Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันภาษาไทยแห่งชาติ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

วันภาษาไทยแห่งชาติ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

Published by พิสมัย ประทุมวัน, 2021-07-14 11:38:54

Description: วันภาษาไทยแห่งชาติ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

Search

Read the Text Version

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นวดั ทองศาลางาม สานักงานเขตภาษเีจรญิ กรุงเทพมหานคร ๒๙ กรกฎาคม วันภาษาไทยแหง่ ชาติ

ความเป็นไทยโดดเดน่ ดว้ ยภาษา อักษราล้วนหลากมากความหมาย เสน่ห์เสียงสงู ตาคาคมคาย ร่วมสบื สายสานคณุ ค่าภาษาไทย ประสาร บญุ เฉลยี ว

ความเปน็ มาของวนั ภาษาไทยแหง่ ชาติ สืบเนืองจากคณะกรรมการรณรงค์เพือภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ตระหนักในคุณค่าและความสาคัญของ ภาษาไทย และมคี วามห่วงใยในปัญหาต่าง ๆ ทีเกิดขึ้นตอ่ ภาษาไทย รวมถึงเพือกระต้นุ และปลกุ จติ สานึกให้คนไทยท้ังชาติ ได้ตระหนักถึงคุณค่าและความสาคัญของภาษาไทย ตลอดจนร่วมมือกันทานุบารุง ส่งเสริม และอนุรักษ์ภาษาไทยให้คงอยู่คู่ชาติ ไทยตลอดไป จึงไดเ้สนอขอใหร้ ฐั บาลประกาศใหว้ นั ที ๒๙ กรกฎาคม ของทกุ ปี เปน็ \"วันภาษาไทยแหง่ ชาติ\" เชน่ เดยี วกับ วนั สาคัญอืน ๆ ทีรัฐบาลได้จัดใหม้ ีมาก่อนแล้ว คณะรฐั มนตรีจงึ ได้มีมตเิมือวนั อังคารที ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ เหน็ ชอบ ใหว้ ันที ๒๙ กรกฎาคม ของทุกปี เป็น \"วันภาษาไทยแหง่ ชาติ\"

เหตุผลทเีลือกวันที ๒๙ กรกฎาคม เปน็ วันภาษาไทยแห่งชาติ เหตุผลทีเลือกวันที ๒๙ กรกฎาคม เป็นวันภาษาไทยแห่งชาติ เพราะวันดังกล่าว ตรงกับวันทีพระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้เสด็จพระราชดาเนินไปเป็นประธานและทรงร่วมอภิปรายในการ ประชมุ ทางวิชาการของชุมนมุ ภาษาไทย ทคี ณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ณ หอ้ งประชมุ คณะอักษรศาสตร์ เมือวนั ที ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ ทรงเปิดอภิปรายในหวั ข้อ \"ปัญหาการใช้คาไทย\" โดยพระองค์ทรงดาเนินการอภิปรายและทรง สรุปการอภิปราย ทีแสดงถึงพระปรีชาสามารถและความสนพระราชหฤทัยรวมถึงความห่วงใยในภาษาไทย ซึงเป็นทีประทับใจ กับผ้รู ่วมเข้าประชมุ ในคร้ังนน้ั เป็นอยา่ งยงิ

พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพิตร ในครั้งน้นั มใี จความตอนหนึงว่า \"เรามโี ชคดที ีมีภาษาของตนเองแต่โบราณกาล จงึ สมควรอย่างยงิ ทจี ะรักษาไว้ ปัญหาเฉพาะในดา้ นรกั ษาภาษาก็มีหลายประการ อย่างหนึงต้องรักษาใหบ้ รสิ ุทธิ์ ในทางออกเสียง คือ ให้ออกเสียงให้ถูกต้องชัดเจน อีกอย่างหนึงต้องรักษาให้บริสุทธ์ิในวิธีใช้ หมายความวา่ วิธใี ช้คามาประกอบประโยค นับเป็นปัญหาทีสาคญั ปัญหาทีสามคอื ความรารวยในคาของ ภาษาไทย ซึงพวกเรานกึ ว่าไมร่ ารวยพอ จงึ ตอ้ งมีการบัญญัติศพั ท์ใหม่มาใช.้ . สาหรบั คาใหม่ทตี ้งั ขึ้น มีความจาเป็นในทางวิชาการไมน่ อ้ ย แต่บางคาทีง่าย ๆ กค็ วรจะมี ควรจะใชค้ าเก่า ๆ ทเีรามีอยแู่ ล้ว ไม่ควรจะมาตงั้ ศพั ทใ์ หมใ่ ห้ยุ่งยาก..\"

วัตถุประสงคใ์ นการจัดงานวันภาษาไทยแห่งชาติ ๑. เพือเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพติ ร ผทู้ รงเป็นนกั ปราชญ์และนกั ภาษาไทย รวมท้ังเพอื น้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคณุ ของพระองค์ ทไี ด้ทรงแสดงความหว่ งใย และพระราชทานแนวคิดต่าง ๆ เกียวกับการใชภ้ าษาไทย ๒. เพือร่วมเฉลมิ พระเกยี รติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร เนืองในมหามงคลสมยั เฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ในวนั ที ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ ๓. เพือกระตุ้นและปลกุ จิตสานึกของคนไทยใหต้ ระหนักถึงความสาคัญและคุณคา่ ของภาษาไทย ตลอดจนรว่ มมอื รว่ มใจกันทานุบารุงส่งเสรมิ และอนุรกั ษ์ภาษาไทย ซงึ เปน็ เอกลกั ษณ์และเปน็ สมบัติ วฒั นธรรมอนั ลา้ ค่าของชาติ ใหค้ งอยคู่ ่ชู าตไิ ทยตลอดไป

วัตถปุ ระสงค์ในการจดั งานวนั ภาษาไทยแห่งชาติ ๔. เพือเพิมพูนประสทิ ธิภาพในการใช้ภาษาไทย ทงั้ ในวงวิชาการและวชิ าชพี รวมทัง้ เพือยกมาตรฐานการเรียนการสอนภาษาไทยใน สถานศกึ ษาทกุ ระดับใหส้ ัมฤทธผิ ลยงิ ขึ้น ๕. เพอื เปิดโอกาสใหห้ น่วยงานตา่ ง ๆ ทงั้ ภาครัฐและเอกชนทวั ประเทศ มีส่วนร่วมในการจดั กิจกรรมทีหลากหลาย เพอื เผยแพรค่ วามรู้ ภาษาไทยในรูปแบบต่าง ๆ ไปสสู่ าธารณชน ทั้งในฐานะทเีป็นภาษาประจาชาติ และในฐานะทีเป็นภาษาเพือการสือสารของทกุ คนในชาติ

ประโยชน์ทีคาดวา่ จะไดร้ ับจากการมวี นั ภาษาไทยแห่งชาติ ๑. วันภาษาไทยแห่งชาติ จะทาให้หนว่ ยงานต่าง ๆ ท้งั ภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิงหนว่ ยงานในกระทรวงศึกษาธิการ และทบวงมหาวิทยาลยั ตระหนกั ในความสาคัญของภาษาไทย และรว่ มกนั จดั กจิ กรรมเพือกระตนุ้ เตอื น เผยแพร่ และเนน้ ย้าให้ ประชาชนเหน็ ความสาคัญของ \"ภาษาประจาชาต\"ิ ของคนไทยทุกคน และรว่ มมือกันอนรุ ักษ์การใช้ภาษาไทยให้มคี วามถูกตอ้ งงดงาม อยู่เสมอ

ประโยชนท์ คี าดว่าจะไดร้ ับจากการมวี นั ภาษาไทยแห่งชาติ ๒. บุคคลในวงวชิ าชพี ต่าง ๆ ทเีกียวข้องกับการใช้ภาษาไทย โดยเฉพาะในวงการศึกษา และวงการสือสาร ช่วยกนั กวดขนั ดูแลใหก้ ารใช้ภาษาไทยเปน็ ไปอยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม มิให้ผันแปรเปลยี นแปลง จนเกดิ ความเสียหายแก่คณุ ลกั ษณะของภาษาไทยอนั เป็นเอกลักษณ์ ของชาติ ๓. ผลสืบเนืองในระยะยาว คาดวา่ ปวงชนชาวไทยทัวประเทศจะตืนตวั และสนใจทีจะ รว่ มกนั ฟ้นื ฟู ทานุบารุง สง่ เสรมิ และอนุรักษภ์ าษาไทย อันเป็นเอกลกั ษณ์และสมบัติ วฒั นธรรมทีสาคญั ของชาตใิ ห้ดารงคงอยคู่ ชู่ าตไิ ทยตลอดไป

พระราชบดิ าแห่งอกั ษรไทย พ่อขุนราชคาแหงมหาราชเป็นพระราชโอรสองคท์ ี ๓ ของพอ่ ขุนศรีอนิ ทราทิตย์กบั นางเสอื ง พระเชษฐาองค์แรกส้นิ พระชนม์ตงั้ แต่ พ่อขุนรามคาแหงยังทรงพระเยาว์ พระเชษฐาองค์ทสี องทรงพระนามตามศิลาจารกึ ว่า “พระยาบานเมือง” ซึงได้เสวยต่อจากพระราชบิดา และเมือส้ินพระชนม์แล้วพ่อขุนรามคาแหงมหาราชก็เสวยราชย์แทนต่อมา ตามพงศาวดารโยนกพ่อขุนรามคาแหงมหาราชแห่งกรุงสุโขทัย พญามังรายมหาราชแห่งล้านนา และพญางาเมืองแห่งพะเยา เป็นศิษย์ร่วมพระอาจารย์เดียวกัน ณ สานักพระสุกทันตฤาษี ทีเมืองละโว้ จึงน่าจะมีอายุรุ่นราวดราวเดียวกัน โดยพญามังรายประสูติเมือ พ.ศ. ๑๗๘๒ พ่อขนุ รามฯน่าจะประสูติในปีใกล้เคียงกัน พระองค์ทรง เปน็ กษัตรยิ พ์ ระองค์แรกของไทยทไี ดร้ บั การยกยอ่ งเปน็ “มหาราช” ด้วยทรงบาเพ็ญพระราชกรณยี กจิ อนั ทรงคณุ ประโยชน์แกแ่ ผน่ ดิน ทรงรวบรวมอาณาจักรไทยจนเป็นปึกแผ่นกว้างขวาง ทั้งยงั ประดิษฐ์ตัวอักษรไทยข้นึ เมือ พ.ศ. ๑๘๒๖ ทาให้ชาติไทยได้สะสมความรู้ ศลิ ปะ วฒั นธรรม และวิชาการต่าง ๆ สบื ทอดมากว่าเจด็ ร้อยปี

กาเนิดแบบอกั ษรไทย ๑ ทา่ นผรู้ นู้ ักประวตั ิศาสตร์หลายทา่ น คาดกันว่า เรมิ จากแบบอกั ษรคฤนถ์ของอินเดยี ใต้ได้ถกู นามา ดัดแปลงเป็นอักษรขอม อักษรขอมน้ีนามาเขียนภาษาบาลีสันสกฤตได้สะดวก แต่พ่อขุนรามคาแหง มหาราชทางเห็นว่าการนามาเขียนเป็นภาษาไทยนั้นไม่สะดวก เพราะไม่มีวรรณยุกต์เป็นเครืองหมาย กาหนดเสียงสูงตาและมีสระน้อยไม่เพียงพอจะเขียนภาษาไทยได้ตามต้องการ พระองค์จึงทรงมี พระราชดาริแก้ไขแบบอักษรเสียใหม่ให้เป็นลักษณะอักษรไทย (ซึงถ้าสังเกตในศิลาจารึก จะเห็นว่า “น้ี” อยตู่ อ่ คาวา่ “ลายสอื ” ทุกแห่ง คงจะมีความหมายว่า ตัวอักษรแบบนยี้ งั ไมเ่คยมี)

กาเนดิ แบบอกั ษรไทย ๒ แม้วา่ พ่อขุนรามคาแหงมหาราชจะมิได้เป็นผู้ประดิษฐ์รปู อักษรข้นึ โดยพระองค์เองก็ตาม การทีพระองค์ทรงแก้ไขตัวอักษร เสียใหม่ในสมัยกรุงสโุ ขทัยน้ัน นับเป็นการสาคัญ เป็นการพัฒนาต่อยอดทางความคิด คือ การนาภูมิความรทู้ ั้งหลายทีมีอยเู่ดิมมา พัฒนาให้เกิดความเหมาะสม มีความสะดวกในการจารึกและอ่าน อีกท้ังเสียงทีใช้น้ันก็มีความครบถ้วนตามลักษณะเสียงทีใช้ใน ภาษาไทย สงิ นี้นับเป็นคุณประโยชน์อย่างมหาศาลเปน็ ววิ ฒั นาการ อนั ทาใหเ้กดิ ความกา้ วหน้าทางความรู้ และวิทยาการในสมยั น้ัน แสดงให้เหน็ พระอจั ฉริยะภาพในเชิงภาษาศาสตรแ์ ละความเป็นนักปราชญ์ของพระองค์ คร้ันล่วงรัชกาลพ่อขุนรามคาแหงมหาราช แล้ว จะเป็นระยะเวลานานเท่าใดไม่ปรากฏแน่ชัด มีผู้แก้ไขกลับไปใช้คุณลักษณะบางอย่างตามแบบหนังสือขอม ซึงมีสระอยู่ ขา้ งหน้าพยญั ชนะบา้ ง อยู่ขา้ งหลงั พยญั ชนะบา้ ง อยา่ งเชน่ ใชใ้ นแบบหนังสอื ไทยมาจนถึงปัจจุบนั

ลกั ษณะของตวั อักษรไทย พยัญชนะ ๓๙ ตัว

สระ ๒๐ ตวั ลกั ษณะของตัวอกั ษรไทย วรรณยกุ ต์ ๑ รปู ตวั เลข ๖ ตวั

อ้างอิง บลอ็ กกาปกุ . วนั ภาษาไทยแห่งชาติ [ออนไลน์]. ๒๐๒๑, แหล่งทีมา : https://hilight.kapook.com/view/๒๖๒๗๕ [๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๔]

ภาษาไทยถอื เป็นภาษาแหง่ ชาติ และเปน็ เอกลักษณ์ของชาติทีเราคนไทยควรภาคภูมิใจ เพราะบางประเทศไมม่ แี มก้ ระทังภาษาทเีป็นของตวั เอง ดงั นนั้ เราควรอนรุ กั ษ์ภาษาไทยใหค้ งอยู่ และสบื ทอดตอ่ ไปให้ลูกหลานได้ศกึ ษา หากเราคนไทยไมช่ ่วยกนั รักษาไว้ สักวันหนงึ อาจจะไมม่ ีภาษาไทยให้ลูกหลานใชก้ ็เปน็ ได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook