Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นที่เป็นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่การนิเทศภายในโรงเรียน โดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

การนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นที่เป็นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่การนิเทศภายในโรงเรียน โดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

Description: โรงเรียนตากฟ้าวิชาประสิทธิ์

Search

Read the Text Version

32

24 คำนำ เอกสารการนิเทศบูรณาการโดยใช้พ้ืนท่ีเป็นฐานเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่การนิเทศภายในโรงเรียนโดยใช้ ห้องเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน “2562 ปีทองแห่งการนิเทศภายใน ห้องเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนา คุณภาพของผู้เรียน” จัดทำข้ึนเพื่อเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนการนิเทศบูรณาการโดยใช้พ้ืนที่เป็นฐานเพ่ือ พัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยใช้หลักการบูรณาการนโยบาย งานโครงการ วิธีการ บุคลากรและงบประมาณ ในการดำเนินงาน ใช้เป็นแนวทางในการนิเทศ ติดตามเพื่อสนับสนุน ส่งเสริมและสร้างความเข้มแข็งให้กับ โรงเรียน ศึกษานิเทศก์สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สามารถนิเทศบูรณาการโดยใช้บริบทตามสภาพปัญหา ความต้องการของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาในการนิเทศโรงเรียนในสังกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ โรงเรียนดำเนินการนิเทศภายในโรงเรียนได้อย่างเป็นระบบ เชื่อมโยงกับระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา การพัฒนาและใช้หลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามบริบทของชุมชนและท้องถ่ิน การนำหลักสูตรสู่ห้องเรียน การจัดการเรยี นรู้เชิงรุก (Active Learning) การใช้สื่อ และแหล่งการเรียนรู้ที่เน้นเทคโนโลยีและการส่ือสารอย่างหลากหลายและเหมาะสม ประเมินผลการใช้ หลักสูตรและนำผลการประเมินไปใช้ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ผู้เรียน มคี ณุ ภาพตามหลักสตู รและมคี วามสามารถตามสมรรถนะในศตวรรษที่ 21 ขอขอบคุณคณะทำงานและผู้มีส่วนเก่ียวข้องทกุ ฝ่ายที่มีสว่ นร่วมในการจดั ทำเอกสารการนิเทศบูรณาการโดยใช้ พื้นท่ีเป็นฐานเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาสู่การนิเทศภายในโรงเรียนโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานเพ่ือพัฒนาคุณภาพของ ผู้เรียน “2562 ปีทองแห่งการนิเทศภายใน ห้องเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน” สามารถเป็น แนวทางในการขับเคล่ือนการนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นที่เป็นฐานเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาในทุกระดับได้อย่างมี คุณภาพ สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพการศึกษาตอ่ ไป งานนิเทศการสอน กลุม่ บรหิ ารวชิ าการ โรงเรยี นตากฟา้ วิชาประสทิ ธิ์

สารบัญ 25 คำนำ หนา้ สารบญั ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทว่ั ไปของสถานศึกษา 2 ตอนท่ี 2 ผลการดำเนนิ งานด้านการนิเทศภายในของสถานศกึ ษา 8 8 2.1 ชอ่ื รูปแบบ 8 2.2 สภาพปัจจุบนั /ปญั หา 8 2.3 รปู แบบ หรือกระบวนการนิเทศภายในของสถานศกึ ษา 11 2.4 วธิ กี ารดำเนนิ การ 18 2.5 การกำกบั ติดตาม ประเมนิ และรายงานผล 19 2.6 ผลสำเร็จท่ีได้ และการนำผลไปใช้ 21 ตอนท่ี 3 ข้อมูลอืน่ ๆ 22 ภาคผนวก คำสง่ั นิเทศการสอน ตารางนิเทศการสอน

1

2 รปู แบบการนเิ ทศภายในของสถานศึกษาทปี่ ระสบความสำเร็จ เปน็ แบบอย่างได้ โรงเรียน ตากฟ้าวชิ าประสทิ ธ์ิ ตอนท่ี 1 ข้อมลู พ้นื ฐานของโรงเรยี น ๑. ความเป็นมา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ ได้คัดเลือกโรงเรียนตากฟ้าวิชาประสิทธ์ิ อำเภอ ตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์ เป็นโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง โดยมีความมุ่งหมายที่จะพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของนักเรียนให้มีคุณภาพ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มุ่งเน้นการใช้ศักยภาพของชุมชน ครู นักเรียนและผู้มีส่วน เก่ียวข้องทุกฝ่ายร่วมสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียน โดยเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาการศึกษาให้เท่าเทียมกับ โรงเรียนท่ีมีการแข่งขันสูง โดยทุกฝ่ายร่วมสนับสนุนการพัฒนาให้บรรลุผลตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ และยังเป็นการเพิ่มโอกาสทางการศึกษา ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา และพัฒนาคุณภาพด้านการศึกษา ให้โรงเรียนตากฟ้าวิชาประสิทธิ์เป็นศูนย์กลางทางการเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน เกิดความยอมรับในการ เปลี่ยนแปลง ข้อมูลท่ัวไป ชื่อโรงเรยี น ตากฟา้ วชิ าประสทิ ธิ์ ที่ต้ัง 9 หมู่ 1 ตำบลตากฟา้ อำเภอตากฟ้า จงั หวัดนครสวรรค์ สงั กัด สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษานครสวรรค์ โทรศพั ท์ 056-241342 โทรสาร 056-241343 website http://www.tw.ac.th/tw/ email: [email protected] เปดิ สอนระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ถงึ ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 เนือ้ ที่ 50 ไร่ 1 งาน 73 ตารางวา ทิศเหนือ : ติดอำเภอท่าตะโก ทิศใต้ : ตดิ อำเภอตาคลี ทศิ ตะวนั ออก : ติดอำเภอไพศาลี ทิศตะวนั ตก : ติดอำเภอตาคลี เขตพ้ืนท่ีบรกิ าร อำเภอตากฟ้า อำเภอไพศาลี อำเภอตาคลีและอำเภอท่าตะโก

3 แผนท่โี รงเรยี น ประวตั ิโรงเรียนตากฟา้ วิชาประสทิ ธิ์ โรงเรียนตากฟ้าวิชาประสิทธ์ิ ที่ต้ัง 9 หมู่ 1 ตำบลตากฟ้า อำเภอตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนตากฟ้าวิชาประสิทธ์ิได้รับอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการ ก่อต้ังข้ึนเม่ือ วนั ท่ี 20 พฤษภาคม พ.ศ.2517 โดยเปดิ ทำการสอนครั้งแรกโดยอาศัยอาคารเรียนชว่ั คราวหลงั คามุงแฝกใน วดั ตากฟ้า เป็นท่ีเรียนมคี รู 4 คน นกั เรียน 67 คน ต่อมานิคมสรา้ งตนเองตากฟ้า ได้มอบท่ีดินให้เพือ่ ก่อสร้าง อาคารเรยี น โดยมีนายสำอาง สรุ ิยะ เป็นครูใหญ่คนแรกเปิดสอนต้ังแต่ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 6 เน้ือที่ 50 ไร่ 1 งาน 73 ตารางวา เขตพื้นท่ีบริการ 14 ตำบล ได้แก่ ตากฟ้า สุขสำราญ พุนกยูง โพธิป์ ระสาท หนองหลวง เขาชายธง หนองพิกุล ลำพยนต์ อุดมธญั ญา สำโรงชัย ห้วยหอม ตาคลี บ่อ ทอง ลาดทพิ รส

4 สญั ลกั ษณ์ของโรงเรียน รูปพริ ุณ-เมฆา พริ ณุ รูปหยดนำ้ หมายถึง ความบริสุทธิ์ความชื่นเย็นเหมือนสายฝน เมฆาก้อนเมฆ หมายถึง การรวมตัวแสดงถึงพลังสามคั คี สปี ระจำโรงเรยี น “ มว่ ง – เหลือง ” สีมว่ ง หมายถึง ความสามัคคีร่วมแรงร่วมใจ สเี หลือง หมายถึง ความฝักใฝ่ในคณุ ธรรมความดี อักษรย่อของโรงเรียน “ ต.ว.” คำขวญั “สามัคคี มวี ินัย ใฝ่ความรู้” ปรชั ญา “สวุ ิชาโนภวโหติ “ผรู้ ูด้ ีเป็นผู้เจริญ”

5 วิสยั ทศั น์ (VISION) มุง่ มนั่ จัดการศกึ ษา ให้ผเู้ รยี นเป็นคนดี มคี ุณธรรมนำความรู้สู่มาตรฐานบนพ้นื ฐานปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและมีทักษะในศตวรรษที่ 21 พันธกจิ (MISSION) 1. ปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมทพ่ี งึ ประสงค์ใหก้ บั ผเู้ รียน 2. พฒั นาคุณภาพผู้เรยี นตามมาตรฐานการศกึ ษา 3. พฒั นาบุคลากรให้มคี ณุ ภาพและได้มาตรฐานตามวิชาชพี 4. ส่งเสรมิ และพฒั นาการใชเ้ ทคโนโลยใี หท้ ันสมยั 5. สง่ เสริมผเู้ รยี นและบุคลากรใหด้ ำรงชวี ิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เป้าประสงค์(Goals) 1. สร้างโรงเรียนชนั้ ดีบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพเป็นผู้นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการ บริหารและจัดการเรยี นการสอน 2. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นมืออาชีพมีขวญั กำลังใจผา่ นการประเมนิ ในระดับชาติ 3. พัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาเทียบเคียงมาตรฐานสากล 4. พัฒนาผู้เรยี นใหม้ ศี ักยภาพเปน็ พลโลก (World Citizen) มลี ักษณะเปน็ เลิศทางวิชาการด้านส่ือสาร สองภาษาดา้ นล้ำหน้าทางความคดิ ด้านผลติ งานอย่างสรา้ งสรรค์และรว่ มกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก 5. พฒั นาโรงเรียนให้มภี าคเี ครือข่ายการจดั การเรยี นรู้และร่วมพฒั นากบั สถานศกึ ษาองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชนระดับท้องถิ่นระดับภูมภิ าคระดบั ประเทศและระหวา่ งประเทศ 6. ครูสรา้ งหรือพฒั นา สอ่ื วจิ ยั ในชัน้ เรียน และนวตั กรรม โดยใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งหลากหลาย 7. สถานศกึ ษามวี ฒั นธรรมองค์กรที่สรา้ งขวัญกำลงั ใจ ส่งเสริมให้ครูพฒั นาตนเองและปฏิบัติงาน ไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ 8. สถานศึกษาสง่ เสรมิ ให้ครจู ัดการเรยี นรโู้ ดยใช้แหล่งการเรยี นรู้ ดา้ นศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี ด้านเทคโนโลยี และด้านส่งิ แวดล้อม อย่างหลากหลายทั้งภายในและภายนอกสถานศกึ ษา โดยชุมชนมสี ่วนร่วม 9. สถานศกึ ษามีการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 10. สถานศกึ ษามีระบบบริหารจดั การตามระบบคุณภาพท่ีเน้นการมีส่วนร่วม กลยทุ ธ์การพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษา กลยทุ ธ์ท่ี 1 พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม สำนกึ ในความเป็นไทย และวิถชี ีวติ ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจ พอเพยี ง กลยุทธ์ที่ 3 ขยายโอกาสทางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน กลยทุ ธ์ที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา กลยุทธท์ ี่ 5 พฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศกึ ษา

6 โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรียนตากฟา้ วิชาประสิทธ์ิ

7 จำนวนครู บคุ ลากรทางการศกึ ษาและนกั เรียน จำนวน จำนวนครู บคุ ลากรทางการศึกษา 1 ประเภท/ตำแหน่ง - 1 1. ผูบ้ ริหารสถานศึกษา - ผอู้ ำนวยการ 42 - รองผู้อำนวยการ 3 รวม 4 1 2. สายงานการสอน 1 - ขา้ ราชการครู 2 - พนักงานราชการ 53 - ครอู ัตราจา้ ง - ครพู เ่ี ลี้ยงเดก็ พิการ 1 - ครตู ่างชาติ 2 - ครโู ครงการ Teach for Thailand 4 รวม 7 61 3. สายงานสนับสนนุ การสอน - ครธู รุ การ - ลกู จ้างประจำ - ลกู จา้ งช่ัวคราว รวม รวมท้ังสนิ้ จำนวนนกั เรียน เพศ รวม ชาย หญิง ระดับชัน้ 282 293 575 101 197 298 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-3 มธั ยมศึกษาปที ่ี 4-6 383 490 873 รวม ขอ้ มูล ณ วันท่ี 25 มิถนุ ายน 2564

8 ตอนท่ี 2 ผลการดำเนินงานด้านการนิเทศภายในของสถานศึกษา 2.1 ช่ือรปู แบบ การนิเทศบูรณาการโดยใช้พนื้ ที่เป็นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาสู่การนิเทศภายในโรงเรยี น โดยใช้ห้องเรียนเปน็ ฐานเพ่ือพัฒนาคุณภาพของผู้เรยี น 2.2 สภาพปจั จบุ นั /ปญั หา รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 ในหมวด 16 การปฏริ ูปประเทศมาตรา 258 จ. (3) ให้มีกลไกและระบบการผลิตคัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์ให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณ ของความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริงได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถและ ประสิทธิภาพในการสอน รวมท้ังมีกลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพครู (4) ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัดและปรับปรุง โครงสร้างของหน่วยงานที่เกยี่ วข้องเพ่อื บรรลเุ ป้าหมายดังกล่าว โดยให้สอดคล้องกันทั้งในระดับชาติและระดับ พื้นท่ี นอกจากนี้ ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ตามเจตนารมย์ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยเพื่อให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศ พัฒนา ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยยุทธศาสตร์ที่ 4.3 ด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสําคัญเพ่ือพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัย ให้เป็นคนดี เกง่ และมีคณุ ภาพ มีทักษะท่ีจําเป็นในศตวรรษท่ี 21 (4.2) การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มงุ่ เน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกช่วงวัย ต้ังแต่ช่วงการต้ังครรภ์ ปฐมวัย วัยเด็ก วัยรุ่น วัยเรียน วัยผู้ใหญ่ วัยแรงงานและวัยผู้สูงอายุ เพ่ือสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่มีศักยภาพมีทักษะ ความรู้ เป็นคนดี มีวินัย เรียนรู้ได้ ด้วยตนเองในทุกช่วงวัย (4.3) ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 โดยมุ่งเน้นผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้และมีใจใฝ่เรียนรู้ตลอดเวลา มีการออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่ การเปลี่ยนบทบาทครู การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาและการพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอด ชีวิต สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2560–2579 ในยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนา ศกั ยภาพคน ทุกชว่ งวยั และการสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้ มีเปา้ หมายใหผ้ ู้เรียนมีทักษะและคุณลกั ษณะพืน้ ฐาน ของพลเมืองไทยทักษะและคุณลักษณะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะ ตามมาตรฐานการศึกษา มาตรฐานวิชาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพสถานศึกษาทุกระดับ การศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรอย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน รวมทั้งแหล่ง เรียนรู้ ส่ือ ตำราเรียน และนวัตกรรม ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานท่ีมีระบบและ กลไกการวัดการติดตามและประเมินผลมีประสิทธิภาพมีระบบการผลิตครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ได้มาตรฐานระดบั สากล ครู อาจารย์ตลอดจนบคุ ลากรทางการศึกษาได้รบั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน การพัฒนาคุณภาพศึกษาให้เกิดคุณภาพนั้น ส่ิงหนึ่งที่เป็นคุณภาพของผู้เรียน ที่เช่ือม่ันว่าคุณภาพ ผู้เรียนจะเกิดได้และบรรลุหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 นั้น จะต้องมีกระบวนการสู่ความสำเร็จ มีองค์ประกอบและปัจจัยคือ คุณภาพของผู้เรียน ที่โรงเรียนต้องประกัน คุณภาพต่อผู้ปกครอง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโรงเรียนต้องประกันคุณภาพต่อผู้ปกครองและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียว่า ผู้เรียนจะต้องมีคุณภาพและมาตรฐานตามหลักสูตร มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษท่ี 21 ดังน้ันการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนจะต้องมีกระบวนการสู่ความสำเร็จในการพัฒนา 3 กระบวนการ คือ กระบวนการ

9 บริหาร กระบวนการเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศการศึกษา ซ่ึงกระบวนการนิเทศการศึกษา เป็น ภารกิจจำเป็นต่อการจัดการศึกษาท่ีต้องอาศัยความร่วมมือจากบุคคลหลายฝ่าย โดยเฉพาะอย่างย่ิงทางด้าน การพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอน บุคลากรทเ่ี กย่ี วขอ้ งในหน่วยงานจดั การศกึ ษา จำเป็นตอ้ งพฒั นาและปรบั ปรุง ตนเองให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการนิเทศการศึกษา เป็นกระบวนการท่ีมีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยเหลือ ช้ีแนะและพัฒนางานให้ประสบผลสำเร็จ ทันต่อสภาพ การเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึน อีกทั้งเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ช่วยเหลือสนับสนุนให้กระบวนการบริหาร และกระบวนการ เรยี นการสอนมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของประเทศ ทั้งยังเป็นส่วนสำคัญในการส่งเสริมระบบประกัน คุณภาพการศึกษา ที่ต้องพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 เพื่อเข้าสู่การปฏิรูป การศึกษาและการจัดการศึกษาในยุคประเทศไทย 4.0 ตลอดท้ังมาตรฐานการศึกษาของชาติ ที่มุ่งเน้นให้ ผู้เรียนมีคุณภาพ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีทักษะวิชาการ ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต ทักษะการเป็นผู้นำ และทักษะการนำไปสู่การสร้างนวัตกร กระบวนการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาข้ันพื้นฐาน การนิเทศการศึกษาจึงมีความสำคัญต่อการพัฒนา ปรับปรุง และเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดการการศึกษา ในสถานศึกษา เพื่อให้ผู้บริหารและครูผู้สอนมีความรู้ ความเข้าใจในด้านการบริหารจัดการ ด้านหลักสูตร การจัด กิจกรรมการเรียนการสอนทม่ี ีประสิทธภิ าพ รวมท้ังการปฏบิ ตั ิงานอื่นๆ ที่ส่งผลตอ่ การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา จากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของผู้เรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมมคี ะแนนไม่ถึงร้อยละ 50 ในทุกกลุ่มสาระและทุก ชัน้ สภาพปัจจุบันของการจัดการศึกษาของแต่ละสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และรายงานผลการนิเทศ ของหน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า กระบวนการนิเทศภายใน โรงเรียนมีความแตกต่างกัน มีทั้งปัจจัยท่ีเอ้ือและปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการนิเทศ การนิเทศยังขาด ความต่อเน่ืองและความเป็นเอกภาพที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นท่ี เพ่ือให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในยุค ประเทศไทย 4.0 และการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย มีทักษะและ คุณลักษณะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 นอกจากน้ัน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษายังมีความต้องการให้มี การพฒั นาระบบนิเทศภายในสถานศกึ ษาให้เข้มแข็งและต่อเนื่อง หน่วยศกึ ษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน จึงไดจ้ ัดทำแนวทางการนิเทศบูรณาการโดยใชพ้ ื้นทฐ่ี านและการนิเทศภายในโรงเรียนโดย ใช้ห้องเรียนเป็นฐานเพ่ือพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ตามนโยบาย “2562 ปีทองแห่งการนิเทศภายใน ห้องเรียนเป็นฐานเพ่ือคุณภาพของผู้เรียน” ขึ้น เพื่อสร้างความเข้มแข็งการนิเทศภายในโรงเรียนให้มี ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผล บรรลเุ ปา้ หมายการจัดการศกึ ษาประเทศไทย 4.0 ต่อไป 2.3 รปู แบบ หรือกระบวนการนเิ ทศภายในของสถานศกึ ษา รปู แบบการนิเทศชั้นเรยี น การนเิ ทศชั้นเรยี น หมายถึง การที่ผ้นู ิเทศพบและสงั เกตการณท์ ำงานของครใู นชั้นเรียน เพอื่ ร่วมกัน พฒั นาการทำงานให้มีคุณภาพ ขน้ั ตอนการนเิ ทศ สรา้ งขอ้ ตกลงในการนเิ ทศช้นั เรยี น ปรบั ปรงุ พฒั นาการทำงาน นเิ ทศชั้นเรยี น วิเคราะห์ผลการเยยี่ มนิเทศช้ันเรียน

10 ข้นั ที่ 1 สร้างข้อตกลงในการนิเทศชน้ั เรยี น 1.1พบปะสนทนาสร้างความคนุ้ เคยและสร้างเจตคติท่ดี ีในการนิเทศแกค่ รู 1.2วางแผนการนเิ ทศชนั้ เรยี นรว่ มกบั ครูในเรอื่ งต่าง ๆ ดังน้ี 1.2.1 กำหนดการเย่ยี มนเิ ทศช้ันเรยี น 1.2.2 กำหนดจุดมงุ่ หมายในการเยีย่ มนิเทศช้นั เรียน 1.2.3 กำหนดเรื่องจพนิเทศตามความต้องการ จำเป็น ดงั นี้ 1) การจัดทำเอกสารชั้นเรยี น 2) การจดั ห้องเรยี นและบรรยากาศในชนั้ เรยี น 3)การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนท้งั ภายใน และภายนอกหอ้ งเรยี น 1.2.4 กำหนดวธิ กี ารนิเทศ ดังน้ี 1) สำรวจปญั หา และความต้องการของครู 2) สอบถามการปฏิบัติงานของครู 3) ใหค้ ำปรกึ ษาแนะนำ 4) สงั เกตการณส์ อน ขั้นท่ี 2 นิเทศชน้ั เรยี น ผนู้ ิเทศเข้าเยีย่ มชน้ั เรยี นตามข้อตกลงที่กำหนดร่วมกบั ครู ดงั นี้ 2.1 เขา้ เยย่ี มนิเทศช้ันเรยี นตรงตามเวลาทีก่ ำหนด 2.2 ให้ความเป็นกนั เองเพื่อสรา้ งเจคติทดี่ ีแกค่ รู 2.3 เยยี่ มนเิ ทศตามเรื่องที่กำหนด 2.4 เย่ยี มนเิ ทศชนั้ เรยี นตามเวลาท่ีกำหนด ขัน้ ที่ 3 วเิ คราะห์ผลการเยย่ี มนิเทศชั้นเรยี น 3.1 วเิ คราะหผ์ ลการเยี่ยมชน้ั เรยี นร่วมกับครู 3.2 สรุปผลการเย่ยี มนเิ ทศชนั้ เรียน 3.3 ใหค้ ำปรกึ ษาแนะนำแกค่ รู ขั้นที่ 4 ปรบั ปรุงพฒั นาการทำงาน ครูนำผลการเยีย่ มนเิ ทศช้ันเรยี นมาปรับปรงุ พัฒนาแก้ไขการทำงาน ผนู้ เิ ทศนำผลการเยย่ี มนเิ ทศชนั้ เรียนมาปรบั ปรงุ พัฒนาแกไ้ ขในการนิเทส/บันทึกผลการนเิ ทศ

11 2.4 วิธีการดำเนินการ โรงเรียนตากฟ้าวิชาประสิทธ์ิได้ดำเนินการขับเคล่ือนการนิเทศบูรณาการโดยใช้พ้ืนที่เป็นฐาน เพ่ือ พัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่การนิเทศภายในโรงเรียนโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน เพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการท่ีสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้ให้แนวทางไว้ 5 ข้ันตอน คือ 1) การศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการ 2) การวางแผนการนิเทศ 3) การสร้างส่ือและเครื่องมือ นิเทศ 4) การปฏิบัติการนิเทศ 5) การประเมนิ ผลและรายงานผล โดยกำหนดการขบั เคลอ่ื นภายใต้นโยบาย การนิเทศบรู ณาการโดยใช้พ้นื ท่เี ป็นฐานเพ่ือการพฒั นาคุณภาพการศึกษา “2562 ปีทองแห่งการนิเทศภายใน ห้องเรยี นเป็นฐาน เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพของผ้เู รียน” ตามแผนภาพ ดังนี้ ๑. การศึกษาสภาพปจั จบุ นั ปัญหาและความตอ้ งการ ๒. การวางแผนการ นเิ ทศ ๓. การสรา้ งส่ือและเครื่องมือ นเิ ทศ ๔. การปฏิบตั ิการ นเิ ทศ ๕. การประเมินผลและรายงาน ผล จากแผนภาพ การนเิ ทศบูรณาการโดยใช้พ้ืนที่เปน็ ฐานเพ่ือการพฒั นาคุณภาพการศึกษาและการนิเทศ ภายในโรงเรยี นโดยใช้หอ้ งเรียนเป็นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีแนวทางในการ ดำเนินงาน ดงั นี้ ขน้ั ท่ี 1 การศึกษาสภาพปจั จบุ นั ปัญหาและความต้องการ 1.1 วเิ คราะห์บริบท วเิ คราะหข์ อ้ มูลจากตัวบ่ฃช้คี ุณภาพต่าง ๆ - วเิ คราะห์ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นร้ทู ุกชนั้ เรียน - วิเคราะห์การอ่านออก เขยี นได้ การคิดคำนวณพ้ืนฐานของนักเรยี นทุกช้นั เรยี น - วิเคราะหก์ ารผ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้ - วิเคราะหส์ ุขภาพนกั เรยี น - วเิ คราะหค์ ณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงคข์ องนักเรียนผา่ นเกณฑ์ข้ันตำ่ 1.2 สำรวจความตอ้ งการ 1.3 ลำดบั ความสำคัญของปัญหา ความตอ้ งการ 1.4 วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา จัดลำดบั ความสำคญั ของปัญหา กำหนดทางเลือกในรูปแบบการ แกป้ ญั หา ดำเนินงานตามความตอ้ งการ - วิเคราะห์สาเหตขุ องปญั หา - จัดลำดบั ความสำคญั ของสาเหตุ กำหนดทางเลือกในการแก้ปญั หา - การดำเนนิ การตามความต้องการ

12 ขัน้ ท่ี 2 การวางแผน 2.1กำหนดกิจกรรมและรายละเอยี ดของกิจกรรม 2.2 การจดั ทำโครงการนิเทศภายในสถานศกึ ษา ขัน้ ที่ 3 การสร้างส่อื และเคร่ืองมือนิเทศ สว่ นท่ี 1 การปฏบิ ัตติ ามกิจกรรมการพัฒนาครู - การพฒั นาครูด้สนความรู้ด้านตา่ ง ๆ - การพฒั นากิจกรรมการเรียนรู้การใช้สือ่ เทคโนโลยชี ว่ ยสอนโดยเนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ - การกำกับแนะนำการปฏบิ ัติงานตามภารกิจ สว่ นที่ 2 การประเมนิ ผลการปฏิบัตติ ามโครงการ - ด้านปรมิ าณ ดา้ นคณุ ภาพ ขัน้ ที่ 4 การปฏบิ ตั ิการ 1. ประเมินการดำเนนิ งานทกุ ขัน้ ตอน/ ปรับปรุง พัฒนา 2. ประเมินกระบวนการ/ ปรบั ปรุง พัฒนา 3. ประเมินความพึงพอใจของครู ข้ันที่ 5 การประเมนิ ผลและรายงาน

13 แบบประเมินผลการเย่ียมนิเทศชัน้ เรยี น โรงเรยี นตากฟา้ วชิ าประสิทธ์ิ สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 42

14 การสังเกตการสอน การสังเกตการสอน หมายถึง การจดั ใหบ้ คุ คลหนึง่ ทมี่ ีความรคู้ วามเขา้ ใจในเรื่องการเรียนการสอน สังเกตพฤตกิ รรมการสอนของครูในขณะทำการสอน วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อให้ครูสามารถพฒั นาหรือปรบั ปรงุ การสอนใหม้ ปี ระสิทธภิ าพโดยใช้ข้อมลู ย้อนกลับ จากการสังเกตการณ์สอนของผนู้ เิ ทศ ขั้นตอนการสังเกตการสอน กระบวนการสงั เกตการสอนในชน้ั เรยี น มขี ้นั ตอนทตี่ ่อเน่ืองเกย่ี วโยงกนั แบบวิทยาศาสตร์ โดยสรปุ ได้ 5 ขนั้ ตอน ดงั น้ี

15 แบบสังเกตการสอนในชน้ั เรยี น โรงเรียนตากฟา้ วิชาประสิทธ์ิ สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 42

16 รูปแบบการวจิ ยั เชิงปฏิบัตกิ าร (Action Research) การวิจัยเชงิ ปฏิบัติการ คือ การวิจัยเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารรว่ มกนั ระหวา่ งผูบ้ รหิ ารโรงเรียนคณะครูในการ แกไ้ ขปรับปรงุ การเรยี นการสอน หรอื ปัญหาต่างๆ ในห้องเรยี น โดยวิธีการศึกษาค้นคว้าอย่างเปน็ ระบบ ดว้ ยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือศึกษาค้นคว้าสาเหตุของปัญหา วิธกี ารแก้ไขปัญหา และพัฒนาการเรยี นการสอน ให้มปี ระสิทธภิ าพเป็นไปตามมาตรฐานการเรยี นรู้

17 แบบประเมินผลการวจิ ัยเชิงปฏบิ ตั ิการ โรงเรยี นตากฟา้ วชิ าประสิทธิ์ สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 42

18 2.5 การกำกับ ตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผล การนิเทศภายในโรงเรียน ซ่ึงเป็นกิจกรรมสำคัญในการสนับสนุนการเรียนการสอนภายในโรงเรียน ให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ของผู้บริหารสถานศึกษาซึ่งเป็นหน้าที่ที่สำคัญอย่างหน่ึงของผู้บริหาร สถานศึกษาต้องดำเนินการให้เกิดขึ้น ภายในโรงเรียนและครูได้ปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนภายในช้ันเรียน และโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน รวมทั้งเป็นกระบวนการประกันคุณภาพของโรงเรียนว่า โรงเรียน สามารถบริการจัดการภายในโรงเรียนจนถึงเป้าหมายสุดท้ายคือ คุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานหลักสูตรและ เป้าหมายที่ตั้งไว้ หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงได้กำหนดกระบวนการ การนิเทศบูรณาการโดยใช้พ้ืนที่เป็นฐาน ในการนิเทศการศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน โดยไดศ้ กึ ษาหลักการ แนวคดิ ทฤษฏี ของการนิเทศเป็น 5 ขั้นตอน ดงั น้ี ขั้นท่ี 1 การศกึ ษาสภาพปจั จุบันปญั หาและความตอ้ งการ เป็นการกำหนดปัญหาและความต้องการในแกป้ ญั หาหรือพัฒนา ดังนี้ 1.1 การจดั ทำข้อมูลสารสนเทศพน้ื ฐาน เพอ่ื เปน็ ข้อมลู ในการพิจารณาวางแผนการ ดำเนินงาน 1.2 การแลกเปลยี่ นระดมความคดิ วเิ คระห์เพื่อหาสภาพปัญหาท่ีเกดิ ขน้ึ และความต้องการ ในการพฒั นาตามบรบิ ทของหน่วยงาน 1.3 การจดั ลำดบั ปัญหาและเลอื กปัญหาท่ีเป็นความจำเป็นหรือต้องการในลำดับเร่งด่วนหรือ ลำดบั ทีเ่ ห็นว่าสำคัญท่ีสุด 1.4 การสร้างการรบั รู้ระหว่างผู้นิเทศและผู้รับการนเิ ทศ ด้วยวิธกี ารต่างๆ เช่น การประชมุ การสัมมนา ฯลฯ เพื่อสร้างวิสัยทศั นห์ รือสรา้ งเป้าหมายร่วมกนั ในการดำเนนิ งาน ขน้ั ที่ 2 การวางแผนการนิเทศ เป็นการนำปัญหาและความต้องการ กำหนดรายละเอียดของกิจกรรมในการจดั ทำแผนนเิ ทศ ดงั นี้ 2.1 กำหนดแนวทาง/วธิ ีการการพฒั นาที่หลากหลายตามปญั หาทีเ่ กิดข้นึ ตามความต้องการ และจำเป็น มกี ารใชก้ ระบวนการชุมชนการเรียนรูว้ ชิ าทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) และการศึกษาชน้ั เรยี น (Lesson Study) เปน็ เครอ่ื งมือสำคญั ในการพัฒนาวิชาชีพครูและการพัฒนา ผูเ้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนือ่ ง 2.2 เลือกแนวทาง/วิธกี ารในการพฒั นาโดยการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ฝา่ ยท่เี กี่ยวข้อง 2.3 วางแผนการดำเนนิ งานพัฒนา 1) การประชุมเตรียมการนเิ ทศ เพื่อสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจร่วมกัน 2) สรา้ งคณะนิเทศ เป็นทีมงานในการนเิ ทศร่วมกัน 3) กำหนดประเด็นการนิเทศ เปน็ การกำหนดเน้ือหาทีจ่ ะนเิ ทศ 4) กำหนดระยะเวลาในการนิเทศ โดยกำหนดระยะเวลาในการนเิ ทศท่ีเหมาะสมกับ การแกป้ ัญหาและการพฒั นา 5) กำหนดวิธีการนิเทศและกิจกรรมการนิเทศที่เหมาะสมตามสภาพปญั หาและ ความตอ้ งการ เชน่ การประชุมสมั มนา การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสงั เกตชน้ั เรยี น การสาธิต การบนั ทึกวดิ ีโอ และการถา่ ยภาพ การสมั ภาษณ์ การ Coaching & Mentoring ฯลฯ โดยเนน้ การใช้ ICT ในรปู แบบต่างๆ เช่น การใช้ Line Application การใช้ Clip Video การ Conference การใช้ Video Line You Tube Facebook Live เป็นต้น

19 2.4 จัดทำแผนนเิ ทศ ประกอบดว้ ย หลักการและเหตผุ ล วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย แผนการ ดำเนนิ การ กจิ กรรมสำคญั ปฏิทนิ การปฏบิ ัตงิ าน ทรัพยากรท่ีต้องการ เครื่องมือนเิ ทศ ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ บั ขน้ั ที่ 3 การสร้างสอ่ื และเคร่อื งมือนิเทศ สอ่ื และเครื่องมอื นิเทศเป็นสิ่งท่ีจะช่วยใหก้ ารนิเทศมปี ระสิทธภิ าพ บรรลุวตั ถุประสงค์ และ เป็นสิง่ ทจ่ี ะช่วยเก็บรายละเอียดทีผ่ ู้รับการนิเทศไม่สามารถแสดงออกมาได้ และสามารถเกบ็ ข้อมลู นำมา เปรยี บเทยี บผลท่ีเกิดขน้ึ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา และสง่ิ ทที่ ำให้มีความเขา้ ใจตรงกันระหว่างผู้นิเทศและ ผู้รบั การนเิ ทศ 3.1 สรา้ งส่ือการนิเทศท่ีทำให้การนเิ ทศบรรลวุ ตั ถุประสงค์ เชน่ วิธีการนิเทศ ทกั ษะการ นเิ ทศ เทคนิคการนิเทศ โดยเปน็ สอ่ื ที่สอดคลอ้ งคล้องในยคุ ศตวรรษท่ี 21 เนน้ การใช้ ICT ในรูปแบบต่างๆ เชน่ การใช้ Line Application การใช้ Clip Video การ Conference การใช้ Video Line You Tube Facebook Live เปน็ ตน้ 3.2 สร้างเครอื่ งมือการนเิ ทศเพือ่ เก็บข้อมลู เปน็ แนวทางในการแก้ปญั หาและพฒั นา ตรวจสอบ ตดิ ตามความกา้ วหนา้ ของการดำเนนิ งาน และการประเมนิ ผลการดำเนินงาน ซึ่งเปน็ เคร่ืองมือท่มี ี คุณภาพ ใชง้ า่ ย สามารถเก็บข้อมูลทตี่ อบประเด็นปัญหาความต้องการ และเป็นประโยชน์ในการแก้ปัญหา ปรบั ปรุงและพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ขนั้ ที่ 4 การปฏิบตั กิ ารนเิ ทศ ดำเนินการนิเทศตามวธิ ีการการนิเทศและกิจกรรมการนิเทศท่ีกำหนด 4.1 ประชมุ เตรยี มการก่อนการนเิ ทศ เพื่อสรา้ งความเข้าใจของผู้นิเทศ ใหก้ ารนิเทศเปน็ ไป อย่างมปี ระสิทธิภาพ 4.2 นิเทศตามข้นั ตอน ระยะเวลา และใชเ้ ครื่องมือตามท่ีกำหนด 4.3 การสะท้อนผลการนิเทศ 4.4 ปรับปรุงและพฒั นาการดำเนนิ งาน ข้นั ท่ี 5 การประเมนิ ผลและรายงานผล 5.1 ประเมนิ ความก้าวหน้าของการดำเนินงาน เชน่ การดำเนินงานของผู้รับการนิเทศ เพื่อ นำผลไปปรบั ปรงุ แนวทางการดำเนินงาน 5.2 ประเมนิ ผลการนเิ ทศเม่อื เสรจ็ ส้นิ การปฏบิ ัตกิ ารนิเทศตามระยะเวลาท่ตี ้องการในการนำ ผลไปใชใ้ นการพฒั นา หรือในแตล่ ะปกี ารศึกษา 5.3 รายงานผลการนิเทศต่อผูเ้ ก่ียวข้อง 5.4 นำผลการนิเทศทีเ่ ป็นปัญหา อุปสรรคและขอ้ เสนอแนะไปพัฒนาการนิเทศในครั้งต่อไป หรอื ในปีการศกึ ษาต่อไป 2.6 ผลสำเร็จท่ไี ด้ และการนำผลไปใช้ 1. มีการสร้างความร้คู วามเขา้ ใจกับบุคลากรในโรงเรยี น 2. มีขอ้ มูลสารสนเทศของผเู้ รียนรอบดา้ น 3. มีระบบนิเทศภายในตามบรบิ ทของโรงเรยี น 4. มีแผนและคมู่ ือการนิเทศตามบริบทของโรงเรยี น 5. มีการนิเทศครูทุกชัน้ เรยี น 6. มกี ารสรปุ และรายงานผลการนเิ ทศ

20 7. ผลการทดสอบคุณภาพผเู้ รียนระดับประเทศ O-NET สงู ขึ้น ผู้เรยี นมสี มรรถนะและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์เปน็ ไปตามจดุ เนน้ ของหลักสตู ร 8. มผี ลงานการปฏิบตั ทิ ด่ี ขี องครแู ละนักเรยี น ปัจจัยทส่ี ่งผลต่อความสำเร็จ 1. บคุ ลากรทกุ ระดบั มคี วามเป็นผนู้ ำทางวิชาการ 2. การทำงานเปน็ ทมี 3. การบรู ณาการในทุกดา้ นที่เก่ยี วขอ้ ง 4. การกระจายอำนาจ 5. การมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของทกุ ภาคสว่ น 6. การติดตามและประเมนิ ผลการปฏิบัติงานของบคุ ลากร 7. ความต่อเน่อื งของการดำเนนิ งานแตล่ ะระดบั 8. การมุง่ ผลสัมฤทธิ์

21 ตอนที่ 3 ขอ้ มลู อืน่ ๆ กิจกรรมการนิเทศ นโยบาย “2562 ปีทองแห่งการนิเทศภายใน ห้องเรียนเป็นฐานเพ่ือการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน” ได้กำหนดให้โรงเรียนใช้วิธีการนิเทศโดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารท่ี หลากหลาย เพอื่ ส่งเสรมิ สนับสนุน และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามบริบทของสถานศึกษา เพื่อตอบสนองนโยบาย การเป็นยุคประเทศไทย 4.0 และมาตรฐานการศึกษาชาติ คือผู้เรียนเป็นผู้สร้างนวัตกรรม ครูผู้สอนใช้ นวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอน ผู้บริหารใช้นวัตกรรมในการบริหารงาน กิจกรรมการนิเทศการศึกษา เป็นเครื่องมือสำคัญเพ่ือส่งเสริมและพัฒนาการปฏิบัติงาน ซ่ึงจะช่วยให้การดำเนินการนิเทศบรรลุเป้าหมาย ผู้นิเทศสามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับจุดมุ่งหมายของการนิเทศ สามารถแก้ปัญหาและความต้องการแต่ละ ครั้ง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ดังนั้นผู้นิเทศจึงต้องมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับกิจกรรมการนิเทศ โดยขอ นำเสนอกิจกรรมการนิเทศทีส่ ำคญั ดังนี้ 1. การประชุม ประชมุ ปรึกษาหารอื เตรยี มการดา้ นต่างๆ ก่อนเปดิ ภาคเรยี น 2. การปฐมนิเทศแนะนำบคุ ลากรใหม่ให้คนุ้ เคยสามารถปรับตวั เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ ม ระเบยี บขอ้ ปฏิบตั ติ า่ งๆ ทีเ่ ก่ยี วข้อง 3. การให้คำปรึกษาแนะนำ เพ่อื พบปะพดู กันมากกวา่ การใชอ้ ำนาจหรือการออกคำส่ัง 4. การประชมุ ปฏบิ ัติการม่งุ เน้นให้เกดิ ความรู้ใหมๆ่ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และเจตคติ (Attitude) ลงมอื ปฏบิ ัติมากกว่าการบรรยาย 5. การอบรม งานนิเทศมุ่งอบรมประจำการให้ผูร้ ับการนิเทศเสริมความร้ใู หม่ ทันตอ่ ความ เปลี่ยนแปลง 6. การสัมมนาเปน็ การแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ ทง้ั ทจ่ี ัดเองภายในหน่วยงานหรือไปรว่ มซ่งึ จดั โดย หนว่ ยงานอ่นื 7. การระดมความคดิ การรับฟังความคดิ เห็นของคนอ่ืน 8. การสาธิตการสอนเป็นกิจกรรมสำคญั ทค่ี วรจัดใหม้ ใี นโรงเรยี น การเรยี นร้หู รอื เลยี นแบบจาก ผู้เชยี่ วชาญ เพอื่ ประหยดั เวลาและได้รบั ประสบการณต์ รง 9. การศึกษาเอกสารวิชาการ เป็นการเพิ่มพูนความรู้ ดว้ ยการอ่าน เพราะการอา่ นจะนำไปสู่ความรู้ ความคดิ ใหมแ่ ละทันสมยั 10. การสนทนาวิชาการในวงวชิ าการนนั้ ควรมหี ลายรูปแบบ เช่น การเชญิ ผู้เชยี่ วชาญเฉพาะเรื่องมา บรรยาย อาจใช้เวลาพกั เทยี่ งวัน ซ่งึ ไม่กระทบต่อการทำงานทกุ คนมเี วลาวา่ งมากพอทจ่ี ะเข้ารว่ มกจิ กรรมได้ อาจจะเดือนละครงั้ ในหัวข้อที่สนใจรว่ มกนั 11. การสังเกตชน้ั เรียน เปน็ เทคนิคการนิเทศเพ่ือชว่ ยครปู รบั ปรุงการสอนให้ดีขึ้น มขี น้ั ตอนที่จะตอ้ ง ปฏิบตั ริ ว่ มกนั ของผใู้ ห้และผู้รับการนเิ ทศ บนพ้ืนวัตถุประสงค์ร่วมกนั 12. การศึกษาดูงาน มผี ลตรงในการปรบั ปรุงงาน ดูคนอืน่ ย้อนดตู ัวเอง ศกึ ษาข้อดี ข้อบกพร่อง ข้อจำกดั เม่ือตอ้ งนำมาปรบั ปรุง ความพร้อมดา้ นต่างๆ 13. การวิจยั เชงิ ปฎิบตั ิการการเรียนการสอน หนังสอื แบบเรยี นสื่อการสอนหรือแม้แตก่ ารนิเทศ สามารถทำการวิจยั เชงิ ปฏบิ ัติไดด้ ังน้ี วจิ ยั เพือ่ นำผลมาใช้ หรอื วิจยั เชิงพัฒนา (Research and development : R&D) 14. การเขยี นเอกสารหรือทดสอบทางวิชาการ อาชพี ครหู รือผ้นู เิ ทศนอกจากต้องอ่านมาก พดู มาก แลว้ ยังตอ้ งเขยี นมาก มิใชเ่ ขียนกระดาษแตผ่ ลงานทางวิชาการ เป็นการสรา้ งพรมแดนความรใู้ หม่ การเขยี น

22 เป็นเทคนิคซึง่ จะต้องเรียนรู้หลักวิธี การอ่านมากเป็นพนื้ ฐานของการเขียนไดเ้ ป็นอยา่ งดี คนท่ีมวี ิญญาณครูจะ ทำหนา้ ทีน่ ไ้ี ดด้ ี 15. การนเิ ทศสอนงาน (Coaching) การพัฒนาสถานศกึ ษาให้เปน็ องคก์ รแห่งการเรยี นรู้ (Learning Organization) บคุ ลากรในสถานศกึ ษาต้องมีการเรยี นรู้อยู่ตลอดเวลา และเรยี นรู้อย่างต่อเนอ่ื ง ซ่ึงการนิเทศ สอนงาน เปน็ เทคนิคหนงึ่ ทส่ี ำคัญท่ีจะชว่ ยสง่ เสริมการเรียนรใู้ หก้ บั ครู อันจะเป็นตัวจักรสำคัญที่จะนำไปสู่ ความสำเร็จ โดยมงุ่ เนน้ ให้ครูมคี วามสามารถ มีผลการปฏิบัตงิ านท่ดี ีขึน้ และสถานศึกษาทีม่ คี วามพร้อมท่จี ะรบั การเปลีย่ นแปลง 16. การนเิ ทศแบบระบบพีเ่ ล้ียงและการใหค้ ำปรึกษา (Mentoring) หมายถึง การนิเทศท่มี พี ีเ่ ลี้ยงที่ เปน็ ผทู้ ี่มีความรู้ ความสามารถเปน็ ท่ียอมรับ ที่สามารถให้คำปรกึ ษาและแนะนำช่วยเหลือ ครู ใหพ้ ฒั นา ศกั ยภาพสูงขนึ้ เพ่ือสามารถจดั กิจกรรมการเรียนร้ไู ด้อยา่ งมีคุณภาพ 17. การนเิ ทศด้วย ICT เป็นการนเิ ทศ โดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารท่ี หลากหลาย เพ่อื ส่งเสรมิ สนับสนนุ และพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาตามบริบทของสถานศึกษา 18. การนเิ ทศแบบ PLC เปน็ การรวมตัว รวมใจ รวมพลงั ร่วมมอื กนั ของครู ผูบ้ ริหาร และผู้ที่มสี ่วน เกย่ี วขอ้ งในโรงเรยี น นาํ สงิ่ ท่ีเรยี นร้ไู ปประยุกต์ใช้อยา่ งสร้างสรรค์รว่ มกนั การรวมตวั ในรูปแบบนี้เป็นเหมือน แรงผลกั ดนั โดยอาศยั ความต้องการและความสนใจของ สมาชกิ ใน PLC เพอ่ื การเรียนรู้และพฒั นาวิชาชีพ สู่มาตรฐานการเรยี นรขู้ องนักเรียนเปน็ หลกั เพื่อพัฒนาการเรียนร้ขู องผเู้ รียนเป็นสำคัญ รปู แบบกระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษาโรงเรยี นตากฟ้าวิชาประสิทธ์ิ สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 นวัตกรรม : TAKFA MODEL TAKFA MODEL

23 T = Team and Technology ทำงานเป็นทีมและใช้เทคโนโลยี เพ่มิ ประสิทธภิ าพการทำงาน A = Accountability มีความรบั ผดิ ชอบ K = Knowledge Management สรา้ งองค์ความรู้ F = Facilitation มกี ารอำนวยความสะดวก A = Acceptability น่าเช่ือถอื เปน็ ทย่ี อมรบั (มืออาชพี )

33