Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การนิเทศการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการสร้างระบบชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยงอย่างเป็นกัลยาณมิตร

การนิเทศการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการสร้างระบบชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยงอย่างเป็นกัลยาณมิตร

Description: สตรีนครสวรรค์

Search

Read the Text Version

การนเิ ทศการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการสร้างระบบการชี้แนะ และการเป็นพี่เลีย้ งอยา่ งเป็นกัลยาณมติ ร (Coaching and Mentoring) โรงเรียนสตรนี ครสวรรค์ ปีการศึกษา 2563 สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศึกษานครสวรรค์ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ กระบวนการนิเทศการเรียนการสอน เปน็ การปฏิบัติงานกบั ครูในการชว่ ยเหลือ อำนวยความสะดวก ช้ีแนะแนวทาง บริการ รว่ มมือ วเิ คราะห์ปญั หาและหาแนวทางปรับปรงุ แก้ไขปญั หาการเรยี นการสอน พัฒนา กระบวนการจัดการเรยี นรู้ให้มีประสทิ ธิผลและประสิทธิภาพสูงข้นึ เป็นการสร้างขวัญและกำลังใจของครผู ู้สอน ให้เกิดความศรทั ธาในวิชาชีพครู ซง่ึ จะตอ้ งอาศยั การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การมสี ว่ นรว่ มและรว่ มมือซึ่งกนั และกัน แบบกลั ยาณมติ รระหวา่ งผ้นู เิ ทศและผรู้ ับการนเิ ทศ โรงเรยี นสตรีนครสวรรค์ ไดเ้ หน็ ความสำคัญของการพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา และคุณภาพผู้เรยี นซ่งึ สง่ ผลต่อผลสมั ฤทธิ์ของผู้เรียนอย่างย่ิง จึงไดจ้ ัดทำโครงการ ‘การนิเทศการเรยี นการสอน โดยใชก้ ระบวนการสร้างระบบการชแ้ี นะและการเปน็ พเี่ ล้ยี งอย่างเป็นกัลยาณมติ ร (Coaching and Mentoring)’ ตอ่ เน่อื งมาตลอดทุกปกี ารศกึ ษา และหวังเป็นอย่างยง่ิ วา่ การดำเนินการโครงการน้ีจะสามารถเป็นประโยชน์ตอ่ สถานศึกษาอื่นๆ ได้ โรงเรียนสตรนี ครสวรรค์

สารบญั 1 1 ตอนท่ี 1 ข้อมลู ท่วั ไปของสถานศึกษา 1 1.1 ขอ้ มูลทั่วไป 2 1.2 ข้อมูลบุคลากรของสถานศกึ ษา 2 1.3 ขอ้ มูลนกั เรียน 1.4 โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษา 4 4 ตอนที่ 2 ผลการดำเนนิ งานด้านการนเิ ทศภายในของสถานศกึ ษา 4 2.1. ช่อื รูปแบบการนิเทศ 4 2.2 สภาพปจั จบุ ัน/ปญั หา 5 2.3 เปา้ หมายการนิเทศการจัดการเรียนการสอน 6 2.4 รปู แบบกระบวนการนิเทศการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา 6 2.5 วธิ ีการดำเนนิ การ 7 2.6 การกำกบั ตดิ ตาม ประเมินและรายงาน 2.7 ผลสำเร็จที่ได้ และการนำผลไปใช้ 8 8 ตอนที่ 3 ข้อมลู อื่นๆ เพิ่มเตมิ 3.1 เครอ่ื งมอื นเิ ทศการศึกษา 10 3.2 การประชาสัมพันธแ์ จ้งข้อมลู การนิเทศการเรียนการสอน ผ่านเว็บไซตข์ องโรงเรียน 11 3.3 ภาพการนิเทศการจัดการเรียนการสอนและการสะท้อนคิด หลงั การนิเทศการเรียนการสอน

ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่วั ไปของสถานศกึ ษา 1.1 ข้อมูลท่วั ไป โรงเรยี นสตรนี ครสวรรค์ ต้งั อยู่เลขท่ี 312 ถนนสวรรค์วิถี ตาํ บลปากน้ำโพ อาํ เภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ รหสั ไปรษณยี ์ 60000 โทรศพั ท์ 0-5622-1207 โทรสาร 0-5622-1207 ตอ่ 201 e-mail: [email protected] สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษานครสวรรค์ สํานกั งานคณะกรรมการ การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ เปิดสอนต้งั แต่ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ถึงช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 มีเน้ือที่ 16 ไร่ 34 ตารางวา 1.2 ขอ้ มลู บคุ ลากรของสถานศกึ ษา 2.1) จำนวนบุคลากรของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2563 บคุ ลากร ผ้บู ริหาร ข้าราชการ พนักงาน ครอู ัตราจา้ ง อืน่ ๆ ครู ราชการ 5 รวมทัง้ หมด จำนวน 5 137 2 149 2.2) วุฒิการศึกษาสงู สุดของบคุ ลากร บคุ ลากร ต่ำกวา่ ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวมท้งั หมด 49 1 149 ปรญิ ญาตรี จำนวน - 99 2.3) สาขาวิชาท่จี บการศึกษา จํานวน (คน) 5 สาขาวิชา 30 1. บรหิ ารการศึกษา 22 2. กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 14 3. กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ 32 4. กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย 18 5. กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ 7 6. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม 5 7. กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา 10 8. กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ 6 9. กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ 149 10. กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น รวม

๒ 1.3 ขอ้ มลู นักเรียน จำนวนนักเรียนของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563 ระดบั ช้นั จำนวนห้อง เพศ รวม เฉล่ยี ตอ่ ห้อง ชาย หญิง 40 467 ม.1 12 137 330 467 41 452 ม.2 12 154 315 1,386 482 ม.3 12 152 300 469 478 รวม 36 443 945 1,429 2,815 ม.4 13 170 314 ม.5 13 120 353 ม.6 13 115 364 รวม 39 405 1,031 รวมท้ังหมด 75 848 1,976 1.4 โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นสตรีนครสวรรค์ ไดจ้ ัดการศึกษาทั้งระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ใชห้ ลักสตู รเทียบเคยี งมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) โดยเพิ่มสาระท่ีเป็นสากลเขา้ ไว้ใน หลกั สตู รสถานศึกษา นอกจากน้นั ผ้เู รยี นระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ทุกคนต้องสามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อ การสอ่ื สารได้และผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายทุกคนต้องเรยี นภาษาต่างประเทศที่ 2 (ภาษาจีน ภาษาญี่ปุน่ ภาษาฝร่งั เศส ภาษาเกาหลี) นอกจากเรียนรูภ้ าษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร ทัง้ นีเ้ พื่อพัฒนาผ้เู รยี นให้มีศักยภาพ เปน็ พลโลก (World Citizen) ไดแ้ ก่ เปน็ เลศิ ทางดา้ นวชิ าการ ส่ือสารไดส้ องภาษา ลำ้ หน้าทางความคิด ผลติ งาน อยา่ งสร้างสรรค์ และรว่ มกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก เป็นการสรา้ งกลยุทธใ์ หม่ในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ให้สามารถตอบสนองความต้องการของบุคคล ครอบครวั สังคมไทย สร้างผ้เู รยี นใหม้ ีศกั ยภาพใน การแข่งขนั และร่วมมืออยา่ งสร้างสรรคใ์ นสังคมโลก โดยมโี ครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษา ดังน้ี 1. โครงสร้างหลกั สูตรระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาตอนต้น ปกี ารศกึ ษา 2563 เรียนรายวิชาพื้นฐานเหมือนกนั ทกุ ห้องเรยี น และรายวิชาเพิ่มเติมตามศักยภาพและความสามารถของนักเรียน โดยพิจารณาผลการสอบเข้าเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 1 ประกอบการจัดกลุ่มการเรียน จำนวน 4 กลมุ่ การเรียน และเรียนต่อเน่ืองจนจบชั้นมธั ยมศึกษา ปีที่ 3 คือ 1) กลุ่มการเรียนวทิ ยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ 2) กลุม่ การเรยี นศิลป์-ภาษาองั กฤษ 3) กลุ่มการเรยี น ศิลป์-ท่ัวไป และ 4) ห้องเรยี นโครงการพิเศษ English Program : EP 2. โครงสร้างหลกั สตู รระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย นกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ปีการศกึ ษา 2563 เรยี นรายวิชาพืน้ ฐานเหมอื นกัน ทุกห้องเรียน และรายวิชาเพิ่มเติมตามความถนดั และความสนใจของนักเรียน โดยพจิ ารณาผลการสอบเขา้ เรียนชัน้ มัธยมศึกษา ปีท่ี 4 ประกอบการจัดกลุ่มการเรียน จํานวน 7 กลุ่มการเรยี น และเรยี นต่อเนื่องจนจบชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 คอื 1) ห้องเรยี นพิเศษวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ้ ม 2) กล่มุ การเรียนวิทยาศาสตร์- คณิตศาสตร์ 3) กล่มุ การเรียนศิลป์-คณิตศาสตร์ 4) กลมุ่ การเรยี นศลิ ป์ภาษาองั กฤษ 5) หอ้ งเรียนโครงการ

๓ พเิ ศษ English Program : EP 6) กลุม่ การเรียนศิลปภ์ าษาต่างประเทศที่ 2 (จนี ญี่ป่นุ ฝร่ังเศส เกาหล)ี และ 7) กลุ่มการเรยี นศลิ ป์-ทว่ั ไป

๔ ตอนท่ี 2 ผลการดำเนินงานดา้ นการนเิ ทศภายในของสถานศึกษา 2.1. ชื่อรปู แบบการนเิ ทศ โรงเรยี นสตรนี ครสวรรค์ ได้ดำเนนิ การนิเทศการเรียนการสอนในแตล่ ะภาคเรียนของแตล่ ะปีการศึกษา ในชื่อโครงการ ‘การนิเทศการเรยี นการสอนโดยใช้กระบวนการสรา้ งระบบการชีแ้ นะและการเปน็ พเี่ ล้ียงอยา่ ง เปน็ กลั ยาณมติ ร (Coaching and Mentoring)’ โดยมีรูปแบบกระบวนการในการนิเทศการเรยี นการสอน ของ โรงเรยี นสตรนี ครสวรรค์ ทม่ี ชี ื่อว่า SATRI Supervisory Model 2.2 สภาพปัจจบุ นั /ปญั หา เน่ืองจากสภาพสงั คมท่เี ปล่ยี นไปทกุ ขณะ การศึกษามีความจำเปน็ ต้องเปลี่ยนแปลงให้สอดคล้องกับ การเปลีย่ นแปลงของสงั คม ซ่ึงสอดคล้องกบั พ.ร.บ. การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 และ(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มาตรา 4 กล่าวว่า การศึกษา หมายความว่า กระบวนการเรียนรเู้ พ่ือ ความเจริญงอกงามของบุคคลและสงั คมโดยการถา่ ยทอดความรู้ เพ่ือความเจริญงอกงามของบุคคลและสงั คม โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนาธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้า ทางวิชาการ การสร้างองค์ความรูอ้ ันเกิดจากการจดั สภาพแวดลอ้ ม สงั คมการเรยี นรูแ้ ละปจั จัยเกื้อหนนุ ให้ บุคคลเรยี นรู้อย่างตอ่ เนื่องตลอดชวี ิต และครู หมายความวา่ บุคลากรวิชาชพี ซ่งึ ทำหน้าท่ีหลักทางด้านการเรยี น การสอนและการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ของผเู้ รยี นดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ จากท่ีกล่าวมา การนเิ ทศการศึกษาจะช่วย ทำให้เกดิ ความเปลยี่ นแปลงข้ึนในองค์การทเ่ี กยี่ วข้องกับการศกึ ษา มคี วามจำเป็นต่อการชว่ ยเหลือครูในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน และเพ่ือให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ โรงเรยี นสตรีนครสวรรค์ได้เหน็ ความสำคญั ของการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และคุณภาพผู้เรยี นซงึ่ สง่ ผลต่อผลสมั ฤทธข์ิ องผ้เู รียนอย่างย่ิง จงึ ไดจ้ ัดทำโครงการ ‘การนิเทศการเรียนการสอน โดยใช้กระบวนการสรา้ งระบบการชแี้ นะและการเปน็ พี่เลี้ยงอย่างเป็นกัลยาณมติ ร (Coaching and Mentoring)’ ต่อเน่อื งจากปีการศึกษาท่ผี า่ นมา โดยได้ศึกษาผลการประเมินโครงการดงั กล่าวของปกี ารศึกษาทผี่ า่ นมา มีจุด แขง็ หรือประเด็นท่คี วรพัฒนาต่ออะไรบ้างรวมทัง้ ได้วิเคราะห์ตวั ชว้ี ัดตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาใน ประเดน็ ท่เี ก่ยี วขอ้ งเพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกบั บริบทของสถานศึกษา ซ่ึงจดั ได้ว่าเปน็ วิธีการหนึ่งในการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา 2.3 เป้าหมายการนิเทศการจัดการเรียนการสอน เปา้ หมายการนิเทศการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนสตรีนครสวรรค์ เพื่อพฒั นาการจัดการศกึ ษา ให้เกิด ‘คณุ ภาพครู คณุ ภาพการเรยี นรู้ นำสูค่ ุณภาพผเู้ รยี น’

๕ 2.4 รูปแบบกระบวนการนิเทศการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา แผนภูมกิ ารนเิ ทศภายในโรงเรยี น S : Sharing (การแลกเปลยี่ นเรยี นรู)้ การแลกเปล่ียนเรียนรทู้ ั้งดา้ นความรู้ และประสบการณ์ A : Achievement (ความสำเรจ็ ) ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นสูงข้นึ ความสำเร็จในการดำเนนิ งาน T : Teamwork (การทำงานเป็นทีม) ความมุง่ มนั่ ในการทำงานเปน็ ทมี ร่วมมือร่วมใจกนั ในการนำไปสู่เป้าหมาย R : Responsibility (ความรบั ผิดชอบ) ผบู้ ริหาร ครผู ูส้ อน และผู้เรียนมคี วามรบั ผดิ ชอบ เพื่อนำไปส่เู ป้าหมายที่ประสบผลสำเร็จ I : Improvement (การปรับปรุงพฒั นา) การดำเนินงานมีการปรบั ปรุง พัฒนางานเป็นระยะ

๖ 2.5 วธิ กี ารดำเนนิ การ การดำเนินงานในแตล่ ะปีการศึกษา คณะกรรมการงานนิเทศการเรยี นการสอน โรงเรียนสตรี นครสวรรค์ จะดำเนินการตามข้นั ตอน ดังต่อไปนี้ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศการเรยี นการสอน 2. ประชุมใหค้ ำช้แี นะแนวทาง วางแผนการดำเนินงาน (Coaching and mentoring) จัดทำโครงการและกำหนดปฏทิ นิ การดำเนินงาน 3. ดำเนนิ การตามแผน 3.1 สำรวจและจดั ทำกำหนดการนเิ ทศการเรียนการสอนของครูทุกทา่ นทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ แล้วนำขนึ้ เวบ็ ไซตข์ องโรงเรยี น เพื่อใหผ้ ู้บริหารและคณะครูทกุ ทา่ นไดท้ ราบกำหนดการนิเทศการเรยี นการสอน 3.2 คณะกรรมการนิเทศเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาดำเนินการนิเทศการเรียนการสอนตาม กำหนดการ โดยครูผู้สอนต้องเตรยี มแผนการจัดการเรยี นรู้และแบบนิเทศการจัดการเรยี นการสอนให้คณะกรรมการ ผู้นเิ ทศ ซงึ่ ได้แก่ ผบู้ รหิ ารหรือตวั แทน หัวหน้ากลุ่มสาระหรือตัวแทนซึง่ เป็นคณะกรรมการนิเทศการเรียนการสอน ของกลุ่มสาระ และครูค่บู ัดด้ีของครูผ้สู อนหรือกลุ่ม PLC เมื่อนเิ ทศการเรียนการสอนเสร็จจะมีการสะท้อนความคดิ และประเมินผลการนิเทศการสอน 3.3 สะทอ้ นคดิ โดยผรู้ บั การนิเทศ และผู้นิเทศ หลงั จากนิเทศการเรียนการสอนเสร็จ พรอ้ มให้คำ ชี้แนะแนวทางการจดั กระบวนการเรียนรู้ การแกป้ ัญหาการพัฒนา (Coaching and mentoring) ดว้ ยความเป็น กัลยาณมติ ร 3.4 ประเมินผลการนเิ ทศการเรยี นการสอน 4. กลุ่มสาระสรุปผลการนเิ ทศการเรียนการสอน สง่ ให้คณะกรรมการงานนิเทศการเรียนการสอน ของกล่มุ บรหิ ารวชิ าการ โรงเรียนสตรีนครสวรรค์ 5. สรุปข้อมลู ของแต่ละกล่มุ สาระการเรียนรู้เป็นภาพรวมการนเิ ทศการเรียนการสอนของโรงเรียน 6. สรปุ และรายงานผลการดำเนินงานโครงการนเิ ทศการเรียนการสอนฯ 7. ประชมุ ทบทวนการปฏิบัติงาน นำผลการประเมินมาปรับปรุง พัฒนารปู แบบการดำเนินงาน/ โครงการนเิ ทศการเรยี นการสอนของสถานศึกษา 2.6 การกำกบั ตดิ ตาม ประเมินและรายงาน คณะกรรมการนิเทศการเรยี นการสอนรว่ มกบั ฝา่ ยบรหิ าร ในการกำกับตดิ ตามการนเิ ทศการเรยี นการสอน ของครูผูส้ อนของแต่ละกลมุ่ สาระเปน็ ระยะตลอดภาคเรียน โดยการเขา้ นเิ ทศการสอนตามกำหนดการ พร้อมทั้ง ใหค้ ำชแ้ี นะในการวางแผนการสอน การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน และการวดั และประเมินผล รวมท้ังการใช้ หลักการ ทฤษฎตี า่ งๆ ในการจัดการเรียนการสอน การดำเนนิ งาน มีการสรปุ ผลการนิเทศการเรียนการสอนท้ังเปน็ ภาคเรียนและเป็นปีการศึกษา พร้อมท้ัง นำผลการสรุปผลการดำเนินการนเิ ทศการเรียนการสอนแต่ละกลุม่ สาระ และในภาพรวมของสถานศกึ ษา รายงาน ต่อผู้บรหิ ารสถานศึกษา มีการวเิ คราะห์จุดแขง็ จดุ อ่อน เพื่อนำผลการวิเคราะห์มาวางแผนพฒั นาการดำเนินงานใน ปีการศึกษาปัจจุบันและปีการศกึ ษาตอ่ ไป

๗ 2.7 ผลสำเร็จทีไ่ ด้ และการนำผลไปใช้ การดำเนนิ งานทม่ี ุ่งมั่นตามเป้าหมายท่ีตัง้ ไว้ กอ่ ให้เกดิ ผลสำเรจ็ ท่ภี าคภมู ิใจ และนำผลท่ีได้ไปใช้ใน การพัฒนา ดงั ต่อไปนี้ 1. ผลสำเร็จทไี่ ด้ จากการดำเนนิ งานนิเทศการเรียนการสอนดว้ ยความมุ่งม่นั ตั้งใจในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา โดยใช้รูปแบบ SATRI Supervisory Model ปรากฏผลการดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมายที่ตงั้ ไว้ ดังน้ี 1.1 ครูผู้สอนมพี ฒั นาการในการวิเคราะห์หลกั สตู ร มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ัด ผลการเรยี นรู้ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ การเขียนแผนการจัด การเรียนรู้ การใช้หลักการ/ทฤษฎีในการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล รวมท้ังการดำเนินการวิจัยใน การแกป้ ัญหา/พัฒนาผู้เรยี น 1.2 ปกี ารศึกษา 2563 ผู้เรยี นทกุ ระดับช้ันมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนท้ัง 8 กลุ่มสาระ สงู กวา่ ค่า เป้าหมายท่สี ถานศึกษากำหนด ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของ ผู้เรียน ผ่านเกินเกณฑ์ทสี่ ถานศกึ ษากำหนด และผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O–NET) มี คา่ เฉลี่ยนสงู กวา่ ค่าเฉลี่ยระดับประเทศทกุ รายวิชา จากทกี่ ล่าวมา แสดงให้เห็นว่าผู้เรยี นมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน ซึง่ เป็นผลมา จากความต้งั ใจ มงุ่ มนั่ ในการพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียนสตรีนครสวรรค์ ท่นี ำสู่ผลสำเรจ็ คือ คุณภาพของผ้เู รยี น 2. การนำผลไปใช้ โรงเรยี นสตรีนครสวรรค์ ดำเนนิ การพฒั นาคณุ ภาพการจัดการเรยี นการสอนโดยการนเิ ทศการจดั การเรยี นการสอน รูปแบบ SATRI Supervisory Model ทำให้เกิดผลตามเปา้ หมายท่ีกำหนดไว้ คือ ‘คุณภาพ ครู คณุ ภาพ การเรียนรู้ นำสคู่ ณุ ภาพผู้เรียน’ เพือ่ ให้เกิดการพฒั นาที่ต่อเนื่อง และเกิดคุณภาพที่ยัง่ ยนื จึงได้นำ ผลการดำเนินงานของ ปกี ารศึกษา 2563 มาใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพครู เพือ่ ให้เกิดคุณภาพในการจัดการเรียนรู้ แล้วนำไปส่คู ณุ ภาพของผู้เรียนต่อไป ในปีการศึกษา 2564 ดังนี้ 2.1. พัฒนาครูใหม้ คี วามรู้ในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรบู้ ูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ให้สอดคลอ้ งกบั ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ และของโลก เพ่ือให้ผู้เรยี นไดน้ ำหลักการ/ทฤษฎี ไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวัน ให้ครอบครวั เกดิ ภมู ิคุ้มกนั ทด่ี ี จะได้ไมเ่ กดิ ผลกระทบต่อนักเรยี นหรือหากเกดิ ก็ นอ้ ยทสี่ ดุ 2.2 พฒั นาครูใหม้ ีความสามารถในการจดั การเรยี นการสอนเชงิ รกุ (Active Learning) นำความรู้ ไปใชใ้ นการออกแบบการจดั การเรียนร้ทู เี่ นน้ ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ กิดกระบวนการคดิ ลงมือทำ เกดิ ผลงานท่เี หมาะสม กับชว่ งวยั ของผู้เรยี น 2.3 พัฒนากระบวนการนิเทศการเรยี นการสอน ใหส้ อดคลอ้ งกบั ยุคสมัย กับสภาวะการณข์ อง บ้านเมอื งที่เกิดขน้ึ โดยการนเิ ทศการเรียนการสอนแบบออนไลน์

๘ ตอนท่ี 3 ข้อมูลอน่ื ๆ เพิม่ เตมิ 3.1 เครอื่ งมอื นิเทศการศึกษา แบบนิเทศการจัดการเรียนการสอน



๑๐ 3.2 การประชาสัมพนั ธแ์ จง้ ขอ้ มูลการนิเทศการเรียนการสอน ผา่ นเว็บไซตข์ องโรงเรียน

๑๑ 3.3 ภาพการนิเทศการจดั การเรยี นการสอนและการสะท้อนคิดหลังการนิเทศการเรียนการสอน การนิเทศการเรียนการสอนครู โดยผบู้ ริหาร และคณะกรรมการนิเทศการเรียนการสอน

๑๒ การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ดว้ ยการสะทอ้ นคิด โดยตัวครผู ู้สอน ผบู้ รหิ าร คณะกรรมการนเิ ทศการเรยี นการสอน หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ และเพื่อนครูผ้สู อน