การนเิ ทศภายในเพื่อพฒั นาประสิทธภิ าพการจดั การเรียนการสอน ดว้ ยรปู แบบ MIND MODEL โรงเรียนหว้ ยน้ำหอมวิทยาคาร สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
คำนำ รปู แบบการนิเทศภายในของสถานศกึ ษาที่ประสบความสำเร็จ เปน็ แบบอย่างได้ โรงเรยี นห้วยน้ำหอม วทิ ยาคาร เรือ่ ง การนิเทศภายในเพ่ือพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการเรยี นการสอนด้วยรปู แบบ MIND MODEL สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรค์ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ให้มคี วามรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ สามารถปรับเปลี่ยนวิธกี ารเรียนรู้ ให้สอดคล้องตามหลักสตู รและการเปลยี่ นแปลงในสถานการณ์การปัจจบุ นั ขอขอบคุณคณะครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน ศกึ ษานิเทศก์สำนกั งาน เขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ และสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครสวรรค์ที่มีส่วนทำให้รายงาน การสร้างนวัตกรรมน้ีสำเรจ็ ลุลว่ งด้วยดีตามวัตถุประสงค์ หากผดิ พลาดประการใดผู้รายงานขอน้อมรบั เพื่อนำไป พัฒนาต่อไป กลมุ่ บริหารวชิ าการ โรงเรียนหว้ ยนำ้ หอมวทิ ยาคาร
สารบญั ๑ ๑ หน้า ๑ ตอนท่ี ๑ ข้อมูลท่ัวไปของสถานศกึ ษา ๑ ๑ ขอ้ มูลพ้ืนฐานของโรงเรยี น ๓ ตอนท่ี 2 ผลการดำเนนิ งานด้านการนเิ ทศภายในของสถานศกึ ษา ๔ ๖ 2.1 ชอ่ื รูปแบบ ๖ 2.2 สภาพปัจจบุ นั /ปัญหา ๖ 2.3 รปู แบบ หรอื กระบวนการนเิ ทศภายในของสถานศกึ ษา ๖ ๒.๔ วธิ ดี ำเนินการ ๖ 2.5 การกำกบั ติดตาม ประเมนิ และรายงานผล ๖ 2.6 ผลสำเรจ็ ท่ีได้ และการนำผลไปใช้ ๗ ตอนที่ 3 ข้อมลู อนื่ ๆ เพิม่ เติม ๑. ด้านสถานศึกษา ๒. ดา้ นผู้สอน ๓. ดา้ นผู้เรยี น ภาคผนวก
รูปแบบการนิเทศภายในของสถานศึกษาท่ีประสบความสำเร็จ เป็นแบบอย่างได้ โรงเรียนหว้ ยนำ้ หอมวิทยาคาร เร่ือง การนเิ ทศภายในเพื่อพัฒนาประสิทธภิ าพการจัดการเรียนการสอนด้วยรูปแบบ MIND MODEL สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษานครสวรรค์ ************************************************ ตอนท่ี 1 ข้อมูลทวั่ ไปของสถานศกึ ษา ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน ช่ือโรงเรียน ห้วยน้ำหอมวิทยาคาร สังกดั สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ จำนวนนักเรยี น 1,248 คน จำนวนครู 65 คน ระดบั ทีจ่ ดั การศึกษา ประถมศึกษา มธั ยมศึกษา ขยายโอกาส ทัง้ ประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษา ขนาด เล็ก กลาง ใหญ่ ใหญ่พเิ ศษ ทอี่ ยู่ตดิ ต่อทางไปรษณีย์ 118 ม. 6 ต.ชุมตาบง อ.ชมุ ตาบง จ.นครสวรรค์ รหัสไปรษณีย์ เวบ็ ไซต์ของโรงเรยี น 60150 http://www.namhom.ac.th ตอนท่ี 2 ผลการดำเนินงานดา้ นการนเิ ทศภายในของสถานศึกษา 2.1 ชือ่ รูปแบบ การนเิ ทศภายในเพื่อพฒั นาประสิทธภิ าพการจดั การเรียนการสอนด้วยรปู แบบ MIND MODEL 2.2 สภาพปจั จบุ ัน/ปญั หา การจดั การศกึ ษาของสถานศึกษาให้เกิดคุณภาพนนั้ ควรต้องประกอบดว้ ย ๓ กระบวนการด้วยกัน คือ กระบวนการบริหาร กระบวนการเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศการศึกษา มีผู้ให้ความหมายของ “การนิเทศการศึกษา” ไว้ว่า “การนิเทศ” หมายถึง การช้ีแจง การแสดง การแนะนำ “การศึกษา” หมายถึง การเล่าเรียน การฝึกฝน และการอบรม ดังนั้น “การนิเทศการศึกษา” จึงหมายถึง การช้ีแจง การแสดง หรือ การแนะนำเกี่ยวกับการสอนและการอบรม การนิเทศการศึกษาเป็นภารกิจท่ีจำเป็นต่อการจัดการศึกษา เป็นเรื่อง ละเอียดอ่อนจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากบุคคลหลายฝ่ายในหลาย ๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างย่ิงทางด้าน การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ดังจะเห็นได้จากเหตุผลความจำเป็นในหลายประการ ประการแรก ความเปล่ียนแปลงของสังคม ความเจริญก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีท่ีเป็นไปอย่างรวดเร็ว บุคลากร ในหน่วยงานทางการศึกษาจำเป็นต้องปรับปรุงตนเองให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงเพื่อจะได้ปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ซึ่งการนิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการท่ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ือช่วยเหลือและพัฒนางานให้ทันต่อสภาพ
๒ ความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้น ประการท่ีสอง ในหน่วยงานทางการศึกษาทุกระดับมีเป้าหมายในการปฏิบัติงาน ร่วมกันคือ พัฒนาคุณภาพการศึกษาซ่ึงจำเป็นต้องใช้กระบวนการบริหาร กระบวนการเรียนการสอน และ กระบวนการนิเทศ เพื่อจะได้ช่วยส่งเสริม สนับสนุนการทำงานซึ่งกันและกัน การนิเทศการศึกษาจึงเป็น องคป์ ระกอบสำคัญท่ีช่วยเหลือสนับสนุนใหก้ ระบวนการบริหาร และกระบวนการเรียนการสอนมีคุณภาพถึงระดับที่ พึงประสงค์ และประการสุดท้าย มาตรฐานการศึกษาของประเทศจำเป็นต้องมีการรักษาและควบคุมคุณภาพให้ได้ ตามมาตรฐาน และกระบวนการนิเทศการศึกษาก็มีขอบข่ายการปฏิบัติงานที่มุ่งเน้นการควบคุมมาตรฐานการศึกษา โดยตรง การนิเทศการศึกษาเป็นการศึกษาแขนงหน่ึงที่ต้องใช้ท้ังศาสตร์และศิลป์ในการดำเนินงาน การเป็น ศาสตร์นั้น การนิเทศการศึกษามาจากเหตุและผล โดยใช้หลักการแนวคิด ทฤษฎีที่ผ่านการพิสูจน์จนเป็นท่ี ยอมรบั แลว้ มาใช้แก้ปญั หานั้น ๆ ได้ วิธกี ารที่จะนำมาใชแ้ ก้ปัญหา การนิเทศการศกึ ษาต้องอาศัยความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ กระบวนการ วิธีการหลาย ๆ อย่างประกอบกันท้ังด้านจังหวะ เวลา กาลเทศะ ส่ิงแวดล้อม ประกอบเข้าด้วยกันจึงทำให้การนิเทศประสบผลสำเร็จ การนิเทศการศึกษาจึงเป็นบทบาทที่สำคัญยิ่งที่ ผู้บริหารสถานศึกษาต้องปฏิบัติอย่างต่อเน่ืองกัน การนิเทศติดตามเป็นข้ันตอนหนึ่งและเป็นข้ันตอนสำคัญใน การบริหารงาน การนิเทศจะช่วยแก้ไขปรับปรุงส่วนท่ีบกพร่องให้มีการพัฒนา ผู้บริหารโรงเรียนเป็นผู้ที่ เกี่ยวข้องใกล้ชิดกบั ครู นักเรียนจึงย่อมทราบปัญหาตา่ ง ๆ ได้ดีกว่าคนภายนอก เพราะฉะนนั้ การนเิ ทศภายใน โรงเรยี นจะสอดคลอ้ งกบั ปัญหาและความต้องการของบคุ ลากรในโรงเรยี นได้อยา่ งดี โรงเรียนห้วยน้ำหอมวิทยาคาร เป็นโรงเรียนมัธยมขนาดใหญ่มีพ้ืนท่ีห่างจากจังหวัดประมาณ ๗๒ กิโลเมตร ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาส่วนใหญ่มาจากต่างจังหวัด ทำให้มีการย้ายกลับภูมิลำเนา อยู่เสมอ ประสบการณ์ในการจัดการเรียนการสอนของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาน้อยกว่า ๑๐ ปี คิดเป็นร้อยละ ๗๐ จากสภาพปัญหาดังกลา่ วทางโรงเรียนจึงควรให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน ในการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานวิชาชีพ รวมท้ังสร้างขวัญและกำลังใจโดยการนิเทศ กำกับ ติดตาม การทำงานของข้าราชการครุและบุคลากรทางการศึกษาใหม้ ีประสิทธิภาพสอดคล้องกับบรบิ ทและสถานการณ์ ปัจจบุ ันให้มากย่ิงขน้ึ จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้นโรงเรยี นห้วยน้ำหอมวิทยาคารจงึ มีการประชุมหารือของคณะบริหาร โรงเรียนเพื่อแก้ปัญหา และเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนขึ้น โดยการนิเทศภายใน เพอ่ื พัฒนาประสทิ ธภิ าพการจัดการเรยี นการสอนด้วยรปู แบบ MIND MODEL
๓ 2.3 รูปแบบ หรือกระบวนการนิเทศภายในของสถานศกึ ษา โรงเรียนหว้ ยนำ้ หอมวทิ ยาคาร ใชก้ ระบวนการนเิ ทศภายในเปน็ สว่ นหนึง่ ในการพัฒนา ประสิทธิภาพการจดั การเรียนการสอน โดยการนิเทศภายในรปู แบบ MIND Model ประกอบด้วยรายละเอยี ด ดังนี้ การนเิ ทศภายในรูปแบบ MIND Model M Management & Knowledge การบรหิ ารทม่ี ปี ระสิทธิภาพ และการจดั การความรู้ I Information & Communication Technology การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่อื สาร N Network & PLC การสรา้ งเครือขา่ ยประสานความรว่ มมอื และ การสร้างชุมชนแห่งการเรยี นรู้ D Development การพัฒนาทหี่ ลากหลาย Management & Knowledge การบริหารและการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพ โดยสำรวจ ปัญหา / ความต้องการ การแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ การจัดทำแผนการนิเทศ ตารางการนิเทศ การสร้างความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั การนเิ ทศภายใน สง่ เสรมิ และสนับสนุนการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา กำกบั ตดิ ตาม การจัดการเรยี นการสอน พร้อมท้ังการร่วมกันแก้ปัญหาท่ีเกิดจากการจัดการเรยี นการสอน Information & Communication Technology การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การจัดการความรู้ (KM : Knowledge Management) บนเว็บไซต์โรงเรียน การเชื่อมโยงกับสื่อสังคมออนไลน์ เช่น Application Line , Facebook , Google Meet , Google sit , Google classroom Google Drive ฯลฯ
๔ Network & PLC การสร้างเครือข่ายประสานความร่วมมือท้ังภายในและภายนอกโรงเรียน ภายใน โรงเรียนประกอบด้วยทีมนิเทศของคณะบริหาร ครูในกลุ่มสาระ ครูในชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สำหรับเครือข่ายภายนอก ประกอบด้วย การประสานความร่วมมือกับสหวิทยาเขต เขตพื้นที่การศึกษา สถาบันการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดโดยเข้าร่วมโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพ่ือพฒั นาการศึกษา รวมท้ังนักเรยี น ผู้ปกครอง และชมุ ชน Development การพัฒนาการนิเทศภายใน โรงเรียนห้วยน้ำหอมวิทยาคารดำเนินการโดยการ พัฒนาหลักสูตร กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมเสริมหลักสูตร ให้สอดคล้องกับความต้องการและสถานการณ์ ปัจจุบัน การประกันคุณภาพการศึกษา การวางแผนพัฒนาการจัดการศึกษา และการนิเทศภายในให้มี ความสัมพันธ์เช่ือมโยมกัน ปฏิบัติควบคู่กับการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาอย่างจริงจัง และนำผลมา พฒั นาตอ่ เนอ่ื ง 2.4 วิธีการดำเนินการ การนิเทศภายในเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนด้วยรูปแบบ MIND MODEL โรงเรยี นไดน้ ำหลักการบรหิ ารงาน PDCA ของ ดร. เดมมง่ิ มาใช้เปน็ แนวทางการดำเนินงานเพื่อพัฒนา ดงั น้ี 1. ขั้นการวางแผน (Plan) 1.1 ประชมุ ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนเปดิ ภาคเรียนเพื่อวางแผนการทำ การนเิ ทศการจัดการเรยี นการสอนแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา โดยศึกษาสภาพปจั จุบัน ปัญหาและความต้องการ การจัดระบบขอ้ มูลโดยเนน้ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสอื่ สาร ๑.๒ แต่งตง้ั คณะกรรมการดำเนนิ งาน ซง่ึ ประกอบดว้ ยคณะบรหิ าร หวั หนา้ งานนเิ ทศ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ทุกกลุ่มสาระ ครแู กนนำจากกล่มุ สาระการเรยี นรู้หรือคู่บัดด้ี ๑.๓ ประชุมคณะกรรมการดำเนินการนิเทศการสอน จัดทำตาราง/ปฏิทินการนิเทศ จดั ลำดบั ความสำคญั และกำหนดเปา้ หมายของการนิเทศ วเิ คราะหจ์ ากสภาพปจั จบุ ัน โดยบูรณาการกับ กระบวนการู 1.๔ สำรวจความพร้อมของสอ่ื อปุ กรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร 2. ขน้ั การดำเนนิ งาน (Do) 2.1 จัดหางบประมาณในการสนบั สนนุ วัสดุอุปกรณท์ ี่ใช้ประกอบการจัดการเรยี นการสอน 2.2 ประสานกับผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ได้แก่ คณะกรรมการนิเทศ ศึกษานิเทศก์ อาจารย์จาก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครสวรรค์โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวตั กรรมการศึกษา เพ่ือพฒั นาการศกึ ษา เพอ่ื ร่วมดำเนนิ การนิเทศ 2.3 ดำเนนิ การ - การเยี่ยมชั้นเรียน มีการเยย่ี มชน้ั เรยี นโดยคณะกรรมการที่ไดร้ ับการแต่งตั้งท้ังในตาราง นเิ ทศและนอกตารางนิเทศอย่างสม่ำเสมอ โดยมวี ิธกี ารดังนี้
๕ รปู แบบ On – site กลุ่มบรหิ ารเข้าเยยี่ มชน้ั เรยี น และสงั เกตการสอนในแต่ละระดับชั้นอย่างสม่ำเสมอ ใหค้ ำแนะนำ ในกระบวณการจัดการเรียนการสอน (Coaching & Mentoring) พร้อมท้ังสะท้อนผลการสอนร่วมกับครูใน กิจกรรมเปิดชั้นเรียน (Open Class) โดยนำกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) บูรณาการร่วมกับ การนิเทศ เน้นการนิเทศแบบกัลยาณมิตร ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศต่างเป็นกัลยาณมิตรท่ีดีต่อกัน มีการรับฟัง ความคดิ เห็นซ่งึ กนั และกัน เพ่ือพฒั นางานและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้ดีขนึ้ รปู แบบ ON – line กล่มุ บรหิ ารสังเกตการสอนโดยผ่าน Link การสอน On – line ของขา้ ราชการครแู ละ บุคลากรทางการศึกษาใน Application line กลุ่ม PLC ของโรงเรียนท่ีเช่ือมโยงข้อมูลในแบบฟอร์ม Google Drive อย่างสมำ่ เสมอ ครผู ู้สอนจะรายงานผลการสอนหลังจากเสรจ็ สิ้นการสอนในแต่ละชั่วโมง เช่อื มโยงขอ้ มูล ในแบบฟอร์ม Google Drive โดยทั้งกลุ่มบริหารและครูผู้สอนสามารถรับการรายงานข้อมูลการสอนได้แบบ เรยี ลไทม์ 3. ข้ันการตรวจสอบผลการดำเนินงาน (Check) 3.1 ตรวจสอบคุณภาพแผนการจัดการเรียนรู้ หลังจากที่ครูผู้สอนได้รับการพัฒนาไปแล้ว เพื่อให้แน่ใจว่าครูจะนำหลักการทฤษฎีต่าง ๆ ไปใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมครูทุกคนจะได้รับการตรวจสอบ คณุ ภาพแผนการจดั การเรยี นร้จู ากคณะกรรมการนเิ ทศ 3.2 ประเมินทักษะการสอน ตามแบบนิเทศการสอน มีการสะท้อนผลการสอนรว่ มกับครูใน กจิ กรรมเปิดชนั้ เรยี น (Open Class) 3.3 ตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เม่ือสิ้นภาคเรียน ทางโรงเรียนได้ทำการวิเคราะห์ ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกรายวิชา เพื่อนำข้อมูลท่ีได้ไปเปรียบเทียบกับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรยี นในปีการศึกษา 25๖๒ ที่ผ่านมา วิเคราะห์หาผลความก้าวหนา้ ทไ่ี ดจ้ ากกระบวนการนิเทศภายใน 3.4 สอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนการสอนของครู เพื่อให้การดำเนินงานเกิดประสิทธิภาพประสิทธิผลสูงสุด นอกจากจะมีการตรวจสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน แล้ว เพ่ือให้แน่ใจว่า การดำเนินงานดังกล่าวจะส่งผลดีต่อนักเรียนท้ังทางตรงและทางอ้อม ทางโรงเรียนจึงได้ ทำแบบสอบถาม เพื่อประเมินความพงึ พอใจของนักเรียนท่ีมตี ่อการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนของครทู กุ คน 4. ขัน้ การสะท้อนผล (Act) 4.1 สรุปปัญหาอุปสรรค หลกั จากการดำเนนิ งานแล้วเสร็จ ทางโรงเรียนได้จัดให้มกี ารสรปุ สภาพปัญหาที่เกิดข้นึ ระหวา่ งการดำเนินงานเพ่ือวางแผนแกไ้ ขพฒั นาต่อไป 4.2 จากการนิเทศการสอนมีการสะท้อนผลการสอนทำให้ทราบปัญหาและอปุ สรรค กลมุ่ บริหารจึงกำหนดแนวทางการแกป้ ญั หาท่ีเกิดจากการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ - พฒั นาบคุ ลากรใหม้ คี วามรู้ในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร โดยจัด การอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยโปรแกรม Google site เพ่ือแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในช่วง สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา Covid +๙ ของนักเรียนที่ไม่สามารถเข้าเรียนในชั่วโมง สามารถหาความรู้เพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์ของครูผู้ซึ่งทางโรงเรียนได้รวบรวมเป็น KM ( Knowledge Management) นวตั กรรมทางการศกึ ษาของครูผา่ นเว็บไซต์ของโรงเรียน
๖ - แกป้ ัญหาการไมเ่ ข้าเรยี นของนักเรียนโดยรวบรวมขอ้ มูล สถติ ิของนกั เรยี นทเ่ี ขา้ เรยี น นอ้ ยกว่าร้อยละ ๔๐ (กรณีเรียนรูปแบบ On – line) จากการรายงานข้อมูลของครูประจำวิชาโดยประสานกับ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ครูที่ปรึกษาออกเยี่ยมบ้านเพ่ือแก้ไขปัญหา และนำแบบฝึกหัด ใบงาน ใบความรมู้ อบให้แก่นักเรียนในรูปแบบ On – Demand ควบคู่กับวธิ กี าร Delivery learning to home 2.5 การกำกับ ติดตาม ประเมินและรายงานผล ๑) งานวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภาคเรยี นละ ๑ ครง้ั ๒) งานหลกั สตู รและการสอน รายงานการสง่ แผนการจัดการเรียนรู้ของครแู ต่ละกลุ่มสาระ ภาคเรยี นละ ๑ ครง้ั ๓) หวั หนา้ งานนเิ ทศการสอน รวบรวมผลการนเิ ทศการสอนทำสถิตแิ สดงผลการนเิ ทศของครู ทกุ คน และจัดทำรูปเลม่ รายงาน ภาคเรยี นละ ๑ ครั้ง 2.6 ผลสำเร็จท่ีได้ และการนำผลไปใช้ การนเิ ทศภายในเพ่ือพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนด้วยรูปแบบ MIND MODEL สามารถนำข้อมลู มาใชใ้ นการพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน ดงั น้ี - พัฒนากระบวนการสอน / วธิ กี ารเรยี นรู้ของนักเรียน - พัฒนาสือ่ และการใชส้ ือ่ / นวัตกรรม - พฒั นากระบวนการวัดและประเมนิ ผล - การทำวิจัยในช้ันเรยี น / Best Practice - การเผยแพร่การจัดการความรู้ KM ( Knowledge Management) นวตั กรรมทาง การศกึ ษาของครูผ่านเวบ็ ไซต์ของโรงเรยี น ตอนท่ี 3 ข้อมลู อื่น ๆ เพ่ิมเติม 1. ด้านสถานศึกษา - ได้รับคดั เลอื กเป็นโรงเรียนคณุ ภาพระดับมัธยม (โรงเรียนมัธยมดีส่ีมุมเมือง) - ได้รับโลร่ างวลั เกยี รตยิ ศโครงการมหิงสาสายสบื ตง้ั แตป่ ี ๒๕๕๙ – ปจั จบุ นั - โรงเรียนได้เข้าร่วมโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพอ่ื พฒั นาการศึกษา 2. ด้านครผู ู้สอน - นายปริญญา สุขุประการ ไดร้ บั รางวัลครูดีเดน่ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา ระดับเหรียญทอง 3. ดา้ นผู้เรียน นายศักดสิ์ ิทธิ์ วงศ์สวุ รรณ - ไดร้ ับรางวลั ชนะเลิศ ระดับจังหวัด ในโครงการคดั เลอื กนักเรียนและสถานศึกษาเพอื่ รับรางวัล พระราชทานระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย ขนาดกลาง ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ - ได้รับการยกย่องให้เป็นเยาวชนคนดศี รีสงั คม - เด็กชายทศพล ทบั สิงห์ นายรัชพล บุญอุ้ม นางสาวศศติ า ตุ้มน้อย ไดร้ ับคัดเลือก ในการนำเสนองานเกี่ยวกับการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่ประเทศเกาหลีใต้ในรูปแบบออนไลน์ ได้รับรางวัล เหรียญทองแดง
ภาคผนวก
ตาราง ๑ ตารางแสดงคะแนนเฉลย่ี ของการนเิ ทศการสอนของครผู ูส้ อนกลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ ที่ ช่อื - นามสกลุ ค่าเฉลี่ย ระดับคณุ ภาพการปฏิบตั ิ หมายเหตุ ของครผู ้สู อน 1 นางสาวสจุ ติ รา พมุ่ เพียร 81.67 ดีมาก 2 นางสาวสริ ิวิมล เส็งเมอื ง 90.33 ดมี าก 3 นางนริ มล ทาหอม 91.1 ดีมาก 4 นายกฤษดา แก้วพรม 88 ดีมาก 5 นางสาวเกศกนก ใจสบุ รรณ 87.67 ดีมาก 6 นางสาวสุจติ รา เกดิ สวสั ด์ิ 88.00 ดมี าก 7 นายววิ ฒั น์ แกว้ มณี 87.33 ดมี าก 8 นายกรชิ รงุ่ โรจน์ ปารมสี ี 88.33 ดมี าก 9 นางสาวขวญั ตา ลือเฟือง 86.67 ดีมาก 10 นางสาวกาญจนา ไพรสิงห์ 87.67 ดีมาก 11 นางสาวชาริดา มสี ขุ 84.33 ดมี าก รวม 87.37 ดมี าก จากตารางท่ี ๑ แสดงให้เหน็ วา่ ระดับการปฏบิ ตั ิของครผู ้สู อนกล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ค่าเฉล่ยี เทา่ กบั 87.33 คณุ ภาพการปฏิบตั ขิ องครูผสู้ อนอยใู่ นระดับ ดีมาก ตารางท่ี ๒ ตารางแสดงคะแนนเฉลีย่ ของการนเิ ทศการสอนของครผู ูส้ อนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ที่ ช่ือ - นามสกุล คา่ เฉลี่ย ระดบั คุณภาพการปฏิบัติ หมายเหตุ ของครผู สู้ อน 1 นางสาวทพิ าพรรณ จันทรฉ์ ่ำ 87 ดีมาก 2 นางณัฎฐณชิ า อิศฤงคาร 91 ดีมาก 3 นายสรุ เดช บุญรอด 90 ดีมาก 4 นายกติ ติ จนั ทะเคลื่อน 87.00 ดมี าก 5 นางสุรตั น์ ต้งั จติ วัฒนากุล 82.33 ดีมาก 6 นายสวุ ัฒน์ ต้งั จิตวัฒนากุล 81 ดีมาก 7 นางสาวสรุ นิ ธร วงษล์ อ้ ม 86 ดมี าก 8 นางบษุ ยา มณฑล - (ลาคลอด) รวม 86.33 ดมี าก จากตารางท่ี ๒ แสดงให้เหน็ วา่ ระดับการปฏิบัติของครผู สู้ อนกลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม คา่ เฉลี่ยเทา่ กับ 86.33 คุณภาพการปฏิบัติของครูผู้สอนอยู่ในระดบั ดีมาก
ตารางที่ ๓ ตารางแสดงคะแนนเฉลีย่ ของการนิเทศการสอนของครูผสู้ อนกล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ที่ ชอ่ื - นามสกลุ ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพการปฏบิ ัติ หมายเหตุ ของครูผู้สอน 1 นางสาวพชั รนิ ทร์ พลู สวสั ดิ์ 81 ดมี าก 2 นายวันชนะ ณรงคม์ ี 83.33 ดีมาก 3 นางจิรากรณ์ การกสิขวิธี 81 ดมี าก 4 นายก้องภพ รัตนจันทร์ 75.67 ดี 5 นายชยั ยง เครือภักดี 86.33 ดมี าก 6 นางสาวนจุ นาฏ เชาวไ์ ว 81.33 ดีมาก 7 นางสาวประทปี แกไทยสงค์ 78.67 ดี 8 นายวิทชภณ พวงแก้ว 81.33 ดมี าก 9 นางสาวอัจฉราพรรณ ปานศิลา 76.00 ดี 10 นางสาวกรองกนก แสงทอง 79 ดี 11 นางสาวนริ มล รอดไพ 85.67 ดมี าก 12 นางสาววชั รา จนั ทาสี 82.67 ดมี าก 13 นายจีระศกั ดิ์ อบอาย 80.67 ดีมาก 14 นางสาวละออ โสภา - - (ลาคลอด) 15 นางภรณี สรี อด 85.67 ดีมาก รวม 81.31 ดีมาก จากตารางที่ ๓ แสดงใหเ้ ห็นวา่ ระดบั การปฏบิ ัติของครูผสู้ อนกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ค่าเฉลีย่ เท่ากบั 81.31 คุณภาพการปฏบิ ัตขิ องครูผสู้ อนอยู่ในระดับ ดีมาก ตารางท่ี ๔ ตารางแสดงคะแนนเฉลีย่ ของการนเิ ทศการสอนของครูผูส้ อนกลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ท่ี ชอื่ - นามสกลุ ค่าเฉลย่ี ระดับคณุ ภาพการปฏบิ ัติ หมายเหตุ ของครผู ู้สอน 1 นางสาวศศิกาญจน์ หนิ ไธสง 77 ดี 2 นางสาวฐติ ินันท์ แปน้ ทอง 83 ดมี าก 3 นายพศิ ิษพงษ์ นาคภู่ 84.33 ดีมาก 4 นางสาววรรณวนชั ใจภกั ดี 82 ดมี าก 5 นางสาวนติ ยา สาระบัน 78.66 ดี 6 นางสาวไอรดา มหงิ ษา 81 ดมี าก 7 นายศภุ ชยั นคั ราจารย์ 80 ดมี าก รวม 80.86 ดมี าก จากตารางที่ ๔ แสดงให้เห็นวา่ ระดบั การปฏบิ ัติของครูผ้สู อนกลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย คา่ เฉลีย่ เท่ากับ 80.86 คุณภาพการปฏิบตั ิของครูผู้สอนอยู่ในระดับ ดีมาก
ตารางที่ ๕ ตารางแสดงคะแนนเฉลีย่ ของการนเิ ทศการสอนของครูผูส้ อนกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาตา่ งประเทศ ที่ ชือ่ - นามสกุล คา่ เฉลย่ี ระดบั คณุ ภาพการปฏิบัติ หมายเหตุ ของครผู ้สู อน 1 Miss Carmentica Vista Garillo 84.33 ดมี าก 2 นางสาวจนิ ตรา คาลา 92 ดมี าก 3 Miss Muriel Villar Watawat 83.33 ดีมาก 4 นางสาวศศธิ ร ทองเชือ้ 82.66 ดีมาก 5 นางสาวภทั ราภรณ์ สขุ สวุ รรณ 88.33 ดีมาก 6 นางสาวภทั ราพร เมณฑ์กูล 84.33 ดีมาก 7 นางสาววราภรณ์ โกวโิ ท 85.66 ดีมาก 8 นางนวลอนงค์ สุขจันทร์ 86 ดมี าก 9 นางสาวเบ็ญจา คงหอม 85.66 ดมี าก 10 นางสาวอารยิ า เนียมคำ 84.66 ดีมาก 11 นางสาวกุลณฐั ฐา ภักดอี ำนาจ 82.33 ดีมาก รวม 85.39 ดมี าก จากตารางที่ ๕ แสดงใหเ้ หน็ วา่ ระดับการปฏิบตั ิของครูผ้สู อนกลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ ค่าเฉลีย่ เทา่ กบั 85.39 คุณภาพการปฏบิ ัติของครูผู้สอนอยู่ในระดบั ดีมาก ตารางที่ ๖ ตารางแสดงคะแนนเฉลย่ี ของการนิเทศการสอนของครูผู้สอนกลุม่ สาระการเรยี นร้สู ุขศึกษา พลศกึ ษา ที่ ชื่อ - นามสกุล ค่าเฉลยี่ ระดับคุณภาพการปฏิบตั ิ หมายเหตุ ของครผู สู้ อน 1 นายสยมภู พิลึก 91.66 ดีมาก 85.66 ดมี าก 2 นายพรี ะพงษ์ ชมุ่ สุข ดมี าก 88 ดีมาก 3 นายพเิ ชษ หลวงตา่ งใจ 88.66 ดมี าก 89.66 ดมี าก 4 นายสุทธิพงษ์ สคี ำภา 88.72 5 นายปริญญา สขุ ุประการ รวม จากตารางท่ี ๖ แสดงให้เห็นวา่ ระดบั การปฏบิ ัติของครูผู้สอนกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาพลศึกษา คา่ เฉลี่ยเท่ากับ 88.66 คณุ ภาพการปฏิบัติของครูผสู้ อนอยู่ในระดบั ดีมาก
ตารางที่ ๗ ตารางแสดงคะแนนเฉลย่ี ของการนิเทศการสอนของครูผสู้ อนกลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี ท่ี ชอ่ื - นามสกลุ คา่ เฉลยี่ ระดบั คุณภาพการปฏิบัติ หมายเหตุ ของครผู สู้ อน 1 นางวรรณา ศิริวัฒพงศ์ 86.33 ดมี าก 2 นางสาววภิ ารตั น์ ฉายแสง 85.67 ดีมาก 3 นางสาวสุภัค ชาญถ่นิ ดง 91.67 ดมี าก 4 นางเสาวลกั ษณ์ ศริ วิ ฒั พงศ์ 92.33 ดีมาก 5 นายเกียรติกวิณ กาพย์ไกรแก้ว 91 ดีมาก 6 นายสมพงษ์ ทาหอม 86.00 ดมี าก รวม 88.83 ดีมาก จากตารางท่ี ๗ แสดงให้เห็นวา่ ระดับการปฏิบัติของครูผสู้ อนกลุ่มสาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี ค่าเฉลย่ี เท่ากบั 88.83 คณุ ภาพการปฏิบัติของครผู ู้สอนอยู่ในระดบั ดีมาก ตารางที่ ๘ ตารางแสดงคะแนนเฉลี่ยของการนิเทศการสอนของครผู ู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ท่ี ชือ่ - นามสกุล ค่าเฉล่ยี ระดบั คณุ ภาพการปฏบิ ัติ หมายเหตุ ของครผู ู้สอน 1 นางสนุ ดั ดา แก้วมณี 83 ดมี าก 2 นางจรุ พี ร โพธพิ์ รม 86 ดีมาก 3 นางสาวปัจฉมิ า ลกั ษณะวิเชยี ร 88 ดมี าก 4 นายพรวิศษิ ฐ์ บญุ สด 86 ดีมาก รวม 85.75 ดีมาก จากตารางท่ี ๘ แสดงให้เหน็ วา่ ระดบั การปฏิบัติของครผู ้สู อนกล่มุ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ คา่ เฉล่ีย เทา่ กับ 85.75 คุณภาพการปฏบิ ัติของครผู ู้สอนอยู่ในระดับ ดีมาก ตารางท่ี ๙ ตารางแสดงคะแนนเฉลย่ี ของการนเิ ทศการสอนของครูผู้สอนกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ท่ี ชอ่ื - นามสกุล ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพการปฏบิ ัติ หมายเหตุ ของครผู สู้ อน 1 นางสาวชนกานต์ เฮิงโม 83.66 ดมี าก 2 นางสาวจีรวรรณ นิติธัญญรัตนา 81 ดมี าก รวม 82.33 ดมี าก จากตารางที่ ๙ แสดงใหเ้ หน็ วา่ ระดับการปฏิบัติของครูผูส้ อนกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น คา่ เฉลี่ยเท่ากบั 82.33 คุณภาพการปฏิบัตขิ องครผู สู้ อนอยู่ในระดบั ดีมาก
ตารางท่ี 1๐ ค่าร้อยละระดับคณุ ภาพการปฏบิ ัตขิ องครูผ้สู อนสอดคล้องกับมาตรฐานการศกึ ษาจำแนกตามกล่มุ สาระ ระดับคณุ ภาพการปฏบิ ตั ขิ องครูผสู้ อน ดีมาก ดี คอ่ นขา้ งดี พอใช้ ปรบั ปรุง ท่ี กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จำ จำ จำ ร้อย จำน ร้อย จำ ร้อย รวม นว นว นว ละ วน ละ นว ละ น ร้อยละ น รอ้ ยละ น น 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 11 100 - - - - - - - - 11 คณิตศาสตร์ 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคม 7 100 - - -- - --- 7 ศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 3 กล่มุ สาระการเรียนรู้ 10 71.4 4 28.5 - - - - - - 14 วิทยาศาสตร์ 2 7 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 5 71.4 2 28.5 - - - - - - 7 ภาษาไทย 2 7 5 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 11 100 - - - - - - - - 11 ภาษาตา่ งประเทศ 6 กล่มุ สาระการเรียนร้สู ุขศึกษา 5 100 - - -- - --- 5 และพลศึกษา 7 กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงาน 6 100 - - -- - --- 6 อาชพี 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ 4 100 - - - - - - - - 4 9 กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน 2 100 - - - - - - - - 2 รวม 61 91.0 6 8.96 67 4 จากตารางที่ 1๐ แสดงให้เหน็ ว่าระดับการปฏิบตั ิของครูผสู้ อนโรงเรียนห้วยนำ้ หอมวทิ ยาคารทุกคนมี ความสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาทุกกลุ่มสาระ โดยมีระดับคุณภาพการปฏิบัติของครูผู้สอนจำนวน 61 คน อย่ใู นระดับดมี าก คิดเป็นร้อยละ 91.04 และครผู ูส้ อนจำนวน 6 คน อยูใ่ นระดบั ดี คิดเปน็ ร้อยละ 8.96
ภาพประกอบการนิเทศแบบ On – Site
ภาพประกอบการนิเทศแบบ On – line
ภาพประกอบการสะท้อนผลหลังการสอน
ภาพกจิ กรรม Delivery learning to home
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: