑ ชน้ั ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ม.๔-๖ ๔. พดู และเขียนเพ่ือขอและให คําศัพท สํานวน ประโยคและขอ ความที่ใชในการ ขอมูล บรรยาย อธบิ าย เปรยี บเทียบ ขอและใหขอมลู บรรยาย อธบิ าย เปรยี บเทยี บ และแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั และแสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกบั ประเดน็ /ขา ว/ เรือ่ ง/ประเดน็ /ขาว/เหตกุ ารณท ฟี่ ง เหตกุ ารณท ่ฟี งและอา น และอานอยา งเหมาะสม ๕. พูดและเขียนบรรยายความรสู กึ ภาษาทใ่ี ชในการแสดงความรสู ึก ความคิดเห็น และ และแสดงความคดิ เหน็ ของตนเอง ใหเ หตผุ ลประกอบ เชน ชอบ ไมชอบ ดใี จ เสยี ใจ เก่ยี วกับ เรอ่ื งตา งๆ กจิ กรรม มคี วามสขุ เศรา หวิ รสชาติ สวย นา เกลียด เสียงดงั ประสบการณ และขา ว/เหตกุ ารณ ดี ไมดี จากขา ว เหตกุ ารณ สถานการณ ใน อยางมเี หตผุ ล ชีวติ ประจําวัน เชน Nice./Very nice./Well done!/Congratulations on… I like… because…/ I love… because…/ I feel… because…/I think…/I believe…/ I agree/disagree…/ I’m afraid I don’t like…/ I don’t believe…/I have no idea…/ Oh no! etc.

๓๒ สาระที่ ๑ ภาษาเพอื่ การส่อื สาร มาตรฐาน ต ๑.๓ นําเสนอขอ มูลขา วสาร ความคดิ รวบยอด และความคดิ เหน็ ในเรอ่ื งตางๆ โดยการพดู และการเขยี น ช้ัน ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง ป.๑ ๑. พูดใหขอมลู เกีย่ วกบั ตนเองและ คาํ และประโยคท่ใี ชใ นการพดู ใหข อ มลู เกยี่ วกับ เรอื่ งใกลตัว ตนเอง บุคคลใกลตัว และเรอ่ื งใกลต วั เชน บอกช่อื อายุ รูปรา ง สวนสูง เรียกส่งิ ตางๆ จาํ นวน ๑-๒๐ สี ขนาด สถานที่อยขู องสิ่งของ ป.๒ ๑. พดู ใหขอมลู เกี่ยวกบั ตนเองและ คาํ และประโยคที่ใชใ นการพดู ใหขอมลู เกย่ี วกบั เร่ืองใกลต วั ตนเอง บคุ คลใกลตวั และเรอื่ งใกลต วั เชน บอกชือ่ อายุ รปู ราง สว นสูง เรียกสิ่งตางๆ จํานวน ๑-๓๐ สี ขนาด สถานท่ีอยูของสิ่งของ ป.๓ ๑. พูดใหขอมลู เก่ยี วกับตนเองและ คําและประโยคท่ีใชใ นการพดู ใหข อมลู เกย่ี วกับ เร่อื งใกลตวั ตนเอง บคุ คลใกลตวั และเรอ่ื งใกลต ัว เชน บอกช่อื อายุ รปู ราง สวนสูง เรยี กสง่ิ ตา งๆ จํานวน ๑-๕๐ สี ขนาด สถานทอ่ี ยขู องส่ิงของ ๒. จัดหมวดหมูคําตามประเภทของ คาํ กลมุ คําทมี่ คี วามหมายเกยี่ วกบั บคุ คล สตั ว และ บุคคล สัตว และส่ิงของ ตามท่ฟี ง ส่งิ ของ เชน การระบ/ุ เชอ่ื มโยงความสัมพนั ธของ หรอื อาน ภาพกับคาํ หรือกลมุ คาํ โดยใชภ าพ แผนภมู ิ แผนภาพ แผนผงั ป.๔ ๑. พูด/เขยี นใหขอ มูลเกยี่ วกบั ตนเอง ประโยคและขอ ความที่ใชใ นการพูดใหข อ มลู และเรอื่ งใกลต วั เกี่ยวกับตนเอง บุคคล สัตว และเรือ่ งใกลต วั เชน ชอื่ อายุ รูปราง สี ขนาด รปู ทรง สงิ่ ตา งๆ จํานวน ๑-๑๐๐ วัน เดอื น ป ฤดกู าล ท่ีอยขู องสงิ่ ตางๆ เครื่องหมายวรรคตอน ๒. พดู /วาดภาพแสดงความสมั พันธ คาํ กลุม คําท่มี ีความหมายสัมพนั ธของสงิ่ ตางๆ ของส่งิ ตางๆ ใกลตวั ตามทฟี่ ง หรือ ใกลตัว เชน การระบ/ุ เชอ่ื มโยงความสัมพนั ธของ อาน ภาพกบั คํา หรอื กลุม คาํ โดยใชภาพ แผนภมู ิ แผนภาพ แผนผงั ๓. พดู แสดงความคดิ เหน็ งายๆ ประโยคทใี่ ชใ นการแสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั เกีย่ วกับเร่อื งตา งๆ ใกลตัว เร่อื งตางๆ ใกลตวั

๓๓ ชัน้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง ป.๕ ๑. พูด/เขยี นใหข อมูลเกี่ยวกบั ตนเอง ประโยคและขอ ความทใ่ี ชใ นการใหขอมลู เก่ยี วกับ และเร่อื งใกลต ัว บุคคล สตั ว สถานที่ และกจิ กรรมตางๆ เชน ขอ มูล สวนบุคคล เร่อื งตางๆ ใกลตวั จาํ นวน ๑-๕๐๐ ลาํ ดับที่ วัน เดือน ป ฤดูกาล เวลา สภาพดนิ ฟา อากาศ อารมณ ความรูสกึ สี ขนาด รูปทรง ทอี่ ยู ของส่งิ ตางๆ เครอ่ื งหมายวรรคตอน ๒. เขียนภาพ แผนผัง และแผนภมู ิ คํา กลมุ คํา ประโยคทแี่ สดงขอ มูลและความหมาย แสดงขอมลู ตา งๆ ตามท่ฟี ง หรืออา น ของเร่ืองตา งๆ ภาพ แผนผงั แผนภมู ิ ตาราง ๓. พดู แสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั ประโยคทีใ่ ชใ นการพูดแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกับ เรอ่ื งตางๆ ใกลต วั กิจกรรมหรือเร่ืองตางๆ ใกลต วั ป.๖ ๑. พูด/เขยี นใหข อ มูลเกี่ยวกบั ตนเอง ประโยคและขอ ความทใ่ี ชใ นการใหขอ มลู เกย่ี วกับ เพือ่ น และสง่ิ แวดลอ มใกลต วั ตนเอง กิจวตั รประจําวนั เพอ่ื น สงิ่ แวดลอ มใกลต วั เชน ขอมูลสวนบคุ คล เรียกส่ิงตางๆ จํานวน ๑- ๑,๐๐๐ ลาํ ดบั ที่ วนั เดือน ป ฤดกู าล เวลา กจิ กรรม ท่ที าํ สี ขนาด รปู ทรง ท่อี ยขู องสิง่ ตา งๆ ทิศทาง งายๆ สภาพดนิ ฟา อากาศ อารมณ ความรสู ึก เครอ่ื งหมายวรรคตอน ๒. เขียนภาพ แผนผัง แผนภูมิ และ คํา กลุมคํา และประโยคที่มคี วามหมายสัมพันธก ับ ตารางแสดงขอ มลู ตา งๆ ทีฟ่ ง หรือ ภาพ แผนผัง แผนภูมิ และตาราง อาน ๓. พดู /เขยี นแสดงความคดิ เหน็ ประโยคทใ่ี ชในการแสดงความคิดเห็น เกยี่ วกับเรือ่ งตา งๆ ใกลตัว ม.๑ ๑. พดู และเขยี นบรรยายเกี่ยวกบั ประโยคและขอ ความที่ใชในการบรรยายเกย่ี วกับ ตนเอง กิจวัตรประจําวัน ตนเอง กจิ วตั รประจาํ วนั ประสบการณ สง่ิ แวดลอม ประสบการณ และส่งิ แวดลอม ใกลต ัว เชน การเดินทาง การรบั ประทานอาหาร ใกลตัว การเรียน การเลน กีฬา ฟงเพลง การอา นหนงั สือ การทองเทย่ี ว ๒. พูด/เขยี น สรุปใจความสําคัญ/ การจบั ใจความสําคญั /แกน สาระ การวเิ คราะห แกน สาระ(theme) ท่ไี ดจากการ ความเรอื่ ง/เหตุการณท่อี ยใู นความสนใจ เชน วเิ คราะหเ รื่อง/เหตุการณที่อยใู น ประสบการณ ภาพยนตร กฬี า เพลง ความสนใจของสังคม

๓๔ ชน้ั ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง ม.๑ ๓. พูด/เขียนแสดงความคิดเหน็ การแสดงความคิดเห็นและการใหเหตุผลประกอบ เกี่ยวกบั กจิ กรรมหรือเรือ่ งตางๆ เกี่ยวกบั กิจกรรมหรือเรอ่ื งตางๆ ใกลต วั ใกลต วั พรอ มทัง้ ใหเหตุผลสน้ั ๆ ประกอบ ม.๒ ๑. พดู และเขยี นบรรยายเกย่ี วกบั การบรรยายขอ มูลเกยี่ วกบั ตนเอง กจิ วัตรประจาํ วนั ตนเอง กิจวัตรประจาํ วนั ประสบการณ ขาว/เหตกุ ารณที่อยใู นความสนใจ ประสบการณ และขาว/เหตกุ ารณ ของสังคม เชน การเดนิ ทาง การรับประทาน ท่อี ยใู นความสนใจของสังคม อาหาร การเลนกีฬา/ดนตรี การฟงเพลง การอาน หนังสือ การทอ งเที่ยว การศกึ ษา สภาพสงั คม เศรษฐกิจ ๒. พดู และเขยี นสรปุ ใจความสาํ คัญ/ การจบั ใจความสาํ คัญ/แกน สาระ หวั ขอเรอื่ ง แกนสาระ หวั ขอเร่ือง (topic) ทีไ่ ด การวเิ คราะหเ รื่อง/ขา ว/เหตกุ ารณท ่ีอยใู นความ จากการวิเคราะหเรื่อง/ขาว/เหตุการณ สนใจ เชน ประสบการณ ภาพยนตร กฬี า ดนตรี ท่ีอยูใ นความสนใจของสังคม เพลง ๓. พูดและเขียนแสดงความคิดเห็น การแสดงความคิดเหน็ และการใหเ หตผุ ลประกอบ เก่ยี วกบั กิจกรรม เร่ืองตา งๆ ใกลต วั เกย่ี วกับกจิ กรรม เร่อื งตางๆใกลตวั และ และประสบการณ พรอมทง้ั ให ประสบการณ เหตุผลสน้ั ๆ ประกอบ ม.๓ ๑. พดู และเขยี นบรรยายเกยี่ วกับ การบรรยายเกยี่ วกับตนเอง ประสบการณ ขา ว/ ตนเอง ประสบการณ ขา ว/ เหตกุ ารณ/ประเด็นท่อี ยใู นความสนใจของสังคม เหตุการณ / เรอื่ ง/ ประเด็นตา งๆ เชน การเดนิ ทาง การรับประทานอาหาร การเลน ทีอ่ ยูในความสนใจของสังคม กีฬา/ดนตรี การฟง เพลง การอานหนังสือ การ ทองเท่ียว การศกึ ษา สภาพสงั คม เศรษฐกจิ ๒. พูดและเขียนสรปุ ใจความสาํ คัญ/ การจบั ใจความสําคญั /แกนสาระ หวั ขอเรอ่ื ง แกน สาระ หวั ขอ เร่อื งที่ไดจ ากการ การวเิ คราะหเ รื่อง/ขาว/เหตกุ ารณ/ สถานการณท่ีอยู วเิ คราะหเ รือ่ ง/ขาว/เหตกุ ารณ/ ในความสนใจ เชน ประสบการณ เหตุการณ สถานการณท อ่ี ยูในความสนใจของ สถานการณต า งๆ ภาพยนตร กีฬา ดนตรี เพลง สังคม ๓. พดู และเขยี นแสดงความคิดเห็น การแสดงความคดิ เหน็ และการใหเ หตุผลประกอบ เก่ียวกบั กิจกรรม ประสบการณ เกยี่ วกับกิจกรรม ประสบการณ และเหตุการณ และเหตกุ ารณ พรอมทัง้ ใหเหตุผล ประกอบ

๓๕ ชน้ั ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง ม.๔-๖ ๑. พูดและเขียนนําเสนอขอมูล การนาํ เสนอขอ มลู เก่ยี วกบั ตนเอง ประสบการณ เกีย่ วกับตนเอง ประสบการณ ขาว/ ขา ว/เหตกุ ารณ เรื่องและประเดน็ ทอ่ี ยใู นความ เหตุการณ เรื่องและประเด็นตา งๆ สนใจของสังคม เชน การเดนิ ทาง การรบั ประทาน ตามความสนใจของสงั คม อาหาร การเลนกฬี า/ดนตรี การดภู าพยนตร การฟง เพลง การเลย้ี งสตั วก ารอา นหนงั สอื การทอ งเท่ยี ว การศึกษา สภาพสงั คม เศรษฐกิจ ๒. พูดและเขยี นสรุปใจความสาํ คญั / การจับใจความสําคัญ/แกนสาระ แกน สาระทไ่ี ดจากการวิเคราะห การวิเคราะหเ รอื่ ง กจิ กรรม ขา ว เหตกุ ารณ และ เร่อื ง กจิ กรรม ขา ว เหตกุ ารณ และ สถานการณตามความสนใจ สถานการณตามความสนใจ ๓. พูดและเขียนแสดงความคิดเหน็ การแสดงความคดิ เห็น การใหเ หตุผลประกอบและ เกีย่ วกับกจิ กรรม ประสบการณ ยกตวั อยางเกยี่ วกับกจิ กรรม ประสบการณ และ และเหตกุ ารณ ท้งั ในทอ งถน่ิ สังคม เหตกุ ารณใ นทอ งถนิ่ สังคม และโลก และโลก พรอมท้งั ใหเหตุผลและ ยกตวั อยา งประกอบ

๓๖ สาระที่ ๒ ภาษาและวฒั นธรรม มาตรฐาน ต ๒.๑ เขาใจความสมั พันธระหวางภาษากบั วฒั นธรรมของเจา ของภาษา และนาํ ไปใชไ ด อยางเหมาะสมกับกาลเทศะ ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ป.๑ ๑. พดู และทาํ ทาประกอบ ตาม วฒั นธรรมของเจาของภาษา เชน การใชสหี นา วฒั นธรรมของเจาของภาษา ทาทางประกอบการพูดขณะแนะนาํ ตนเอง การ สัมผัสมือ การโบกมอื การแสดงอาการตอบรับหรือ ปฏเิ สธ ๒. บอกชอ่ื และคาํ ศพั ทเกย่ี วกับ คําศพั ทเกย่ี วกบั เทศกาลสําคญั ของเจาของภาษา เทศกาลสาํ คัญของเจาของภาษา เชน วนั ครสิ ตม าส วันขึ้นปใหม วันวาเลนไทน ๓. เขารว มกิจกรรมทางภาษาและ กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เชน การเลนเกม วฒั นธรรมทเ่ี หมาะกบั วยั การรอ งเพลง การเลา นิทานประกอบทา ทาง วันครสิ ตม าส วนั ขน้ึ ปใ หม วนั วาเลนไทน ป.๒ ๑. พูดและทาํ ทา ประกอบ ตาม วฒั นธรรมของเจาของภาษา เชน การใชสหี นา วฒั นธรรมของเจาของภาษา ทา ทางประกอบการพูดขณะแนะนําตนเอง การ สมั ผัสมอื การโบกมือ การแสดงอาการตอบรับหรอื ปฏเิ สธ ๒. บอกช่ือและคาํ ศพั ทเ กย่ี วกบั คาํ ศพั ทเ กยี่ วกบั เทศกาลสาํ คัญของเจา ของภาษา เทศกาลสําคัญของเจาของภาษา เชน วนั ครสิ ตม าส วนั ข้นึ ปใหม วนั วาเลนไทน ๓. เขารว มกจิ กรรมทางภาษาและ กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เชน การเลน เกม วฒั นธรรมทเี่ หมาะกบั วยั การรองเพลง การเลา นิทานประกอบทา ทาง วันคริสตม าส วนั ขน้ึ ปใ หม วนั วาเลนไทน ป.๓ ๑. พดู และทําทาประกอบ ตาม มารยาทสังคม/วฒั นธรรมของเจาของภาษา เชน มารยาทสังคม/วัฒนธรรมของ การขอบคุณ ขอโทษ การใชสีหนาทาทางประกอบ เจาของภาษา การพูดขณะแนะนาํ ตนเอง การสัมผัสมอื การโบก มือ การแสดงอาการตอบรบั หรอื ปฏิเสธ ๒. บอกช่ือและคําศัพทง า ยๆ คําศพั ทเก่ยี วกบั เทศกาล/วันสาํ คญั /งานฉลอง และ เก่ยี วกบั เทศกาล/วันสําคัญ/งานฉลอง ชวี ิตความเปน อยขู องเจา ของภาษา เชน วนั ครสิ ตมาส และชวี ติ ความเปน อยขู องเจาของ วันขึน้ ปใ หม วนั วาเลนไทน เครือ่ งแตงกาย อาหาร ภาษา เคร่อื งดมื่

๓๗ ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๓ ๓. เขา รวมกิจกรรมทางภาษาและ กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เชน การเลนเกม วัฒนธรรมท่เี หมาะกับวยั การรอ งเพลง การเลานทิ านประกอบทา ทาง วนั คริสตมาส วนั ขนึ้ ปใ หม วนั วาเลนไทน ป.๔ ๑. พูดและทาํ ทาประกอบอยา งสุภาพ มารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของเจา ของภาษา เชน ตามมารยาทสังคมและวฒั นธรรม การขอบคุณ ขอโทษ การใชส ีหนา ทาทางประกอบ ของเจา ของภาษา การพดู ขณะแนะนําตนเอง การสัมผสั มือ การโบก มอื การแสดงความรสู ึกชอบ/ไมช อบ การแสดง อาการตอบรับหรือปฏเิ สธ ๒. ตอบคาํ ถามเกยี่ วกับเทศกาล/ คาํ ศพั ทแ ละขอ มูลเกี่ยวกบั เทศกาล/วนั สาํ คญั /งาน วนั สําคญั / งานฉลองและชีวติ ความ ฉลอง และชีวติ ความเปนอยขู องเจาของภาษา เชน เปนอยูงายๆ ของเจา ของภาษา วันครสิ ตม าส วนั ขึน้ ปใ หม วันวาเลนไทน เคร่อื งแตงกาย ฤดูกาล อาหาร เคร่ืองดืม่ ๓. เขา รว มกิจกรรมทางภาษาและ กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เชน การเลน เกม วัฒนธรรมท่ีเหมาะกับวยั การรองเพลง การเลา นิทานประกอบทา ทาง บทบาท สมมุติ วนั คริสตม าส วันขน้ึ ปใ หม วันวาเลนไทน ป.๕ ๑. ใชถ อ ยคาํ น้ําเสียง และกริ ยิ า การใชถ อยคํา นาํ้ เสียง และกิริยาทาทาง ตาม ทา ทางอยา งสุภาพ ตามมารยาท มารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของเจาของภาษา เชน สังคมและวฒั นธรรมของเจาของ การขอบคุณ ขอโทษ การใชส ีหนาทาทาง ภาษา ประกอบการพูดขณะแนะนาํ ตนเอง การสมั ผสั มอื การโบกมือ การแสดงความรูส ึกชอบ/ไมชอบ การ กลาวอวยพร การแสดงอาการตอบรบั หรอื ปฏิเสธ ๒. ตอบคาํ ถาม/บอกความสําคัญของ ขอมลู และความสําคญั ของเทศกาล/วนั สาํ คญั /งาน เทศกาล/วันสําคญั /งานฉลองและ ฉลองและชวี ติ ความเปนอยูของเจา ของภาษา เชน ชีวติ ความเปน อยูง ายๆ ของเจา ของ วันครสิ ตมาส วนั ข้นึ ปใ หม วนั วาเลนไทน ภาษา เครือ่ งแตงกาย ฤดูกาล อาหาร เคร่อื งดืม่ ๓. เขา รวมกิจกรรมทางภาษาและ กจิ กรรมทางภาษาและวฒั นธรรม เชน การเลน เกม วัฒนธรรมตามความสนใจ การรองเพลง การเลานทิ าน บทบาทสมมุติ วันขอบคณุ พระเจา วนั คริสตม าส วันขึ้นปใ หม วนั วาเลนไทน

๓๘ ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๖ ๑. ใชถ อยคํา นํ้าเสยี ง และกริ ยิ า การใชถ อ ยคํา นา้ํ เสยี ง และกิรยิ าทา ทาง ตาม ทาทางอยา งสุภาพเหมาะสม ตาม มารยาทสังคมและวฒั นธรรมของเจาของภาษา มารยาทสงั คมและวฒั นธรรมของ เชน การขอบคณุ ขอโทษ การใชส ีหนา ทา ทาง เจาของภาษา ประกอบการพูดขณะแนะนาํ ตนเอง การสมั ผัสมือ การโบกมือ การแสดงความรูสึกชอบ/ไมชอบ การกลาวอวยพร การแสดงอาการตอบรับหรือ ปฏเิ สธ ๒. ใหข อมูลเกี่ยวกับเทศกาล/วนั ขอ มูลและความสาํ คัญของเทศกาล/วนั สาํ คญั / สาํ คญั /งานฉลอง/ชีวติ ความเปน อยู งานฉลองและชีวติ ความเปน อยขู องเจาของภาษา ของเจาของภาษา เชน วันครสิ ตม าส วันข้ึนปใหม วนั วาเลนไทน เครื่องแตง กายตามฤดูกาล อาหาร เครอ่ื งดมื่ ๓. เขา รว มกิจกรรมทางภาษาและ กจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เชน การเลนเกม วฒั นธรรมตามความสนใจ การรอ งเพลง การเลานิทาน บทบาทสมมุติ วนั ขอบคณุ พระเจา วนั คริสตม าส วันข้ึนปใ หม วนั วาเลนไทน ม.๑ ๑.ใชภาษา น้ําเสียง และกริ ิยาทา ทาง การใชภาษา นํ้าเสยี ง และกริ ิยาทา ทางในการ สุภาพเหมาะสม ตามมารยาทสงั คม สนทนา ตามมารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของ และวฒั นธรรมของเจาของภาษา เจา ของภาษา เชน การขอบคุณ ขอโทษ การ ชมเชย การใชส หี นาทา ทางประกอบ การพูด ขณะแนะนาํ ตนเอง การสมั ผสั มือ การโบกมอื การแสดงความรูส ึกชอบ/ไมชอบ การกลาวอวยพร การแสดงอาการตอบรบั หรอื ปฏิเสธ ๒. บรรยายเกยี่ วกบั เทศกาล ความเปน มาและความสําคญั ของเทศกาล วันสําคัญ วันสําคัญ ชีวติ ความเปน อยู และ ชีวิตความเปน อยู และประเพณีของเจา ของภาษา ประเพณขี องเจา ของภาษา ๓. เขารว ม/จดั กิจกรรมทางภาษา กจิ กรรมทางภาษาและวฒั นธรรม เชน การเลนเกม และวัฒนธรรมตามความสนใจ การรอ งเพลง การเลา นิทาน บทบาทสมมุติ วนั ขอบคณุ พระเจา วันคริสตม าส วันขึน้ ปใ หม วันวาเลนไทน

๓๙ ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.๒ ๑. ใชภ าษา นา้ํ เสยี ง และกิริยาทาทาง การใชภ าษา นาํ้ เสยี ง และกิริยาทาทางในการ เหมาะกับบุคคลและโอกาส ตาม สนทนา ตามมารยาทสังคมและวฒั นธรรมของ มารยาทสงั คม และวัฒนธรรมของ เจา ของภาษา เชน การขอบคณุ ขอโทษ การชมเชย เจาของภาษา การใชสหี นา ทา ทางประกอบ การพูดขณะแนะนํา ตนเอง การสมั ผสั มอื การโบกมือ การแสดง ความรสู ึกชอบ/ไมช อบ การกลา วอวยพร การ แสดงอาการตอบรับหรือปฏิเสธ ๒. อธิบายเกย่ี วกับเทศกาล วนั สาํ คญั ความเปน มาและความสาํ คญั ของเทศกาล วันสําคญั ชวี ิตความเปน อยู และประเพณีของ ชีวติ ความเปน อยู และประเพณีของเจา ของภาษา เจา ของภาษา ๓. เขารว ม/จัดกิจกรรมทางภาษา กิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรม เชน การเลน เกม และวฒั นธรรมตามความสนใจ การรอ งเพลง การเลา นิทาน บทบาทสมมุติ วันขอบคุณพระเจา วันคริสตม าส วนั ข้นึ ปใ หม วันวาเลนไทน ม.๓ ๑. เลือกใชภาษา น้าํ เสยี ง และกริ ิยา การเลอื กใชภาษา นํ้าเสยี ง และกริ ยิ าทาทางในการ ทาทาง เหมาะกับบุคคลและโอกาส สนทนา ตามมารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของ ตามมารยาทสังคม และวฒั นธรรม เจา ของภาษา เชน การขอบคณุ ขอโทษ การ ของเจา ของภาษา ชมเชย การใชสีหนา ทา ทางประกอบ การพดู ขณะแนะนาํ ตนเอง การสมั ผัสมือ การโบกมือ การแสดงความ รสู ึกชอบ/ไมชอบ การกลาวอวยพร การแสดงอาการตอบรบั หรอื ปฏเิ สธ ๒. อธบิ ายเกย่ี วกบั ชีวติ ความเปนอยู ชวี ิตความเปน อยู ขนบธรรมเนยี มและประเพณีของ ขนบธรรมเนียมและประเพณขี อง เจา ของภาษา เจาของภาษา ๓. เขา รว ม/จัดกจิ กรรมทางภาษา กิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรม เชน การเลน เกม และวฒั นธรรมตามความสนใจ การรอ งเพลง การเลานทิ าน บทบาทสมมุติ วันขอบคุณพระเจา วนั คริสตม าส วนั ขึน้ ปใ หม วนั วาเลนไทน

๔๐ ช้นั ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง ม.๔-๖ ๑. เลอื กใชภ าษา นาํ้ เสียง และกิริยา การเลอื กใชภ าษา นํ้าเสยี ง และกริ ิยาทาทางในการ ทา ทางเหมาะกบั ระดับของบุคคล สนทนา ระดบั ของภาษา มารยาทสงั คมและ โอกาส และสถานที่ ตามมารยาท วฒั นธรรมของเจา ของภาษา เชน การขอบคุณ สังคมและวฒั นธรรมของเจาของ ขอโทษ การชมเชย การใชส ีหนาทา ทางประกอบ ภาษา การพูดขณะแนะนาํ ตนเอง การสัมผัสมือ การโบก มือ การแสดงความ รูสึกชอบ/ไมช อบ การกลา ว อวยพร การแสดงอาการตอบรับหรอื ปฏเิ สธ ๒. อธบิ าย/อภปิ รายวถิ ีชวี ิต ความคดิ วิถีชีวิต ความคิด ความเชอื่ และทม่ี าของ ความเชอ่ื และทมี่ าของ ขนบธรรมเนยี ม และประเพณขี องเจา ของภาษา ขนบธรรมเนยี ม และประเพณีของ เจาของภาษา ๓. เขา รวม แนะนาํ และจัดกจิ กรรม กิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรม เชน การเลนเกม ทางภาษาและวฒั นธรรมอยา ง การรอ งเพลง การเลา นทิ าน/เรื่องจากภาพยนตร เหมาะสม บทบาทสมมุติ ละครสั้น วนั ขอบคณุ พระเจา วันคริสตม าส วันข้ึนปใ หม วนั วาเลนไทน

๔๑ สาระท่ี ๒ ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต ๒.๒ เขา ใจความเหมอื นและความแตกตางระหวางภาษาและวฒั นธรรมของเจาของภาษา กบั ภาษาและวฒั นธรรมไทย และนํามาใชอยา งถกู ตอ งและเหมาะสม ช้นั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรูแ กนกลาง ป.๑ ๑.ระบุตวั อกั ษรและเสียงตวั อักษร ตัวอักษรและเสยี งตัวอกั ษรของภาษาตา งประเทศ ของภาษาตา งประเทศและภาษาไทย และภาษาไทย ป.๒ ๑.ระบตุ ัวอกั ษรและเสียงตวั อักษร ตัวอักษรและเสียงตัวอักษรของภาษาตางประเทศ ของภาษาตา งประเทศและภาษาไทย และภาษาไทย ป.๓ ๑. บอกความแตกตางของเสยี ง ความแตกตา งของเสยี งตวั อกั ษร คาํ กลมุ คาํ และ ตวั อักษร คาํ กลมุ คํา และประโยค ประโยคของภาษาตา งประเทศและภาษาไทย งา ยๆ ของภาษาตา งประเทศและ ภาษาไทย ป.๔ ๑. บอกความแตกตา งของเสียง ความแตกตา งของเสยี งตัวอกั ษร คํา กลุมคํา และ ตัวอกั ษร คาํ กลุมคาํ ประโยค และ ประโยคของภาษาตา งประเทศและภาษาไทย ขอ ความของภาษาตา งประเทศและ ภาษาไทย ๒. บอกความเหมอื น/ความแตกตา ง ความเหมือน/ความแตกตางระหวา งเทศกาล และ ระหวา งเทศกาลและงานฉลอง งานฉลองตามวฒั นธรรมของเจาของภาษากับ ตามวฒั นธรรมของเจา ของภาษากบั ของไทย ของไทย ป.๕ ๑. บอกความเหมือน/ความแตกตา ง ความเหมือน/ความแตกตา งระหวา งการออกเสยี ง ระหวางการออกเสียงประโยค ประโยคชนดิ ตางๆ ของเจาของภาษากบั ของไทย ชนดิ ตา งๆ การใชเครื่องหมาย การใชเครื่องหมายวรรคตอนและการลาํ ดับคําตาม วรรคตอน และการลาํ ดับคํา (order) โครงสรางประโยคของภาษาตางประเทศและ ตามโครงสรา งประโยค ของ ภาษาไทย ภาษาตางประเทศและภาษาไทย ๒. บอกความเหมือน/ความแตกตา ง ความเหมอื น/ความแตกตา งระหวางเทศกาลและ ระหวา งเทศกาลและงานฉลอง งานฉลองของเจา ของภาษากบั ของไทย ของเจา ของภาษากับของไทย

๔๒ ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแ กนกลาง ป.๖ ๑. บอกความเหมอื น/ความแตกตา ง ความเหมือน/ความแตกตางระหวา งการออกเสียง ระหวา งการออกเสียงประโยค ประโยคชนดิ ตา งๆ ของเจาของภาษากบั ของไทย ชนดิ ตางๆ การใชเคร่ืองหมาย การใชเครอื่ งหมายวรรคตอนและการลําดับคําตาม วรรคตอน และการลําดับคาํ ตาม โครงสรา งประโยคของภาษาตา งประเทศและ โครงสรางประโยค ของ ภาษาไทย ภาษาตา งประเทศและภาษาไทย ๒. เปรยี บเทยี บความเหมือน/ความ การเปรียบเทยี บความเหมอื น/ความแตกตา ง แตกตา งระหวา งเทศกาล งานฉลอง ระหวา งเทศกาล งานฉลอง และประเพณขี อง และประเพณขี องเจาของภาษากบั เจา ของภาษากบั ของไทย ของไทย ม.๑ ๑. บอกความเหมือนและความ ความเหมอื น/ความแตกตางระหวางการออกเสยี ง แตกตางระหวา งการออกเสียง ประโยคชนิดตา งๆ ของเจา ของภาษากับของไทย ประโยคชนิดตางๆ การใช การใชเ ครอื่ งหมายวรรคตอนและการลาํ ดับคาํ ตาม เครือ่ งหมายวรรคตอน และการ โครงสรา งประโยคของภาษาตางประเทศและ ลาํ ดบั คําตามโครงสรา งประโยคของ ภาษาไทย ภาษาตางประเทศและภาษาไทย ๒. เปรียบเทยี บความเหมอื นและ ความเหมือนและความแตกตา งระหวางเทศกาล ความแตกตางระหวางเทศกาล งานฉลอง วนั สาํ คัญ และชวี ติ ความเปนอยขู อง งานฉลอง วนั สาํ คัญ และชวี ติ ความ เจาของภาษากบั ของไทย เปนอยูของเจา ของภาษากบั ของไทย ม.๒ ๑. เปรียบเทยี บและอธิบายความ การเปรยี บเทยี บและการอธบิ ายความเหมอื น/ความ เหมอื นและความแตกตางระหวา ง แตกตา งระหวา งการออกเสยี งประโยคชนดิ ตางๆ การออกเสยี งประโยคชนดิ ตา งๆ ของเจา ของภาษากับของไทย การใชเครื่องหมาย และการลําดับคาํ ตามโครงสราง วรรคตอนและการลําดบั คาํ ตามโครงสรา งประโยค ประโยค ของภาษาตา งประเทศและ ของภาษาตา งประเทศและภาษาไทย ภาษาไทย ๒ เปรยี บเทยี บและอธิบายความ การเปรียบเทยี บและการอธบิ ายความเหมือนและ เหมอื นและความแตกตา งระหวา ง ความแตกตางระหวางชวี ติ ความเปน อยแู ละ ชวี ิตความเปน อยูและวฒั นธรรมของ วัฒนธรรมของเจาของภาษากับของไทย เจาของภาษากบั ของไทย

๔๓ ชัน้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง ม.๓ ๑. เปรียบเทยี บและอธิบายความ การเปรียบเทยี บและการอธิบายความเหมือน/ความ เหมอื นและความแตกตางระหวาง แตกตา งระหวา งการออกเสยี งประโยคชนดิ ตา งๆ การออกเสยี งประโยคชนิดตางๆ ของเจา ของภาษากับของไทย การใชเครอ่ื งหมาย และการลําดบั คาํ ตามโครงสราง วรรคตอนและการลาํ ดบั คําตามโครงสรางประโยค ประโยคของภาษาตางประเทศและ ของภาษาตา งประเทศและภาษาไทย ภาษาไทย ๒. เปรียบเทยี บและอธิบายความ การเปรยี บเทยี บและการอธิบายความเหมอื นและ เหมือนและความแตกตางระหวาง ความแตกตางระหวา งชวี ิตความเปนอยแู ละ ชีวติ ความเปน อยแู ละวฒั นธรรมของ วฒั นธรรมของเจาของภาษากับของไทย เจา ของภาษากบั ของไทย และ การนาํ วัฒนธรรมของเจาของภาษาไปใช นําไปใชอ ยางเหมาะสม ม.๔-๖ ๑. อธิบาย/เปรยี บเทียบความ การอธิบาย/การเปรียบเทียบความแตกตา งระหวา ง แตกตางระหวา งโครงสรา งประโยค โครงสรางประโยค ขอความ สํานวน คาํ พงั เพย ขอ ความ สํานวน คาํ พังเพย สุภาษิต สภุ าษติ และบทกลอนของภาษาตางประเทศและ และบทกลอนของภาษาตา งประเทศ ภาษาไทย และภาษาไทย ๒. วเิ คราะห/ อภปิ ราย ความเหมอื น การวิเคราะห/ การอภิปรายความเหมอื นและความ และความแตกตา งระหวา งวถิ ีชวี ติ แตกตางระหวา งวถิ ชี ีวิต ความเช่ือและวฒั นธรรม ความเชอื่ และวฒั นธรรมของเจาของ ของเจาของภาษากบั ของไทย การนําวฒั นธรรม ภาษากับของไทยและนาํ ไปใชอ ยา ง ของเจาของภาษาไปใช มเี หตุผล

๔๔ สาระท่ี ๓ ภาษากับความสมั พนั ธก บั กลุมสาระการเรยี นรอู ่ืน มาตรฐาน ต ๓.๑ ใชภ าษาตา งประเทศในการเชอื่ มโยงความรูกบั กลมุ สาระการเรียนรอู น่ื และเปน พ้นื ฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู และเปดโลกทศั นข องตน ชน้ั ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ป.๑ ๑. บอกคําศพั ทที่เก่ียวของกบั กลมุ คาํ ศัพทท่เี ก่ียวของกบั กลุมสาระการเรียนรอู ืน่ สาระการเรยี นรอู ืน่ ป.๒ ๑. บอกคาํ ศัพทท เี่ ก่ียวของกบั กลมุ คาํ ศพั ทท เี่ ก่ียวของกบั กลุมสาระการเรียนรอู ่ืน สาระการเรียนรูอืน่ ป.๓ ๑. บอกคําศัพทท เี่ กย่ี วขอ งกบั กลมุ คําศพั ทท ่เี กีย่ วขอ งกับกลมุ สาระการเรียนรอู น่ื สาระการเรียนรอู ่นื ป.๔ ๑. คนควา รวบรวมคาํ ศัพทท ่ี การคน ควา การรวบรวม และการนําเสนอ คาํ ศพั ท เกยี่ วของกบั กลมุ สาระการเรยี นรอู ื่น ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั กลุม สาระการเรยี นรอู นื่ และนําเสนอดว ยการพดู / การเขยี น ป.๕ ๑. คน ควา รวบรวมคาํ ศพั ทท ่ี การคนควา การรวบรวม และการนําเสนอคาํ ศัพท เกีย่ วของกับกลุมสาระการเรยี นรอู นื่ ท่ีเกยี่ วของกับกลุมสาระการเรียนรูอ น่ื และนาํ เสนอดว ยการพดู / การเขยี น ป.๖ ๑. คน ควา รวบรวมคาํ ศัพทท ี่ การคน ควา การรวบรวม และการนาํ เสนอคําศัพท เกี่ยวขอ งกบั กลมุ สาระการเรียนรอู ืน่ ที่เกี่ยวขอ งกับกลมุ สาระการเรียนรูอ่ืน จากแหลงเรียนรู และนาํ เสนอดวย การพูด / การเขียน ม.๑ ๑. คนควา รวบรวม และสรปุ ขอมูล/ การคน ควา การรวบรวม การสรุป และการ ขอ เทจ็ จรงิ ที่เกยี่ วขอ งกบั กลมุ สาระ นําเสนอขอ มูล/ขอเทจ็ จรงิ ที่เกย่ี วของกบั กลมุ สาระ การเรียนรูอ่ืนจากแหลง เรยี นรู และ การเรียนรูอนื่ นําเสนอดว ยการพูด/การเขียน ม.๒ ๑.คนควา รวบรวม และสรุปขอมลู / การคนควา การรวบรวม การสรุป และการ ขอเท็จจรงิ ทเ่ี กยี่ วของกบั กลมุ สาระ นําเสนอขอมูล/ขอ เท็จจริงท่ีเก่ียวของกบั กลมุ สาระ การเรียนรอู น่ื จากแหลง เรียนรู และ การเรยี นรูอ่ืน นําเสนอดว ยการพดู /การเขียน ม.๓ ๑.คนควา รวบรวม และสรุปขอ มูล/ การคนควา การรวบรวม การสรุป และการ ขอ เท็จจรงิ ทีเ่ กย่ี วขอ งกับกลมุ สาระ นําเสนอขอมลู /ขอเท็จจริงท่ีเกย่ี วขอ งกับกลมุ สาระ การเรียนรอู น่ื จากแหลงเรยี นรู และ การเรยี นรอู นื่ นําเสนอดว ยการพดู และการเขยี น

๔๕ ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง ม.๔-๖ ๑. คน ควา/สบื คน บนั ทกึ สรุป และ การคนควา /การสืบคน การบนั ทกึ การสรุป การ แสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั ขอ มูล แสดงความคดิ เหน็ และนําเสนอขอ มูลทีเ่ กย่ี วของ ท่ีเกยี่ วของกับกลมุ สาระการเรยี นรู กบั กลมุ สาระการเรียนรอู ่ืนจากแหลงเรยี นรตู า งๆ อืน่ จากแหลง เรียนรตู า งๆ และ นาํ เสนอดว ยการพูดและการเขียน

๔๖ สาระท่ี ๔ ภาษากบั ความสมั พนั ธกับชมุ ชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภาษาตางประเทศในสถานการณต างๆ ทงั้ ในสถานศกึ ษา ชุมชน และสงั คม ช้ัน ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ป.๑ ๑. ฟง /พดู ในสถานการณง า ยๆ ท่ี การใชภาษาในการฟง /พดู ในสถานการณง ายๆ ท่ี เกิดขนึ้ ในหองเรียน เกิดข้ึนในหองเรยี น ป.๒ ๑. ฟง/พูดในสถานการณงายๆ ที่ การใชภ าษาในการฟง/พดู ในสถานการณง ายๆ ที่ เกิดข้นึ ในหองเรยี น เกดิ ข้นึ ในหอ งเรียน ป.๓ ๑. ฟง /พดู ในสถานการณง า ยๆ ที่ การใชภ าษาในการฟง/พดู ในสถานการณง า ยๆ ท่ี เกดิ ข้ึนในหองเรยี น เกิดขึน้ ในหอ งเรียน ป.๔ ๑. ฟง และพดู /อานในสถานการณท่ี การใชภาษาในการฟงและพดู /อา นในสถานการณ เกดิ ขนึ้ ในหอ งเรียนและสถานศึกษา ท่เี กิดขนึ้ ในหอ งเรียน ป.๕ ๑. ฟง พูด และอาน/เขยี นใน การใชภ าษาในการฟง พดู และอา น/เขียนใน สถานการณตางๆ ทเ่ี กิดข้ึนใน สถานการณต า งๆ ทเ่ี กดิ ขึ้นในหอ งเรียน หอ งเรียนและสถานศึกษา ป.๖ ๑. ใชภ าษาส่ือสารในสถานการณ การใชภ าษาส่อื สารในสถานการณต า งๆทเ่ี กิดขึ้น ตา งๆ ท่ีเกดิ ขนึ้ ในหอ งเรยี นและ ในหอ งเรยี นและสถานศกึ ษา สถานศึกษา ม.๑ ๑. ใชภ าษาส่อื สารในสถานการณ การใชภ าษาส่ือสารในสถานการณจรงิ /สถานการณ จรงิ /สถานการณจําลองทีเ่ กดิ ขน้ึ ใน จาํ ลองทีเ่ กิดขน้ึ ในหองเรียนและสถานศึกษา หอ งเรยี นและสถานศกึ ษา ม.๒ ๑. ใชภ าษาสอื่ สารในสถานการณ การใชภ าษาส่ือสารในสถานการณจรงิ /สถานการณ จริง/สถานการณจ ําลองทเ่ี กดิ ขึน้ ใน จําลองท่ีเกดิ ขน้ึ ในหอ งเรียน สถานศกึ ษา และ หอ งเรียน สถานศกึ ษา และชมุ ชน ชุมชน ม.๓ ๑. ใชภ าษาส่อื สารในสถานการณ การใชภ าษาสอื่ สารในสถานการณจริง/สถานการณ จริง/สถานการณจําลองที่เกดิ ขนึ้ ใน จาํ ลองทเ่ี กดิ ขนึ้ ในหองเรยี น สถานศกึ ษา ชมุ ชน หองเรยี น สถานศกึ ษา ชุมชน และ และสังคม สังคม ม.๔-๖ ๑. ใชภ าษาส่อื สารในสถานการณ การใชภ าษาสือ่ สารในสถานการณจ ริง/สถานการณ จริง/สถานการณจําลองท่ีเกดิ ขนึ้ ใน จาํ ลองเสมอื นจรงิ ทเ่ี กิดขนึ้ ในหอ งเรยี น สถานศกึ ษา หอ งเรยี น สถานศึกษา ชมุ ชน และ ชมุ ชน และสงั คม สงั คม

๔๗ สาระท่ี ๔ ภาษากบั ความสมั พันธก ับชมุ ชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภาษาตา งประเทศเปน เครือ่ งมอื พืน้ ฐานในการศกึ ษาตอ การประกอบอาชพี และ การแลกเปลย่ี นเรยี นรกู บั สังคมโลก ชนั้ ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง ป.๑ ๑. ใชภาษาตางประเทศ เพื่อรวบรวม การใชภ าษาตา งประเทศในการรวบรวมคาํ ศัพทท ี่ คําศพั ททเ่ี ก่ียวของใกลต ัว เกี่ยวของใกลต ัว จากสือ่ ตา งๆ ป.๒ ๑. ใชภ าษาตางประเทศ เพอื่ รวบรวม การใชภาษาตา งประเทศในการรวบรวมคาํ ศัพทที่ คําศพั ททเ่ี ก่ยี วขอ งใกลตวั เกีย่ วขอ งใกลต วั จากสื่อตางๆ ป.๓ ๑. ใชภ าษาตางประเทศ เพอ่ื รวบรวม การใชภาษาตา งประเทศในการรวบรวมคาํ ศพั ทท่ี คําศพั ททเ่ี ก่ยี วขอ งใกลต ัว เกี่ยวขอ งใกลต วั จากส่อื ตางๆ ป.๔ ๑. ใชภาษาตางประเทศในการ การใชภ าษาตา งประเทศในการสบื คนและการ สบื คน และรวบรวมขอ มลู ตา งๆ รวบรวมคาํ ศพั ทท ีเ่ ก่ยี วของใกลตัว จากส่ือและ แหลงการเรยี นรตู างๆ ป.๕ ๑. ใชภาษาตา งประเทศในการ การใชภาษาตา งประเทศในการสบื คน และการ สืบคน และรวบรวมขอ มูลตา งๆ รวบรวมคําศพั ทท ีเ่ ก่ียวของใกลต ัว จากสอ่ื และ แหลงการเรยี นรตู า งๆ ป.๖ ๑. ใชภ าษาตางประเทศในการ การใชภ าษาตา งประเทศในการสืบคน และการ สบื คนและรวบรวมขอ มลู ตางๆ รวบรวมคําศัพทท่เี ก่ยี วของใกลตัว จากส่อื และ แหลงการเรยี นรูตา งๆ ม.๑ ๑. ใชภาษาตา งประเทศในการ การใชภาษาตา งประเทศในการสืบคน /การคนควา สืบคน/คนควา ความรู/ขอมลู ตา งๆ ความรู/ ขอ มูลตางๆ จากสอื่ และแหลงการเรียนรู จากสอ่ื และแหลงการเรยี นรตู างๆ ตางๆ ในการศึกษาตอและประกอบอาชพี ในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ ม.๒ ๑. ใชภ าษาตา งประเทศในการ การใชภ าษาตา งประเทศในการสืบคน/การคน ควา สืบคน/คนควา รวบรวมและสรปุ ความรู/ขอ มูลตา งๆ จากส่อื และแหลง การเรียนรู ความรู/ขอมลู ตางๆ จากสื่อและ ตา งๆ ในการศึกษาตอและประกอบอาชพี แหลงการเรยี นรตู างๆ ในการศกึ ษา ตอ และประกอบอาชพี ๒. เผยแพร/ประชาสมั พนั ธข อ มลู การใชภาษาตา งประเทศในการเผยแพร/ ขาวสาร ของโรงเรยี นเปน ประชาสมั พันธขอ มลู ขาวสารของโรงเรียน ภาษาตา งประเทศ เชน การทําหนังสอื เลม เลก็ แนะนาํ โรงเรยี น การทาํ แผน ปลิว ปา ยคาํ ขวญั คําเชิญชวนแนะนํา โรงเรยี น การนาํ เสนอขอ มูลขาวสารในโรงเรยี น เปน ภาษาองั กฤษ

๔๘ ชัน้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรูแ กนกลาง ม.๓ ๑. ใชภ าษาตางประเทศในการ การใชภาษาตา งประเทศในการสบื คน /การคน ควา สืบคน /คน ควา รวบรวม และสรุป ความร/ู ขอ มลู ตางๆ จากสอ่ื และแหลง การเรยี นรู ความรู/ขอมลู ตา งๆ จากสอื่ และ ตา งๆ ในการศึกษาตอและประกอบอาชพี แหลง การเรยี นรูต างๆในการศกึ ษา ตอ และประกอบอาชพี ๒. เผยแพร /ประชาสัมพนั ธ การใชภ าษาตา งประเทศในการเผยแพร/ ขอ มูล ขาวสารของโรงเรยี น ชุมชน ประชาสัมพนั ธขอมลู ขาวสารของโรงเรียน ชมุ ชน และทอ งถนิ่ เปนภาษาตา งประเทศ และทอ งถ่ิน เชน การทาํ หนงั สือเลม เลก็ แนะนํา โรงเรียน ชุมชน และทองถ่ิน การทําแผน ปลวิ ปายคาํ ขวัญ คาํ เชญิ ชวนแนะนาํ โรงเรียนและ สถานทสี่ าํ คัญในชุมชนและทอ งถนิ่ การนาํ เสนอ ขอ มูลขาวสารในโรงเรียน ชมุ ชน และทอ งถิน่ เปน ภาษาอังกฤษ ม.๔-๖ ๑. ใชภาษาตางประเทศในการ การใชภาษาตา งประเทศในการสบื คน/การคน ควา สบื คน /คน ควา รวบรวม วเิ คราะห ความรู/ขอมูลตา งๆ จากส่ือและแหลงการเรียนรู และสรุปความรู/ ขอ มูลตา งๆ จากสือ่ ตา งๆ ในการศกึ ษาตอ และประกอบอาชพี และแหลง การเรยี นรตู างๆ ใน การศกึ ษาตอและประกอบอาชีพ ๒. เผยแพร/ ประชาสัมพนั ธ ขอมูล การใชภาษาองั กฤษในการเผยแพร/ ประชาสมั พนั ธ ขา วสารของโรงเรยี น ชุมชน และ ขอ มูล ขาวสารของโรงเรยี น ชมุ ชน และทอ งถ่นิ / ทองถ่ิน/ประเทศชาติ เปน ประเทศชาติ เชน การทาํ หนังสอื เลม เล็กแนะนาํ ภาษาตา งประเทศ โรงเรียน ชุมชน ทองถน่ิ /ประเทศชาติ การทําแผน ปลวิ ปา ยคาํ ขวัญ คําเชญิ ชวนแนะนาํ โรงเรียน สถานที่สําคัญในชมุ ชนและทอ งถ่นิ /ประเทศชาติ การนําเสนอขอ มูลขาวสารในโรงเรียน ชมุ ชน ทอ งถน่ิ /ประเทศชาตเิ ปนภาษาองั กฤษ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook