Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

4

Published by 20887, 2019-09-09 02:28:49

Description: 4

Search

Read the Text Version

โครงงานประดษิ ฐ์กระเป๋ าจากกะลามะพร้าว วชิ า ส 31101 สังคมศึกษา ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 จดั ทาโดย นายซันซูรี ยะโก๊ะ นายมูหามดั อภิสิทธ์ิ ยาคอ นายฮาเลง็ เจ๊ะมงิ ครูทปี่ รึกษาโครงงาน นางอรุณีย์ แซ่ลม่ิ กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม โรงเรียนมธั ยมสุไหงปาดี อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส

ก ชื่อโครงงาน โครงงานประดิษฐ์ เรื่อง กระเป๋ าจากกะลามะพร้าว ชื่อนักเรียน นาย ซนั ซูรี ยะโก๊ะ นาย มูหามดั อภิสิทธ์ิ ยาคอ นาย ฮาเลง็ เจะ๊ มงิ ระดบั ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ที่ 4/2 ชื่อครูท่ปี รึกษา นาง อรุณีย์ แซ่ลม่ิ โรงเรียน มธั ยมสุไหงปาดี ปี พ.ศ. 2553 บทคดั ย่อ โครงงานประดิษฐน์ ้ีเป็นการศึกษาคน้ ควา้ และประดิษฐโ์ ดยนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 โรงเรียนมธั ยมสุไหงปาดี เร่ือง กระเป๋ าจากกะลามะพร้าว โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ประดิษฐก์ ระเป๋ า ท่ีเกิดจากการเรียนรู้จากภูมิปัญาทอ้ งถน่ิ และเพือ่ ศกึ ษาถึงวธิ ีการใชก้ ระเป๋ าจาก กะลามะพร้าวจากภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ของไทย วธิ ีดาเนินงาน มกี ารประชุมวางแผน ไปศกึ ษาเรียนรู้ เร่ือง การทากระเป๋ าจาก กะลามะพร้าว จากวิทยากรทอ้ งถ่ิน และลงมือปฎิบตั ิประดิษฐก์ ระเป๋ าจากกะลามะพร้าว สรุปผล และรายงานโครงงาน ผลการดาเนินการ จากผลการตรวจสอบคุณภาพและประสิทธิภาพการใชง้ าน โดยการ นาไปใส่ส่ิงของ ผลปรากฏว่า ใส่ส่ิงของอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และการศกึ ษาเรียนรู้ เร่ืองกระเป๋ า จากภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินสามารถนามาประดษิ ฐ์ กระเป๋ าอยา่ งถูกวธิ ีและมีประสิทธิภาพในการใส่ สิ่งของ

ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานประดษิ ฐ์ เร่ือง กระเป๋ าจากกะลามะพรา้ ว ไดค้ าปรึกษาข้นั ตอนการทาโครงงาน การเขียนรายงานโครงงาน และไดร้ ับคาแนะนาจาก คุณครู อรุณีย์ แซ่ล่ิม ดว้ ยดีมาตลอด และ วิทยากรทอ้ งถน่ิ นาย อบั ดุลเลาะ ยะโก๊ะ ท่ีใหค้ วามรู้ในเรือง การทากระเป๋ าจากกะลามะพร้าว คณะผจู้ ดั ทาขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูง ณ โอกาสน้ีดว้ ย คณะผจู้ ดั ทา ยะโกะ๊ นาย ซนั ซูรี ยาคอ นาย มูหามดั อภิสิทธ์ิ เจ๊ะมิง นาย ฮาเลง็

สารบัญ หนา้ เร่ือง ก ข บทคดั ยอ่ 1 กิตตกิ รรมประกาศ 2 บทที่ 1 บทนา 5 บทที่ 2 เอกสาร 6 บทที่ 3 อปุ กรณ์และวิธีการศกึ ษา 7 7 อุปกรณ์และวสั ดุท่ีใช้ 8 วิธีการศกึ ษา 8 บทที่ 4 ผลการศึกษาและอภิปรายผลการศกึ ษา 8 บทที่ 5 สรุปผลของการศกึ ษา 9 ประโยชน์ที่ไดจ้ ากโครงงาน 10 ขอ้ เสนอแนะ เอกสารอา้ งองิ บุคลานุกรม

บทที่ 1 บทนา ทม่ี าและความสาคญั ของโครงงาน กระเป๋ าจากกะลามะพร้าวเป็นภูมิปัญญาชาวบา้ นที่ชาวบา้ นรุ่นหลงั คิดประดิษฐข์ ้ึนมา คือ กะลามะพร้าวนามาทาทรงใหเ้ ป็นกระเป๋ า ซึงเป็นเรื่องที่เหมาะสมกบั ทอ้ งถิน่ หาวสั ดุไดง้ ่าย เพราะใชม้ ะพร้าวประกอบอาหารในชีวิตประจาวนั จึงเหลอื วสั ดุเหลือใช้ คือ กะลา จึงคิดนามาใช้ ประโยชน์ จึงไดท้ าโครงงานประดิษฐก์ ระเป๋ าจากกะลา วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อใหป้ ฎิบตั ิกระเป๋ าเบ้ืองตน้ ได้ 2. เพอื่ ใหม้ ีความรักความภูมิใจกบั ภูมิปัญญาและแหล่งเรียนรู้ในทอ้ งถน่ิ สมมตฐิ านของการศึกษา กะลามะพร้าวสามารถมาทาเป็นกระเป๋ าได้ ตวั แปรที่เกยี่ วข้อง ตวั แปรต้น กะลามะพร้าวนามาประดิษฐส์ ่ิงของเคร่ืองใชใ้ นครัวเรือน ตวั แปรตาม กระเป๋ าจากกะลามะพร้าว ขอบเขตของโครงงาน 1. เร่ือง โครงงานประดิษฐก์ ระเป๋ าจากกะลามะพร้าว 2. ระยะเวลาในการทาโครงงานวนั ที่ 21- 30 สิงหาคม 2553

บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง ความเป็ นมา “มะพร้าว” เป็นพชื ท่ีคนไทยรูจ้ กั กนั เป็นอยา่ งดี เพราะในวถิ ชี ีวติ ของคนไทยไดน้ า มะพร้าวมาผกู พนั กบั ชวี ติ ประจาวนั มากมายหลายอยา่ ง นบั ต้งั แต่การนามาบริโภค ปรุงอาหารคาว หวาน การนาส่วนต่าง ๆ ของมะพร้าวมาใชใ้ นงานพธิ ีต่าง ๆ เช่น พิธีลงเสาเอก พธิ ีแห่ขนั หมาก พธิ ี บวงสรวง และงานบุญต่าง ๆ ถา้ จะพดู ถงึ ประโยชนข์ องมะพร้าวโดยละเอียดเราจะพบวา่ ทกุ ส่วน ของตน้ มะพร้าวสามารถนามาใชป้ ระโยชนไ์ ดท้ ้งั ส้ิน เช่น ราก ใชท้ าสียอ้ มผา้ และทาของใชเ้ คร่ืองประดบั บา้ น เช่น ตะกร้า กระเชา้ ดอกไม้ กรอบรูป ฯลฯ ต้น ใชท้ าเครื่องเรือน เฟอร์นิเจอร์ ไมก้ ระดาน ฯลฯ ทางมะพร้าว ใชท้ าร้ัว ทาฟื น ฯลฯ ใบมะพร้าว ใชม้ ุงหลงั คา ทาภาชนะใส่ของ หมวก ของเดก็ เลน่ ฯลฯ ก้าน ใชท้ าไมก้ วาด กา้ นดอกไมป้ ระดิษฐ์ มลู่ ่ี ตะกร้า ฯลฯ รกมะพร้าว ทาเป็นของใช้ เช่น รองเทา้ กระเป๋ า หมวก กลอ่ ง ฯลฯ จนั่ มะพร้าว ทาโครงเรือ นามาประดษิ ฐข์ องใชต้ ่าง ๆ เช่น กรอบรูป เชิงเทียน ฯลฯ ผลมะพร้าว ส่วนท่ีเป็นเสน้ ใย และขยุ ใชท้ าเบาะ เกา้ อ้ี ท่ีนอน พรมเช็ดเทา้ เชือก ผสมดิน เพาะชา ตอนก่ิงตน้ ไม้ ฯลฯ ส่วนท่ีเป็นเน้ือใชบ้ ริโภค นา้ มะพร้าวใชด้ ื่มแกก้ ระหาย ทานา้ สม้ สายชู ฯลฯ ส่วนของลกู มะพร้าวอีกส่วนหน่ึง ซ่ึงเป็นวสั ดุเหลอื ใชค้ ือ “กะลามะพร้าว” เมอ่ื ถูกมนุษยเ์ อา เน้ือออกไปรับประทานหมดแลว้ กเ็ ป็นเศษวสั ดุท่ีไมค่ ่อยมีราคาค่างวดสกั เท่าไรคนสมยั ก่อนมกั นา ไปใชท้ าเช้ือเพลงิ หรืออยา่ งดีก็คิดเอาไปทาเคร่ืองใชใ้ นครวั เรือน เช่น กระบวย ตกั น้า ทพั พี ถว้ ย ชาม ฯลฯ ความสาคญั ของกะลามะพร้าวในสมยั ก่อนมคี ่าไม่มากนกั จึงมีการเปรียบเปรยคนที่ใช้ ชีวิตอยา่ งไร้คุณค่าเหมอื นกะโหลกกะลา ทางภาคใตผ้ ทู้ ี่ชอบเถลไถลไมท่ าอะไรเลย จะถกู เรียกขาน ว่า “ไอพ้ ลกไอต้ อ้ ” เป็นการบ่งบอกถงึ ความไรค้ ่าเสมอดว้ ยกะลา ต่อมาภูมปิ ัญญาไทยหลายคนหลาย แหลง่ ทวั่ ทุกภาคของประเทศ ไดค้ ิดประดิษฐเ์ พ่มิ คุณค่าจากกะลาที่ไร้ค่าไดค้ ิดประดิษฐเ์ พ่ิมคณุ ค่า จากกะลาที่ไร้ค่า มาเป็นผลติ ภณั ฑร์ ูปแบบใหม่ที่นอกจากจะทาเป็นเครื่องใชใ้ นครัวเรือนแลว้ ยงั ประดิษฐเ์ ป็นเครื่องตกแต่งท่ีนอกจากจะทาเป็นเครื่องใชใ้ นครัวเรือนแลว้ ยงั ประดษิ ฐเ์ ป็นเครื่อง ตกแต่ง บา้ น เช่น โคมไฟ ตะเกียงเจา้ พายุ ฯลฯ เครื่องประดบั เคร่ืองแต่งกายสุภาพสตรี 13 เช่น กระเป๋ าถือ เข็มขดั เคร่ืองแต่งกายสุภาพสตรี 13 เช่น กระเป๋ าถอื เข็มขดั เข็มกลดั ปิ่ นปักผม สร้อย ฯลฯ

3 ซ่ึงผลติ ภณั ฑเ์ หล่าน้ีเป็นท่ีนิยมของชาวไทย และชาวต่างชาติสร้างรายไดเ้ พม่ิ พูน (http://www.nidtep.go.th/quality/download/125321678) ในอดีตกะลามะพร้าวถูกนามาทาเครื่องใชห้ ลายชนิดที่ยงั พอมใี หเ้ ห็นเป็นของเก่าอยบู่ า้ งคือ จอกตกั น้า หรือกะโหลกตกั น้า หรือ ทะนาน ที่ใชส้ าหรับตกั ขา้ วสาร และยงั มีอกี หลายชนิดท่ี แลว้ แต่จะเรียกช่ือกนั นบั เป็นภูมปิ ัญญาของคนสมยั ก่อนทมี่ วี ิถชี ีวิตแบบ ไทย ๆ ใชข้ องไทยที่ผลิต ข้ึนเองจากวสั ดุในทอ้ งถน่ิ ส่ิงต่าง ๆ เหล่าน้ีเริ่มเลือนหายเมื่อความเจริญทางดา้ นเทคโนโลยตี ่าง ๆ เขา้ มาแทนที่จึงหนั ไปใชพ้ วกโลหะหรือพลาสติกแทน ผลติ ภัณฑ์จากกะลามะพร้าว แต่ปัจจุบนั ยงั มคี นบางกลุ่มท่ีเห็นประโยชน์ของกะลามะพร้าว และพยายามฟ้ื นฟูภูมปิ ัญญา ทอ้ งถน่ิ ในการสร้างคุณค่าใหเ้ กิดกบั กะลามะพร้าว ซ่ึงเป็นวสั ดุเหลอื ใชใ้ นทอ้ งถน่ิ และเชิญชวนให้ คนทวั่ ไปหนั กลบั มาเห็นคุณค่าของภูมิ ปัญญาเหลา่ น้ี นายพีรพล โสวตั ร ประธานกลุ่มแปรรูปกะลามะพร้าว ต.หนองยาว อ.พนมสารคาม จ. ฉะเชิงเทรา สงั กดั สหกรณ์การเกษตรพนมสารคาม จากดั เปิ ดเผยวา่ การสร้างผลติ ภณั ฑจ์ าก กะลามะพร้าวเริ่มตน้ จาก อ.บุญเสริม บุญเจริญผล เป็นคนในพ้นื ที่น้ีและอยากช่วยชาวบา้ นใหม้ ี อาชีพ ท่านเห็นว่าพ้ืนที่น้ีมมี ะพร้าวเป็นทรัพยากรเลยคิดวา่ น่าจะเอามาทาประโยชน์ จึงส่งให้ ไปเรียนรู้จากกระทรวงอตุ สาหกรรมเก่ียวกบั อุตสาหกรรมพ้ืนบา้ นระยะส้นั หลงั จากน้นั จึงนา ความรู้มาถ่ายทอดและทาสินคา้ เริ่มแรกทาเป็นเคร่ืองใช้ พวกแกว้ น้า ชามใส่ ขา้ ว ถว้ ย ห้ิวไปขาย หนา้ รามฯ หนา้ จตุจกั ร แต่ไมป่ ระสบผลสาเร็จก็ปรับปรุงมาเรื่อย ๆ จากเครื่องใชเ้ ป็นเครื่องประดบั เคร่ืองตกแต่งลองตลาดไปเร่ือย ๆ จากการไปขายของทาใหร้ ู้ว่าเราตอ้ งผลิตตวั ไหน เริ่มแรกเราไปตระเวนหามะพร้าวที่เขาท้ิงพวกมะพร้าวท่ีเพาะไมข่ ้นึ มะพร้าวหล่น มะพร้าวท่ีไม่สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ไดข้ อเขามา สมาชิกแต่ละคนจะเลอื กมะพร้าวตามขนาดที่ ตอ้ งการ แลว้ ปอกเปลอื กเพื่อคดั แยกขนาดว่าลูกไหนจะไปทาอะไร ทานก ทากา ทาแกว้ กาแฟ คดั เสร็จนามาเล่อื ยหรือผา่ เอาเน้ือในออกซ่ึงเอาออกยากมากและการแคะเน้ือออกตอ้ งใชค้ วามชานาญ พิเศษ

4 เสร็จแลว้ เอามาเจียดว้ ยกระดาษทรายหยาบและกระดาษทรายละเอียดจนถงึ สาเร็จรูป แลว้ มาตก แต่งข้ึนรูป ผลิตภณั ฑบ์ างตวั เช่น ทพั พี ตะหลวิ มไี มต้ าลเป็นส่วนประกอบก็หาไดใ้ น พ้นื ที่ ส่วนผกั ตบท่ีนามาตกแต่งสายไฟไปซ้ือจากอกี กล่มุ ท่ีอยตู่ ่างจงั หวดั แต่ซ้ือคร้ังละจานวนมาก จะไดร้ าคาถกู เก็บไดเ้ ป็นปี ส่วนเคร่ืองมอื ในการทามีมอเตอร์ สวา่ น เลือ่ ย ต้งั กล่มุ เสร็จแลว้ จึงซ้ือ แต่ช่วงที่ ทานาร่องก็มกี ารซ้ือเคร่ืองมาก่อนบา้ ง ซ่ึงเคร่ืองมือบางอยา่ งตอ้ งมาดดั แปลงแกไ้ ขเพราะ กะลาเป็นวตั ถุดิบท่ีมคี วามกลมไม่เหมอื นไม้ เคร่ืองมอื ส่วนใหญ่ที่เขาทาข้ึนเหมาะกบั การทาไม้ ฉะน้นั เราจึงตอ้ งนามาดดั แปลงเพอ่ื ใหใ้ ชง้ านไดซ้ ่ึงลงทุนไมม่ าก นายพรี พล กลา่ วอีกวา่ การพฒั นาตลาดเราเป็นกลุ่มเลก็ แต่ก็ทาตลาดอยา่ งต่อเน่ือง ช่วง หลงั รูปแบบของสินคา้ เกิดจากการออกตลาด ออกบูธ ลกู คา้ เอารูปแบบมาเสนอใหท้ า ทาใหเ้ ห็น รูปแบบใหม่ ๆ ก็มาช่วยกนั คิด ช่วยกนั ทาและลองตลาด เราขายอยตู่ ลอด ฝ่ ายขายของเราจะบอกว่า อนั น้ีทาแลว้ ขายไดก้ ็จะทา มกี ารทาบญั ชียอดขายเดือนหน่ึงประมาณ 70,000-100,000 บาท ปัจจุบนั มีสินคา้ ประมาณ 20 ชนิด เครื่องประดบั เช่น สร้อยขอ้ มอื สร้อยคอ แหวน ต่าง หู กิ๊บ ปิ่ นปักผม พวงกญุ แจ หวี เครื่องใช้ เช่น ทพั พี ตะหลิว ชอ้ น แกว้ กาแฟอนื่ ๆ ท่ีเป็นของโบราณ เคร่ืองตกแต่งบา้ น เช่น โคมไฟ ที่วางสบู่ ที่ใส่ทิซชู ราคาสินคา้ ข้ึนกบั ความยากง่ายของสินคา้ ที่ คานวณออกมาวา่ น่าจะอยไู่ ด้ คานวณจากตน้ ทนุ ของค่าแรง ราคาท่ีต่าสุดต้งั แต่ 10 บาท ถงึ 1,500 บาท ราคาถูกสุด 10 บาท ไดแ้ ก่พวงกุญแจ สร้อยคอ สร้อยขอ้ มือ กาไร ซ่ึงทามาจากกะลาที่เราเจาะท้ิงจากการทาอปุ กรณ์ช้ินอน่ื ๆ ซ่ึงช่วงหลงั ไม่ตอ้ งตระเวน หามะพร้าวเองแต่จา้ งเขารวม ๆ ไวแ้ ลว้ ไปขนเอง ตลาดที่เราขายมสี ่วนราชการช่วยหาให้ เช่น พฒั นาชุมชน สหกรณ์ พาณิชย์ เป็นตลาดงานฝีมอื งานโอทอป งานแปรรูป และเราไปเปิ ดบูธหาเอง ตามหา้ ง ส่วนตลาดมีท้งั ต่างประเทศ กบั ตลาดในประเทศ สินคา้ บางตวั แยกตลาด 2 ประเภท คือ เดินตลาดขายเอง ก็จะทาประเภทท่ีชาวบา้ นซ้ือได้ กบั รอออร์เดอร์จาพวกโคมไฟ ซ่ึงตามโรงแรมจะ สง่ั ทา ส่วนต่างประเทศจะมพี ่อคา้ ท่ีเป็นบริษทั มารับซ้ือเรารับจา้ งผลติ สินคา้ ส่งไปหลายประเทศ ไดแ้ ก่ แคนาดา อเมริกา ญ่ีป่ ุน ไตห้ วนั สาหรับการผลิตสินคา้ ของกลมุ่ น้นั มีท้งั มาร่วมกนั ผลติ ท่ีกลมุ่ และนาไปทาที่บา้ น ซ่ึง สมาชิกจะไดค้ ่าแรงตามช้ินงานตามความสามารถของแต่ละคน เช่น โคมไฟ 1 ตน้ จะไดค้ ่าแรง

5 ประมาณ 60-80 บาท แต่อุปกรณ์ทางกล่มุ จดั หาให้ และกาไรท่ีไดต้ อนสิ้นปี นามาจดั สรรคืนสมาชิก ตามความสามารถผลิตภณั ฑจ์ ากกะลามะพร้าว ของดีจากธรรมชาติรถของแต่ละคน ซ่ึงสมาชิกจะมี การใหค้ ะแนนกนั เองตามความสามารถของแต่ละคนกจ็ ะจดั สรรค่าแรงใหเ้ พม่ิ ตามสดั ส่วนของ คะแนน ส่วนที่เหลือแบ่งเป็นทุนส่วนหน่ึงและเป็นการจดั การส่วนหน่ึง “อยา่ งไรกต็ าม ที่ผา่ นมา กล่มุ เรา เป็นกลมุ่ ท่ีเขม้ แข็งท่ีสุดไมเ่ คยไดร้ ับงบประมาณของใคร แต่เมอื่ ปี ที่แลว้ ไดร้ ับจากสหกรณ์ฯ 40,000 บาท นามาซ้ือเครื่องมอื วตั ถดุ ิบและใชใ้ นระบบการจดั การ และเคยไดร้ ับจากพฒั นาชุมชน มา 3,500 บาท เม่อื 3-4 ปี ที่ผา่ นมา ต้งั แต่มี otop ช่วงแรก ๆ เขาเห็นเราออกงานแลว้ เขากต็ ามมาดูวา่ ใชส้ ิ่งเหลอื ใชจ้ ึง ช่วยเหลือเพราะเราใชว้ สั ดุในทอ้ งถ่ินเกือบ 100% ประมาณ 5% เป็นพวกกาว ปลก๊ั ไฟ หลอดไฟท่ี ตอ้ งพ่งึ พาตลาด แรงงานก็เป็นของเรา ผลิตภณั ฑน์ ้ีมาจากทอ้ งถิ่นในช่วง otop กาลงั เป็นท่ีนิยมส่วน ราชการมาช่วยเยอะ หลงั จากน้นั otop หายไปคร่ึงหน่ึง อีกคร่ึงหน่ึงตอ้ งเก่งจริงและตอ้ งช่วยเหลอื ตวั เองจริง ๆ จึงอยไู่ ดผ้ ลิตภณั ฑข์ องเราไดร้ ับการรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรมผลติ ภณั ฑช์ ุมชน หรือ มผช.” นายพิเชษฐ์ วิริยะพาหะ สหกรณจ์ งั หวดั ฉะเชิงเทรา เปิ ดเผยวา่ กล่มุ แปรรูปกะลามะพร้าว ไดร้ ับการอบรมการจดั ทาบญั ชี วเิ คราะห์ตน้ ทุนและแผนธรุ กิจภายใตโ้ ครงการหน่ึงตาบล หน่ึง ผลติ ภณั ฑเ์ ม่ือปี 2549 จากกรมส่งเสริมสหกรณ์ และไดร้ ับสนบั สนุนเงินทุนหมุนเวยี น จานวน 40,000 บาท ในปี 2550 เพ่ือเป็นทุนหมุนเวยี นในการจดั ซ้ือวตั ถดุ ิบ กลมุ่ น้ีมีการจดั ทาบญั ชขี องกลุม่ เป็นปัจจุบนั และมีการผลติ สินคา้ อยา่ งต่อเน่ือง และเป็น กลุ่มท่ีมีการเช่ือมโยงเครือข่ายกบั กล่มุ อืน่ ๆ เช่น กลุ่มกะลา จ.นครนายก กลมุ่ ศิลปะประดษิ ฐ์ จ. หนองบวั ลาภู มีการ นาสินคา้ ไปฝากขายในโอกาสต่อไปสามารถ จะพฒั นาใหก้ า้ วหนา้ ได้ เพราะมี ยอดขาย อยแู่ ลว้ และในปี น้ีสานกั งานสหกรณ์ ไดส้ นบั สนุนงบประมาณในการทาบรรจุภณั ฑเ์ พื่อ เป็นการเพมิ่ มูลค่าของสินคา้ ใหม้ ากข้ึนและยงั ช่วยหาตลาดใหเ้ พ่มิ มากข้ึน (http://www.vcharkarn.com/vblog/62216)

บทท่ี 3 อุปกรณ์และวธิ ีการศึกษา เคร่ืองมือท่ใี ช้การศึกษา 1. มดื 2. กรรไกร 3. กะลามะพร้าว 4. ซิป 5. กระดาษทราย 6. ดา้ ย 7. สว่าน / ท่ีเจาะ 8. กลอ้ งถ่ายรูป วธิ ีการศึกษาค้นคว้า 1. ประชุมวางแผน 2. ออกปฏิบตั ิการสมั ภาษณ์ผรู้ ู้ในทอ้ งถ่ิน 3. คน้ ควา้ ขอ้ มลู จากอนิ เตอร์เน็ต 4. ปฏบิ ตั ิการประดษิ ฐก์ ระเป๋ าจากกะลา 6. สรุปผลและรายงานโครงงาน

7 ข้นั ตอนการประดิษฐ์กระเป๋ าจากกะลา 1. นากะลามาตดั ใหเ้ ป็นวงกลม หรือ อ่ืนตามที่ตอ้ งการ ใชก้ ระดาษทรายขดั กะลา 2. ใชส้ ว่านเจาะรูกะลาท้งั สองชิ้น ใหม้ ีระยะห่างตรงกนั 3. ใชเ้ ชือกหรือดา้ ยเยบ็ กะลาใหต้ ิดกบั ซิป

บทที่ 4 ผลการศึกษาและอภปิ รายผลการศึกษา จากการท่ีทาใหผ้ จู้ ดั ทาโครงงานประดิษฐก์ ระเป๋ าจากกะลามะพร้าวพบว่าประดษิ ฐใ์ นคร้ัง น้ีทาใหผ้ จู้ ดั ทาโครงงานมีความรักความเขา้ ใจเก่ียวกบั การประดิษฐก์ ระเป๋ าจึงทาใหป้ ฎิบตั ิการ ประดิษฐป์ ระดิษฐ์ ไดแ้ ละทาใหม้ คี วามภูมใิ จกบั ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ และสามารถทาใหม้ ีนิสยั รักและ ร่วมพฒั นา ฝีมือกบั การอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม ภาพ 4.1 แสดงผลงานประดิษฐก์ ระเป๋ าจากกะลามะพร้าว จากภาพที่ 4.1 พบว่าผลงานการประดษิ ฐม์ คี วามสมบูรณ์และสวยงาม

บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา สรุปผลการศึกษา จากการทาโครงงานการประดิษฐก์ ระเป๋ าจากกะลามะพร้าวสอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคท์ ี่ วางแผนไวค้ ือ เพ่ือประดิษฐก์ ระเป๋ า ท่ีเกิดจากการเรียนรู้จากภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ และเพ่อื ศกึ ษาถงึ วธิ ีการใชก้ ระเป๋ าจากกะลามะพร้าวจากภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นของไทย ประโยชน์ทไ่ี ด้จากโครงงาน จากการศกึ ษาสามารถศกึ ษาความเป็นมาและประวิติของกระเป๋ าอยา่ งถกู ตอ้ ง เนื่องจาก ขอ้ มลู ในหนงั สือในหอ้ งสมุดและการสอบถามประชาชมชนที่ทราบประวติ ิความเป็นมาและวิชีการ ทากระเป๋ าจากกะลามะพร้าวและนามาประดิษฐใ์ ชว้ ชิ าสงั คมศกึ ษาและ วฒั นะวาม ข้อเสนอแนะ ในการทาการประดิษฐส์ ิงของควรเลอื กประดิษฐอ์ ะไรงา่ ย ไมค่ วรเลือกประดิษฐส์ ิ่งของ ท่ียากๆ เพราะอาจทาให้ เราเล่าบากได้ ควรเลอื กเพื่อนอยใู่ นกลุ่มบา้ นตอ้ งใกลก้ นั เพราะจะไดไ้ ม ลาบากในการปรึกษาทาโครงงาน

เอกสารอ้างองิ http://www.nidtep.go.th/quality/download/125321678 : วนั ที่ 23 สิงหาคม 2553 http://www.vcharkarn.com/vblog/62216 : วนั ท่ี 23 สิงหาคม 2553

บุคลานุกรม นายอนั ดุลเสะ ยะโกะ๊ ( ผใู้ หส้ มั ภาษณ์ ) นายซนั ซูรี ยะโกะ๊ นายมูหามดั อภิสิทธ์ิ ยาคอ และ นายฮาเลง็ เจ๊ะมิง (ผสู้ มั ภาษณ์) บา้ นเลขที่ 1 หมู่ 1 ต. ปะลุรุ อ. สุไหงปาดี จ. นราธิวาส

ภาคผนวก

โครงงานประดษิ ฐ์ตะกร้าจากขวดนา้ พลาสตกิ ส 31101 สังคมศึกษา ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 จดั ทาโดย ศรีสืบ นายสถาพร สาแลแม นายอสั ลนั ครูที่ปรึกษาโครงงาน แซ่ลม่ิ นางอรุณยี ์ กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม โรงเรียนมธั ยมสุไหงปาดี อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส

ก ชื่อโครงงาน โครงงานประดิษฐ์ เรื่อง ทาตะกร้าจากขวดน้าพลาสติก ชื่อนกั เรียน นาย สถาพร ศรีสืบ นาย อสั ลนั สาแลแม ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4/2 ช่ือครูท่ีปรึกษา นาง อรุณีย์ แซ่ลิ่ม โรงเรียน มธั ยมสุไหงปาดี ปี พ.ศ. 2553 บทคัดย่อ โครงงานประดษิ ฐน์ ้ีเป็นการศึกษาคน้ ควา้ และประดิษฐโ์ ดยนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 โรงเรียนมธั ยมสุไหงปาดี เร่ือง ทาตะกร้าจากขวดน้าพลาสติก โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ ประดิษฐ์ ตะกร้าท่ีเกิดจากการเรียนรู้จากภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น และเพ่อื ศกึ ษาถึงวธิ ีการใชต้ ะกร้าจาก ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ินของไทย วธิ ีดาเนินงาน มีการประชุม ไปศึกษาเรียนรู้ เรื่อง ทาตะกร้าจากขวดน้าพลาสติก จากวิทยากรทอ้ งถน่ิ และลงมือปฏบิ ตั ิประดิษฐต์ ะกร้า สรุปผลและรายงานโครงงาน ผลการดาเนินการ จากผลการตรวจสอบคุณภาพและประสิทธิภาพการใชง้ าน โดยการ นาเส้ือผา้ มาใส่ในตะกร้า ผลปรากฏวา่ สามารถ บรรจุเส้ือผา้ ไดด้ ี และการศกึ ษาเรียนรู้ เรื่องตะกร้า จากการรีไซเคิลและสามารถนามาประดิษฐ์ ตะกร้าอยา่ งถกู วิธีและมีประสิทธิภาพในการใส่เส้ือผา้

ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานประดิษฐ์ เรื่อง ทาตะกร้าจากขวดน้าพลาสติก ไดค้ าปรึกษาขอ้ เสนอแนะ และความช่วยเหลือจาก คุณครู อรุณีย์ แซ่ลิม่ ดว้ ยดีมาตลอด และวิทยากรทอ้ งถนิ่ นางพชั รมาศ สาแม ท่ีใหค้ วามรู้ในเรื่อง การทาตะกร้าจากขวดน้าพลาสติก คณะผจู้ ดั ทา ขอขอบพระคณุ เป็นอยา่ งสูง ณ โอกาสน้ีดว้ ย คณะผจู้ ดั ทา นาย สถาพร ศรีสืบ นาย อสั ลนั สาแลแม

สารบัญ หนา้ ก เรื่อง ข บทคดั ยอ่ 1 กิตติกรรมประกาศ 2 บทที่ 1 บทนา 4 บทท่ี 2 เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ ง 4 บทท่ี 3 อปุ กรณ์และวิธีการศกึ ษา 4 อปุ กรณ์และวสั ดุที่ใช้ 5 วธิ ีการศกึ ษา 5 บทที่ 4 ผลการคกึ ษา และอภิปรายผลการศึกษา 5 บทท่ี 5 สรุปผลของการศึกษา 6 ประโยชนท์ ่ีไดจ้ ากโครงงาน 7 ขอ้ เสนอแนะ เอกสารอา้ งองิ บุคลานุกรม

บทท่ี 1 บทนา ทมี่ าและความสาคญั ของโครงงาน ทาตะกร้าจากขวดน้าพลาสติกเป็นภูมปิ ัญญาชาวบา้ นท่ีชาวบา้ น คิดคน้ ข้ึนมา คือ นาขวด น้าพลาสติกมาทาเป็นทรงของตะกรา้ ซึงเป็นการนาของกลบั มารีไซเคิล และ หาวสั ดุไดง้ ่ายใน ทอ้ งถ่นิ เพราะขวดน้าท่ีเหลอื จากการดื่ม เป็นวสั ดุท่ีเหลอื ใช้ จึงไดจ้ ดั ทาโครงงานทาตะกร้าจากขวด น้าพลาสติกข้ึนมา วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อนาส่ิงของท่ีใชแ้ ลว้ นากลบั มาใชใ้ หม่ 2. เพ่อื เป็นการอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม สมมตฐิ านของการศึกษา ขวดน้ าพลาสติกสามารถนามาทาเป็ นตะกร้าได้ ตวั แปรที่เกี่ยวข้อง ตวั แปรต้น ขวดน้าพลาสติกท่ีเหลือใช้ ตวั แปรตาม ตะกร้าจากขวดน้าพลาสติก ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 1. โครงงานประดษิ ฐ์ ทาตะกร้าจากขวดน้าพลาสติก 2. ระยะเวลาในการทาโครงงานวนั ที่ 21-30 สิงหาคม 2553

บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กี่ยวข้อง ความเป็นมาของตะกร้าจากขวดน้าพลาสติก คือตอ้ งการนาสิ่งของที่ใชแ้ ลว้ นากลบั มาใช่ ใหม่ จึงไดค้ ิดคน้ การประดิษฐน์ ามาใชป้ ระโยชน์อีกคร้ัง วสั ดุอุปกรณ์ในการทาตะกร้าจากขวดนา้ พลาสตกิ พลาสติก คือ ซ่ึงสามารถหลอ่ หลอมใหเ้ ป็นรูปร่างต่างๆได้ พลาสติกเป็นวสั ดุซ่ึงมี เสถยี รภาพ(stable) เม่อื อยู่ ในข้นั เป็นผลิตภณั ฑ์ นาไปใช้ ในงานต่างๆ แต่เม่อื อยใู่ นข้นั ตอนการผลติ น้นั วสั ดุพลาสติก จะมลี กั ษณะอ่อนตวั สามารถทาใหม้ รี ูปร่าง หรืออดั แบบได้ ตามท่ีตอ้ งการ โดย ใชค้ วามร้อน และ ความกดดนั วสั ดุพลาสติกที่ถอื ว่าเป็นชนิดแรกคือ เซลลูลอยด(์ celluloid) ที่ถูกใชแ้ ทนงานชา้ งในการ ทาลูกบิลเลยี ด ในช่วงหลงั ของศตวรรษท่ี 19 โดยผคู้ ิดทาข้นึ คือ จอห์น เวสเย์ ไฮแอทท์ (John Wesley Hyatt) ใชเ้ ซลลโู ลสไนเทรต(cellulose nitrate) ผสมกบั การบรู( camphor) ประเภทของพลาสตกิ พลาสติกแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ 1. เทอร์มอพลาสติก(thermoplastics) เป็นพลาสติกที่เม่อื ทาเป็นผลติ ภณั ฑ์ แลว้ ยงั สามารถนากลบั มาหลอมใหม่ ใชง้ านใหม่ไดเ้ รื่อยๆ 2. เทอร์มอเซตติงพลาสติก (thermosetting plastic) เป็นพลาสติกท่ีเม่ือทา เป็นผลติ ภณั ฑ์ แลว้ ไมส่ ามารถจะนาไปหลอม นากลบั มาใชใ้ หม่อีก เน่ืองจากในข้นั ตอนที่ทาเป็นผลิตภณั ฑน์ ้นั จะ มกี ารเปล่ียนแปลง ทางเคมีเกิดข้ึน โมเลกุลพลาสติก ยดึ เชอ่ื มต่อกนั แบบเช่ือมขวาง (cross linking) การใชค้ วามร้อน ไมส่ ามารถ ทาให้อ่อนตวั ไดอ้ กี และเมือ่ ไดร้ ับความรับมากๆจะไหมเ้ กรียม และ แตกออก ชนิดของขวดพลาสตกิ แบ่งไดด้ งั น้ี 1. ขวดทาจากพอลไิ วนิลคลอไรด์ คุณสมบตั ิทว่ั ไปจะใส สามารถป้องกนั กา๊ ซซึมและ ไขมนั ซึมผา่ นไดด้ ี ทนความเป็นกรดไดด้ ี ไมท่ นความร้อนและความเยน็ จึงเหมาะสาหรับใชท้ ่ี

3 อุณหภูมิ ตามปกติ มกั จะใชใ้ นการบรรจุเคร่ืองสาอาง น้าผลไม้ น้ามนั พืช น้าสม้ สายชู และ ผลติ ภณั ฑท์ างเคมี ขวดน้าพลาสติก น้นั เวลานามาใชซ้ ้าๆ จะมีสารเคมีที่สามารถละลายออกมาได้ โดยเฉพาะเมอ่ื ขวดมกี ารยบุ ตวั รวมถึงขวดเพท และขวดขาวข่นุ ดว้ ย (ขวดขาวข่นุ จะละลายออกมา มากกวา่ โดยเฉพาะเมอ่ื เกบ็ ไมถ่ ูกวิธี) 2. ขวดทาจากพอลลสิ ไตรีน ป้องกนั ก๊าซและไอน้าไดไ้ ม่ดีนกั ทนความเป็นกรดไดป้ าน กลาง ไม่ทนความร้อนและความเยน็ เหมาะสาหรับใชท้ ี่อุณหภูมปิ กติ โดยทว่ั ไปนิยมใชบ้ รรจุ ยา เมด็ วติ ามิน เคร่ืองเทศ และทาใหม้ ีขนาดใหญ่สาหรับใชบ้ รรจุนมเพ่ือการขนส่ง แต่ไม่นิยมใชใ้ น บา้ นเรา 3. ขวดทาจากพอลลเิ อทีลนี มีการใชใ้ นสองลกั ษณะคือ พอลลิเอทีลีนชนิดความ หนาแน่นต่า และพอลลิเอทีลนี ชนิดความหนาแน่นสูง โดยทว่ั ไปขวด ชนิดน้ีจะยอมใหไ้ อน้าซึม ผา่ นไดน้ อ้ ย แต่จะยอมใหก้ า๊ ซซึมผา่ นได้ ทนความเป็นกรดไดป้ านกลาง ทนความร้อนไดไ้ ม่ดี มาก นกั แต่จะทนความเยน็ ไดด้ ีมาก สาหรับขวดท่ีมีชนิดความหนาแน่นสูง มกั จะใชบ้ รรจุนม ผงซกั ฟอก น้าด่ืม สารเคมีและเคร่ืองสาอาง 4. ขวดทาจากพอลลิโพรพลี นี คุณสมบตั ิโดยทว่ั ไปแลว้ จะยอมใหไ้ อน้าซึมผา่ นไดน้ อ้ ย แต่จะยอมใหก้ า๊ ซซึมผา่ นไดด้ ี ทนความเป็นกรดไดป้ านกลาง ทนความร้อนไดด้ ี แตจ่ ะไม่ทนความ เยน็ จึงไม่เหมาะแก่การแช่เยน็ โดยทวั่ ไปใชใ้ นการบรรจุยา น้าผลไม้ น้าเชื่อม เครื่องสาอาง แชมพู 5. ขวดทาจากพอลลเิ อทีลีนเทอร์ฟะทาเลตหรือพอลลิเอสเธอร์ ขวดเพท คุณสมบตั ิ โดยทวั่ ไปจะแข็งใส ป้องกนั การซึมผา่ นของไอน้าไดป้ านกลาง แต่ป้องกนั การซึมผา่ นก๊าซไดด้ ีมาก ทนความเป็นกรดไดแ้ ละความเยน็ ไดด้ ี มกั นิยมใชบ้ รรจุเคร่ืองด่ืมประเภทน้าอดั ลม เบียร์ นอกจากน้ี ยงั บรรจุของเหลวมแี อลกอฮอลไ์ ด้ เช่น แชมพูน้า โคโลญจ์ โลชน่ั เป็นตน้ (www.vic.co.th/page_knowledge01.phpwww.vic.co.th/page_knowledge01.php)

บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการศึกษา เคร่ืองมือที่ใช้การศึกษา 1. เข็ม 2. เชือกวา่ ว 3. ขวดน้าพลาสติก 4. กรรไกร 5. กลอ้ งถา่ ยรูป 6. ที่ติดสนั หนงั สือ วธิ ีการศึกษาค้นคว้า 1. การวางแผน 2. วธิ ีการในการทาโครงงาน 2.1 แบบสมั ภาษณ์ถงึ วิธีการทากระเป๋ าจากขวดน้า 2.2 ลงมือปฏิบตั ิทากระเป๋ าจากขวดน้า ข้นั ตอนการประดิษฐ์ตะกร้าจากขวดน้าพลาสตกิ 1. เตรียมอปุ กรณ์ใหพ้ ร้อม

5 2. ใชก้ รรไกรตดั ส่วนหวั และส่วนทา้ ยของขวดพลาสติก 3. แผข่ วดออกใชเ้ ชือกว่าวเยบ็ ต่อกนั จนไดค้ วามกวา้ ง ยาวตามตอ้ งการ

6 4. พบั เยบ็ ส่วนกน้ ถุงใหม้ น่ั คง แลว้ ใชท้ ี่ตดิ สนั หนงั สือติดทบั ไม่ใหเ้ ห็นรอยเยบ็

บทที่ 4 ผลการศึกษาและอภปิ รายผลการศึกษา จากการที่ทาใหผ้ จู้ ดั ทาโครงงานประดิษฐต์ ะกร้าจากขวดน้าพลาสติกพบว่าประดิษฐใ์ น คร้ังน้ีทาใหผ้ จู้ ดั ทาโครงงานมคี วามเขา้ ใจเก่ียวกบั การทาตะกร้า จึงทาการสามารถทาตะกร้าได้ สาเร็จและทาใหม้ คี วามภูมใิ จในการอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ มและภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ และสามารถทาใหม้ ี นิสยั รักและดูแลสิ่งแวดลอ้ มได้ ภาพ 4.1 แสดงผลงานประดิษฐต์ ะกร้าจากขวดน้าพลาสติก จากภาพ4.1 พบวา่ การประดษิ ฐม์ ีความสมบูรณ์ สวยงาม และใชง้ านไดเ้ ป็นอยา่ งดี

บทท่ี 5 สรุปผลการศึกษา สรุปผลการศึกษา จากการทาโครงงานการประดิษฐต์ ะกร้าจากขวดน้าพลาสติกสอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ ที่วางไวค้ ือ เพอ่ื ตอ้ งการนาส่ิงของท่ีใชแ้ ลว้ นากลบั มาใชใ้ หม่ สามารถนามาใชป้ ระโยชนไ์ ดแ้ ละ ทราบถึงวธิ ีการทา และ ผจู้ ดั มคี วามรู้ความเขา้ ใจสามารถนาไปประดิษฐไ์ ด้ ประโยชน์ที่ได้จากโครงงาน จากการศึกษาสามารถศึกษาวิธีการทาอยา่ งถกู ตอ้ ง เน่ืองจากขอ้ มลู ในหนงั สือและ อินเทอร์เน็ต และการสอบถามประชาชนท่ีรู้วธิ ีการทาตะกร้าจากขวดน้าพลาสติกและนามา ประดิษฐใ์ ชว้ ิชาสงั คมศกึ ษาและวฒั นธรรม ข้อเสนอแนะ ในการทาการประดษิ ฐส์ ิงของควรเลอื กประดิษฐอ์ ะไรง่าย ไมค่ วรเลือกประดิษฐ์ ส่ิงของที่วสั ดุอุปกรณ์หายาก เพราะอาจทาใหเ้ ราทางานไดล้ ่าชา้ ลงมาก ควรเลือกสมาชิกท่ีอยใู่ น กลุ่มบา้ นตอ้ งใกลก้ นั เพราะจะไดท้ าการปรึกษาการทาโครงงานไดง้ ่ายข้ึน

เอกสารอ้างองิ www.vic.co.th/page_knowledge01.php อา้ งองิ จากนิทศั น์ จิระอรุณ. วสั ดุพอลิเมอร์ ชุดท่ี 2. เชียงใหม:่ เคมอี ตุ สาหกรรม คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่

บุคลานุกรม นางพชั รมาศ สาแม (ผใู้ หส้ มั ภาษณ์) นาย สถาพร ศรีสืบ และนายอสั ลนั สาแลแม (ผสู้ มั ภาษณ์) โรงเรียนมธั ยมสุไหงปาดี ตาบล ปะลรุ ู อาเภอสุไหงปาดี จงั หวดั นราธิวาส


20887

Share
Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook