Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธรรมะสำหรับผู้ป่วย

ธรรมะสำหรับผู้ป่วย

Published by pakamas3008, 2020-05-11 22:39:58

Description: ธรรมะสำหรับผู้ป่วย

Search

Read the Text Version

ชมรมกลั ยาณธรรม หนงั สือดลี �ำดับท่ ี ๑๘๐ พระไพศาล วสิ าโล พิมพ์ครั้งท่ ี ๑  มิถุนายน ๒๕๕๕  จำ� นวนพิมพ ์  ๘,๐๐๐ เลม่ จดั พิมพ์โดย ชมรมกลั ยาณธรรม ๑๐๐ ถนนประโคนชยั  ตำ� บลปากน�ำ้  อำ� เภอเมอื ง  จงั หวดั สมทุ รปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศพั ท ์ ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ และ ๐-๒๗๐๒-๙๖๒๔ ภาพประกอบ เซมเบ้, วี  ออกแบบรูปเล่ม คนข้างหลัง  ช่วยแก้ค�ำ อะต้อม  พิสูจน์อักษร หะน,ู  เจา้ แกม้   ศลิ ปกรรม ตน้ กลา้   เพลต บรษิ ทั นครแผน่ พมิ พ ์ จำ� กดั  โทร. ๐-๒๔๓๘-๘๔๐๘  พิมพ์โดย บริษัทส�ำนักพิมพ์สุภา จ�ำกัด ๑๑๘ ซอย ๖๘ ถนนจรัญสนิทวงศ์ เขตบางพลัด  กรงุ เทพฯ ๑๐๗๐๐ โทร. ๐-๒๔๓๕-๘๕๓๐ สัพพทานัง ธัมมทานงั  ชินาติ การให้ธรรมะเปน็ ทาน ย่อมชนะการใหท้ ง้ั ปวง www.kanlayanatam.com

ข อ ม อ บ เ ป็ น ธ ร ร ม บ ร ร ณ า ก า ร แ ด่ จ า ก

คํ า ป ร า ร ภ ความเจบ็ ปว่ ยเปน็ ธรรมดาของชวี ติ  ไมม่ ใี ครหนพี น้ ความจรงิ   ข้อน้ีไปได้ แม้พยายามป้องกันเพียงใดก็ตาม ก็ย่อมมีวันท่ีจะต้อง  ล้มป่วย ในยามนั้นนอกจากการเยียวยารักษากายแล้ว ส่ิงที่ส�ำคัญ  ไมน่ อ้ ยไปกวา่ กนั กค็ อื การดแู ลรกั ษาใจ เพราะความปว่ ยใจมกั เกดิ ขนึ้   ควบคู่กับความป่วยกาย บ่อยครั้งความป่วยใจยังซ�้ำเติมให้ความ  ปว่ ยกายเพยี บหนกั ขนึ้  หรอื ขดั ขวางไมใ่ หก้ ารเยยี วยาทางกายประสบ  ผลดี แต่หากดูแลรักษาใจให้ดีแล้ว ความทุกข์ทรมานก็จะลดลง  อีกทง้ั ยังอาจช่วยใหค้ วามเจ็บป่วยทุเลาลงดว้ ย

พ ร ะ ไ พ ศ า ล   ว ิ ส า โ ล 5 ป่วยกายแต่ไม่ป่วยใจนั้นเป็นไปได้ หากรู้จักวางใจให้เป็น  ย่ิงกว่าน้ันใจที่มีสติและปัญญา ยังสามารถหาประโยชน์จากความ  เจบ็ ปว่ ยไดด้ ว้ ย เชน่  ทำ� ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในความเปน็ จรงิ ของชวี ติ   ตระหนกั ถงึ ความไมเ่ ทย่ี งของสงั ขาร กระตนุ้ ใหเ้ กดิ ความไมป่ ระมาท  เร่งสร้างกุศล และท�ำหน้าท่ีของตนให้ดีที่สุดในขณะที่ยังมีเวลา  ความเจ็บป่วยจึงสามารถเป็นปัจจัยผลักดันให้ชีวิตเปล่ียนแปลงไป  ในทางที่ดีขนึ้  ทำ� ให้จิตใจเจริญงอกงามและเป็นสขุ ในยามเจบ็ ปว่ ยเราจงึ ไมเ่ พยี งตอ้ งการยารกั ษาโรคเทา่ นน้ั  หาก  ยงั จำ� เปน็ ตอ้ งมธี รรมโอสถเพอ่ื รกั ษาใจดว้ ย ขอ้ เขยี นและค�ำบรรยาย  ในหนงั สอื เลม่ นเี้ ปน็ เสมอื นคำ� เชญิ ชวนใหผ้ อู้ า่ นเหน็ ความสำ� คญั ของ  ธรรมโอสถและทดลองใชก้ บั ตนเอง ยาทกุ ชนดิ  แมว้ า่ เราจะรสู้ รรพคณุ   และส่วนประกอบ แต่หากไม่น�ำมาใช้กับตัวเอง ก็หาเกิดประโยชน์  อนั ใดไม ่ ธรรมโอสถกเ็ ชน่ กนั  เพยี งแคร่ ยู้ งั ไมพ่ อ ตอ้ งนำ� มาปฏบิ ตั ดิ ว้ ย  จงึ จะเกิดประโยชน์ หนังสือเล่มน้ีพิมพ์คร้ังแรกเมื่อปี ๒๕๕๓ และได้พิมพ์ซ้�ำ  อกี หลายครงั้  แตก่ ย็ งั เปน็ ทต่ี อ้ งการอยมู่ าก ชมรมกลั ยาณธรรมโดย  คุณหมออัจฉรา กลิ่นสุวรรณ์ จึงขอจัดพิมพ์ซ้�ำอีกครั้งเพื่อเผยแพร่ 

6 ธ ร ร ม ะ สํ า ห ร ั บ ผู้ ป ่ ว ย เปน็ ธรรมทานในงานแสดงธรรมของชมรมฯ ครงั้ ท ่ี ๒๓ ซงึ่ จะจดั ขน้ึ   ในวนั ท ่ี ๘ กรกฎาคมศกน ้ี อาตมภาพยนิ ดอี นญุ าตและขออนโุ มทนา  ในบญุ กริ ยิ าของคณุ หมออจั ฉรา และมติ รสหายในชมรมกลั ยาณธรรม  รวมทั้งคุณเซมเบ้ผู้เขียนภาพประกอบอย่างงดงาม ขอกุศลจริยา  ดังกล่าวจงเป็นปัจจัยอ�ำนวยให้ทุกท่านอุดมด้วยจตุรพิธพร ประสบ ความสุขเกษมศานต์ และเจริญงอกงามในธรรมยิ่งๆ ข้ึนไป ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๕

คํ า น�ำ ช ม ร ม กั ล ย า ณ ธ ร ร ม จากบทสวดมนต ์ อภณิ หปจั จเวกขณ ์ ขอ้ ปฏบิ ตั ทิ ค่ี วรพจิ ารณา  อยเู่ นอื งๆ พระพทุ ธองคท์ รงสอนเรื่องท่คี วรพิจารณาทุกๆ วนั  คอื ๑. เรามีความแก่เปน็ ธรรมดา ไม่ลว่ งพ้นความแก่ไปได้ ๒. เรามีความเจ็บเปน็ ธรรมดา ไม่ล่วงพน้ ความเจ็บไปได้ ๓. เรามีความตายเป็นธรรมดา ไมล่ ว่ งพน้ ความตายไปได้ ๔. เราจะต้องพลดั พรากจากของรักของชอบใจทัง้ ส้ิน ๕. เรามีกรรมเปน็ ของตวั  เราทำ� ดีจกั ได้ด ี ท�ำช่ัวจกั ได้ชว่ั เรอ่ื งความเจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ย จงึ เปน็ หนงึ่ ในความเปน็ ธรรมดาเชน่ นนั้ เอง  ของทกุ ชวี ติ ทไี่ มอ่ าจหลกี เลย่ี งได ้ แตก่ ารเรยี นรทู้ �ำความเขา้ ใจในสจั ธรรม  ประคองจิตรักษาเยียวยาจิตใจให้อยู่เย็นเป็นปรกติสุข ในยามเจ็บป่วย  เรายงั ตอ้ งเรยี นรกู้ นั ไมจ่ บสน้ิ  ทง้ั ตวั ผปู้ ว่ ยเอง ผดู้ แู ลรกั ษาพยาบาล และ  บคุ คลอนั เปน็ ทร่ี กั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง แมใ้ นยามปรกตทิ รี่ า่ งกายยงั แขง็ แรงปรกตสิ ขุ   ดีอยู่ เราทุกคนก็ไม่ควรประมาท เพราะไม่มีใครทราบว่าความเจ็บป่วย  หรืออุบตั ิเหตุท่ไี มค่ าดฝันจะมาเยือนในวันใดของชวี ิต เพราะชวี ิตนไ้ี ม่มี  อะไรแนน่ อนและไมม่ ีหลกั ประกนั ทป่ี ลอดภยั

8 ธ ร ร ม ะ สํ า ห ร ั บ ผู้ ป ่ ว ย ในแง่การเยียวยาจิตใจของผู้ป่วยเอง และในแง่มุมของผู้ที่ต้อง  เก่ียวข้องดูแลผู้ป่วย เป็นเรื่องท่ีต้องอาศัยมิติทางธรรมเข้ามาเป็นหลัก  ส�ำคัญ มิให้เกิดทุกข์สองช้ัน ที่ท่านเรียกว่าถูกศรสองดอก คือป่วยกาย  แล้วใจยังป่วยซ�้ำ และย่ิงซ้�ำเติมร่างกายให้ย�่ำแย่ลงไป หากไม่ได้เรียนรู ้ ทจ่ี ะวางจติ ใจใหเ้ หมาะสม และละเลยการพจิ ารณาถงึ ความเปน็ จรงิ เพอื่   ละความยดึ มน่ั ถอื มนั่  เกดิ ความปลอ่ ยวาง สามารถอยรู่ ว่ มกบั ความเจบ็ ไข ้ ได้ป่วยอย่างมีความสุข โรงพยาบาลและบุคลากรทางการแพทย์ใน  ปัจจุบันจึงให้ความสนใจกับมิติทางด้านจิตใจของผู้ป่วยมากข้ึน ซึ่งใน  มมุ หนงึ่ ทอี่ าจไมม่ ใี ครทราบนน้ั  ทราบมาวา่  พระอาจารยไ์ พศาล วสิ าโล  เป็นก�ำลังส�ำคัญในหมู่พระสงฆ์ที่ได้น้อมน�ำประสบการณ์ทางธรรมและ  หลักธรรมแห่งการเยียวยาทางจิตใจและจิตวิญญาณ มาจัดหลักสูตร  อบรมอย่างเป็นรูปธรรม ชื่อโครงการ “เผชิญความตายอย่างสงบ”  ท่านให้ความส�ำคัญกับบุคคลากรทางการแพทย์ จัดคอร์สอบรมตาม  สถานพยาบาลตลอดทั้งปีหลายโครงการโดยไม่เห็นแก่เหน็ดเหน่ือย  ทง้ั เปดิ ใหป้ ระชาชนผสู้ นใจเขา้ อบรมในโครงการน ้ี เพอ่ื เตรยี มตวั เตรยี มใจ  ภาวนารบั สจั ธรรมแหง่ ความเจบ็ ปว่ ยพลดั พราก ทงั้ ของตนเองและของ  ผู้ท่ีตนเก่ียวข้องอย่างถึงพร้อมด้วยสติและปัญญา นอกจากน้ีเครือข่าย  พทุ ธกิ าในความดแู ลของทา่ น ยงั จดั ใหม้ สี ายดว่ นเพอื่ เยยี วยาจติ ใจผปู้ ว่ ย  ระยะสุดท้ายอีกด้วย เท่าท่ีข้าพเจ้าทราบ ก็เห็นว่าพระอาจารย์ทุ่มเท  เสยี สละอทุ ศิ เวลาเพอ่ื ชว่ ยเหลอื เพอ่ื นรว่ มทกุ ขใ์ นหลายมติ  ิ นา่ อนโุ มทนายง่ิ

พ ร ะ ไ พ ศ า ล   ว ิ ส า โ ล 9 หนงั สอื เรอื่ ง ธรรมะสำ� หรบั ผปู้ ว่ ย น ้ี มกี ารตพี มิ พม์ าแลว้ หลายครงั้   ในต่างวาระ แต่ชมรมกัลยาณธรรมเห็นว่าเป็นหนังสือที่มีคุณค่าแก่  ทุกท่าน ไม่เฉพาะผู้ที่ก�ำลังเผชิญกับโรคภัยไข้เจ็บ หรือผู้ท่ีต้องดูแลผู้ท ่ี ก�ำลังเจ็บป่วย  เพราะเรารู้ดีว่า เร่ืองความเจ็บป่วยและพลัดพราก  ตายจากกันน้ี เป็นสัจธรรมท่ีเที่ยงแท้ของทุกชีวิตที่ควรท�ำใจยอมรับสิ่ง  ที่ไม่เปน็ ดงั่ ใจ ผูไ้ ม่ประมาท รู้จกั เตรียมทวางจิตวางใจไวเ้ สมอ ยอ่ มอย ู่ อย่างเป็นสุข ป่วยอย่างเป็นสุข และพร้อมจะตายอย่างเป็นสุข  ชมรม  กลั ยาณธรรมขอกราบขอบพระคณุ พระอาจารยไ์ พศาล วสิ าโล ทเี่ มตตา  อนญุ าตใหจ้ ดั พมิ พห์ นงั สอื เลม่ น ี้ เพอ่ื แจกเปน็ ธรรมทานในงานแสดงธรรม  ครงั้ ท ี่ ๒๓ ในวนั ท ี่ ๘ กรกฎาคมน ี้  ขออนโุ มทนาเพอื่ นศลิ ปนิ และเพอื่ น  แนวหลังทางธรรมทุกท่านที่มีส่วนช่วยผลักดันสร้างสรรค์ให้หนังสือ  เลม่ งามน ้ี สำ� เรจ็ เสรจ็ ทนั จดั พมิ พอ์ ยา่ งนา่ อศั จรรยย์ ง่ิ นกั   ขอนอ้ มถวาย  อานิสงส์แห่งธรรมทานนี้เพื่อเป็นพุทธบูชา และขอน้อมบูชาอาจริยคุณ  แด่ท่านพระอาจารย์ไพศาล วิสาโล  และขอทุกท่านผู้ได้อ่านได้ศึกษา  ธรรมน้ี จงเปน็ ผูม้ อี าพาธนอ้ ย และเรียนรู้พรอ้ มรับความเจ็บปว่ ยทเี่ ปน็   ธรรมดาเช่นนั้นของชีวิตอย่างมีความสุข สามารถพลิกทุกวิกฤตให้เป็น  โอกาสแห่งการร้แู จง้ ในธรรมยิง่ ขึ้นไปทกุ ทา่ น ดว้ ยความปรารถนาดีอยา่ งยิ่ง ทพญ. อจั ฉรา กลนิ่ สุวรรณ์ ประธานชมรมกลั ยาณธรรม

ส า ร บ ั ญ เหนอื กายยงั มใี จ ๑๒ เยียวยากายดว้ ยใจผอ่ นคลาย ๑๙ มติ ิท่ีมิอาจมองข้าม ๒๗ ทุกข์หาร ๓ ๓๕ รักษากาย ฟ้นื ฟใู จ ๔๑ เยยี วยาใจ ๕๑ รกั ษาใจใหป้ ลอดพิษ ๕๗ ยาสามัญประจำ� ใจ ๗๗ ไมย่ อมแพแ้ กโ่ ชคชะตา ๘๗ เป็นสขุ ในทกุ ความเปล่ียนแปลง ๙๗ วางใจอยา่ งไรเม่อื เปน็ มะเร็ง ๑๑๑ ธรรมะส�ำหรับผู้ป่วย ๑๓๙ คำ� ถาม-ค�ำตอบ ๑๖๑ เตรียมใจในยามป่วยหนัก ๑๖๙ บทสวดมนตเ์ พือ่ การอบรมจติ ภาวนา ๑๘๖

ธรรมทัง้ หลาย มใี จเป็นหัวหนา้ มใี จประเสริฐสดุ ส�ำเรจ็ แล้วทใี่ จ พทุ ธวจนะ

เ ห น ื อ ก า ย ย ั ง ม ี ใ จ  กลา่ วกนั วา่ การเกดิ มาเปน็ มนษุ ยน์ น้ั เปน็ สคุ ตขิ องเทวดา  เม่ือเทวดาองค์ใดจะจุติ เพ่ือนเทวดาจะอวยพรว่า ขอให้ไปเกิดใน  หมู่มนุษย์ ฟังดูก็รู้สึกดี แต่บางคร้ังคุณคงอดสงสัยไม่ได้ว่าถ้าโลก  มนษุ ยเ์ ปน็ สคุ ตขิ องเทวดา เหตใุ ดมนษุ ยเ์ ราจงึ ตอ้ งมคี วามรสู้ กึ เจบ็ ปวด  ดว้ ยปวดหวั ตวั รอ้ นนนั้ ยงั พอทำ� เนา แตเ่ จบ็ ปวดเวลาแขง้ ขาหกั  หรอื   ไฟไหมน้ �้ำร้อนลวกน้ัน บางคร้ังรู้สึกเหมือนกบั ตกนรกเลยทเี ดยี ว



14 ธ ร ร ม ะ สํ า ห ร ั บ ผู้ ป ่ ว ย มองใหด้ ๆี  ความเจบ็ ปวดกม็ ปี ระโยชน ์ มนั ชว่ ยปอ้ งกนั มใิ หเ้ รา  ถลำ� เขา้ ไปในอนั ตราย ถา้ เราไมร่ สู้ กึ ปวดเวลาโดนของแหลมแทงนว้ิ   เรากจ็ ะปลอ่ ยใหม้ นั ทมิ่ ลกึ ขนึ้  แทนทจ่ี ะรบี ดงึ นว้ิ ออกมา  มหี ลายคนที ่ ไมร่ สู้ กึ เจบ็ ปวดตงั้ แตเ่ กดิ  คนเหลา่ นจี้ ะมลี กั ษณะหนง่ึ ทเี่ หมอื นกนั คอื   มีแผลเต็มตัว บางคนลิ้นหายไป ๑ ใน ๓ เพราะกัดล้ินแล้วไม่รู้สึก  เจ็บจึงกัดเข้าไปเต็มท่ี ล้ินมีแผลลึก แผลไม่ทันหายก็กัดซ�้ำกัดซาก  จนลน้ิ เน่ากดุ ในท่ีสดุ แต่ถึงแม้ความเจ็บปวดจะมีประโยชน์ ข้อเสียก็คือ มันท�ำให ้ เกิดความทุกข์ทรมานโดยเฉพาะในยามท่ีเจ็บป่วยด้วยโรคเร้ือรัง  จริงอยู่ยุคนี้วิทยาการก้าวหน้ากว่าแต่ก่อน มียาระงับปวดที่ม ี ประสทิ ธภิ าพมากขน้ึ  แตข่ า่ วรา้ ยกค็ อื ยาทด่ี ที สี่ ดุ เวลานย้ี งั ไมส่ ามารถ  ระงบั ความเจบ็ ปวดบางประเภทได้ ฟังแล้วอย่าเพ่ิงหมดหวัง เพราะถึงแม้เทคโนโลยีทุกวันนี้ม ี ขีดจ�ำกัด แต่ข่าวดีก็คือยาระงับปวดที่ดีกว่าเทคโนโลยียังมีอยู่ มัน  มไิ ดอ้ ย่ทู ่ไี หนเลย หากอยู่ทใ่ี จของเราน้ันเอง เม่ือ ๘ ปีท่ีแล้วมีการทดลองผ่าตัดคนไข้คนหนึ่งเป็นโรคเจ็บ  ขอ้  หลงั จากหมอใหย้ าชาแลว้  กก็ รดี หวั เขา่ ของเขา แตไ่ มไ่ ดท้ ำ� อะไร 

พ ร ะ ไ พ ศ า ล   ว ิ ส า โ ล 15 มากกว่านั้น เมื่อแผลสมานแล้ว คนไข้เล่าว่ารู้สึกดีข้ึน ความเจ็บ  ทเุ ลาไปมาก ย่งิ กวา่ นนั้ กค็ อื ขอ้ เขา่ ของเขาท�ำงานดขี นึ้ อีกรายหน่ึงประสบอุบัติเหตุ ถูกไฟไหม้ถึงร้อยละ ๗๐ ของ  รา่ งกาย เขารอ้ งครวญครางดว้ ยความเจบ็ ปวด เรยี กหายาระงบั ปวด  ทุกคืน แต่หลังจากหมอให้มอร์ฟีนไประยะหนึ่งก็หยุดให้เพราะเกรง  ว่าจะเกิดอันตรายแต่คนไข้ ผลก็คือคนไข้ทุรนทุรายร้องขอยาระงับ  ปวด พยาบาลทนไม่ไหวจึงกลับไปท่ีห้องแล้วฉีดยาให้เขา สักพัก  คนไขก้ ห็ ลบั ไป เมอ่ื มคี นถามเธอวา่ ทำ� ไมถงึ ฉดี ยาระงบั ปวดใหค้ นไข้  ในเมอื่ หมอสั่งหา้ ม เธอตอบวา่ เธอแค่ฉีดน้�ำเกลอื ให้คนไข้เทา่ นนั้ ทงั้ สองกรณ ี คนไขไ้ มไ่ ดร้ บั การรกั ษาหรอื ยาระงบั ปวดเลย แต่  กลับรู้สึกดีข้ึน เพราะใจเชื่อว่าเขาได้รับการเยียวยาแล้ว เพียงเช่ือ  เช่นน้กี ช็ ว่ ยลดความเจ็บปวดลงได้ จิตใจของคนเรามีพลังในการเยียวยาร่างกายหรือระงับความ  เจ็บปวดได้ พลังนั้นจะท�ำงานได้ก็ต้องอาศัยความเชื่อหรือศรัทธา  ถ้าเรามีศรัทธาในหมอหรือตัวยา ผลดีต่อร่างกายก็จะเกิดขึ้นทันที  ทีห่ มอลงมอื  “รักษา” หรือเมอื่ ได้รับยา

16 ธ ร ร ม ะ สํ า ห ร ั บ ผู้ ป ่ ว ย มีอีกตัวอย่างหน่ึงท่ีน่าสนใจ อาสาสมัคร ๘๒ คนได้รับเชิญ  ให้ร่วมทดสอบคุณภาพของยาระงับปวดตัวใหม่ท่ีชื่อวาลิโดน ซึ่งให ้ ผลรวดเรว็ กวา่ ยาทมี่ อี ย ู่ ทกุ คนจะถกู ชอ็ ตดว้ ยไฟฟา้ ทข่ี อ้ มอื  จากนน้ั   ก็ให้ระบุว่ารู้สึกเจ็บปวดมากน้อยเพียงใด ทีนี้ก็ให้ทุกคนกินยาวาลิ-  โดน คร่ึงหน่ึงได้รับการบอกเล่าว่ายาตัวนี้เม็ดละ ๒ เหรียญ ๕๐  เซน็ ต ์ อกี ครง่ึ หนง่ึ ไดร้ บั การบอกวา่ ยาราคา ๑๐ เซน็ ต ์ เสรจ็ แลว้ กม็  ี การชอ็ ตดว้ ยไฟฟา้ อกี ครง้ั  รอ้ ยละ ๘๕ ของคนกลมุ่ แรกทไี่ ดย้ าราคา  ๒ เหรยี ญ ๕๐ เซน็ ตบ์ อกวา่ ความเจบ็ ปวดลดลงมาก สว่ นกลมุ่ หลงั   มีเพยี งร้อยละ ๖๑ ท่เี จ็บน้อยลง หลังจากการทดลองก็มีการเปิดเผยแท้จริงแล้วยาที่ให้แก ่ อาสาสมัครท้ังหมดนั้นเป็น “ยาปลอม” การทดลองดังกล่าวจึงชี้ว่า  นอกจากความเชอ่ื จะมผี ลตอ่ การลดความเจบ็ ปวดแลว้  ราคาของยา  ก็มีผลต่อความคาดหวังและประสิทธิภาพด้วย  ยาย่ิงมีราคาแพง  ความคาดหวังหรือความเชื่อถือก็ย่ิงสูง จึงช่วยลดความเจ็บป่วยได้  มากขึน้ ศรัทธาหรือความเชื่อน้ันมีผลต่อการระงับปวด แต่ศรัทธา  ไมใ่ ชส่ ิ่งเดยี วทจ่ี ะชว่ ยเราได ้ สมาธกิ เ็ ปน็ อกี สงิ่ หน่งึ ทบ่ี รรเทาปวดได ้ ด ี มผี ปู้ ว่ ยมะเรง็ หลายคนทส่ี งบนงิ่ ไดโ้ ดยไมใ่ ชย้ าเลยแมถ้ กู ความเจบ็  

พ ร ะ ไ พ ศ า ล   ว ิ ส า โ ล 17 ปวดบีบคน้ั รนุ แรง เนอ่ื งจากมีสมาธิอย่กู ับลมหายใจ อกี รายหนง่ึ ทนี่ า่ ทงึ่ มาก ตอนทผี่ า่ ตดั เปลย่ี นไตนนั้  เธอแพย้ า  แกป้ วดจนอาเจยี น แผลระบม หมอไม่รู้จะท�ำอย่างไร แต่พอเธอได ้ สติก็ขอพาราเซตามอลเม็ดเดียว จากน้ันก็จะต้ังสมาธิจดจ่ออยู่กับ  ลมหายใจจนหลบั ไป ระหวา่ งทหี่ มอผา่ ตดั  เธอไมส่ ง่ เสยี งรอ้ งเจบ็ เลย  แมแ้ ต่ครง้ั เดยี ว แมธ้ รรมชาตจิ ะใหค้ วามเจบ็ ปวดมาพรอ้ มกบั รา่ งกายน ี้ แตน่ นั่   มิใช่เป็นเคราะห์กรรมของมนุษย์ เพราะในเวลาเดียวกัน ธรรมชาติ  ก็ให้ใจแก่เรา เพอื่ รบั มือกับความเจ็บปวดและเอาชนะเคราะหก์ รรม  ทง้ั หลายด้วย

ทา่ นพงึ ส�ำเหนยี กไวว้ า่ ถงึ กายของเราจะมีโรครุมเรา้ แต่ใจของเรา จักไม่มโี รครมุ เรา้ เลย” พุทธวจนะ

เ ย ี ย ว ย า ก า ย ด ้ ว ย ใ จ ผ ่ อ น ค ล า ย  ทุกเช้าและเย็นป้าไพจะออกไปจ่ายตลาดและท�ำ กับข้าวให้ลูกหลาน ตอนกลางวันก็ท�ำงานบ้านเล็กๆ น้อยๆ  วันหน่ึงป้าไพไม่สบาย ลูกแนะน�ำให้ไปตรวจท่ีโรงพยาบาลประจ�ำ  จงั หวดั  หลังจากตรวจรา่ งกายหมอกว็ นิ ิจฉัยวา่ ป้าไพเป็นโรคหัวใจ



พ ร ะ ไ พ ศ า ล   ว ิ ส า โ ล 21 นับแต่วันน้ันป้าไพก็เปลี่ยนไป รู้สึกอ่อนเพลียไร้เร่ียวแรง ไป  จา่ ยตลาดกลบั มากร็ สู้ กึ เหนอื่ ยมาก ในทส่ี ดุ กเ็ ลกิ ไปตลาด จะทำ� อะไร  กร็ สู้ ึกเหน่ือยแมแ้ ต่ขน้ึ บนั ได ในทีส่ ุดจงึ ลงมานอนข้างลา่ ง และเกบ็   ตัวอยู่แต่ในบ้านไม่กล้าไปไหน จึงกลายเป็นคนหงอยเหงาได้แต่นั่ง  เจ่าจกุ อยผู่ ้เู ดยี ว วันหน่ึงนายแพทย์ใหญ่ผู้หนึ่งกลับมาเย่ียมบ้าน สังเกตเห็น  ความเปล่ียนแปลงของป้าไพซ่ึงเป็นญาติผู้ใหญ่ จึงสอบถามสาเหตุ  เมอ่ื ไดค้ ำ� ตอบ แพทยใ์ หญก่ ต็ รวจดรู า่ งกายและถามอาการของปา้ ไพ  แตไ่ มพ่ บอาการของโรคหวั ใจ จงึ บอกปา้ ไพวา่ รา่ งกายไมไ่ ดเ้ ปน็ อะไร  มาก อาจมีอาการออ่ นเพลียบ้างตามวัย พอรวู้ า่ ไมเ่ ปน็ โรคหวั ใจ ปา้ ไพกร็ สู้ กึ กระชมุ่ กระชวยทนั ท ี เรย่ี ว  แรงกลับมา สามารถไปตลาดและท�ำกิจวัตรต่างๆ ได้เหมือนเดมิ ป้าไพไมไ่ ดเ้ ปน็ อะไร แตเ่ พยี งไดย้ นิ หมอบอกว่าเป็นโรคหวั ใจ  ก็กลายเป็นคนป่วยทันที และเมื่อป่วยแล้ว แม้ไม่ได้กินยา ก็หาย  ปว่ ยฉบั พลนั เมื่อรู้วา่ ความจริงตนไม่ไดเ้ ป็นโรคหัวใจอย่างท่คี ิด

22 ธ ร ร ม ะ สํ า ห ร ั บ ผู้ ป ่ ว ย ความเชื่อหรือความรู้สึกน้ันมีผลต่อร่างกายมาก แม้เจ็บป่วย  ไม่มากแต่หากมีความเครียด วิตกกังวล เพราะคิดว่าเป็นโรคร้าย  หรือเพราะกลุ้มใจเร่ืองครอบครัว ร่างกายก็ทรุดลงได้ง่ายๆ นับ  ประสาอะไรกบั คนที่ตรวจพบโรครา้ ยจริงๆ หากวางใจไม่เปน็  กอ็ าจ  มีอันเปน็ ไปได้อยา่ งรวดเร็ว หญิงสูงวัยผู้หน่ึงป่วยกระเสาะกระแสะ เข้าๆ ออกๆ โรง-  พยาบาลอยหู่ ลายครง้ั  วนั หนง่ึ หมอบอกเธอวา่  “ปา้ เปน็ มะเรง็ ตบั นะ  อยู่ได้ไม่เกิน ๓ เดือน” เธอตกใจมาก หลังจากกลับบ้าน เธออยู่ได ้ แค่ ๑๒ วนั  ก็เสยี ชวี ิต กอ้ นมะเรง็ นนั้ ใชเ้ วลาหลายเดอื นกวา่ จะครา่ ชวี ติ คน แตค่ วาม  ตื่นตระหนก ความกังวล และความเครียดนั้นสามารถปลิดชีวิตเรา  ไดเ้ รว็ กวา่ นนั้ มาก เมอื่ ลม้ ปว่ ยเราไมไ่ ดป้ ว่ ยกายเทา่ นน้ั  แตม่ กั ปว่ ยใจดว้ ย ความ  ป่วยใจสามารถท�ำให้ความป่วยกายหรือความเจ็บปวดทบทวีหรือ  เป็นตรีคูณได้ ในทางตรงข้ามหากท�ำใจให้ผ่อนคลาย เบาสบาย  ความเจ็บป่วยหรือความเจ็บปวดก็อาจลดลงเหลือแค่ครึ่งหน่ึงหรือ  หนง่ึ ในสาม

พ ร ะ ไ พ ศ า ล   ว ิ ส า โ ล 23 ความเจ็บปว่ ยน้นั บั่นทอนรา่ งกายเราได้ก็จรงิ แตเ่ หตใุ ดเราจึงปล่อยให้มนั ทำ� ร้ายจิตใจเราดว้ ย ป่วยกายแล้วไม่จ�ำเปน็ ต้องป่วยใจ พระพทุ ธองค์เคยตรัสแนะอุบาสกผหู้ นงึ่ ซงึ่ ป่วยหนักว่า ให้พิจารณาเสมอว่า ถงึ กายของเราจะมโี รครุมเร้า แตใ่ จของเราจักไม่มโี รครมุ เรา้ เลย” ผปู้ ว่ ยทม่ี ศี รทั ธาในหมอ มกั จะมอี าการดขี น้ึ ไมม่ ากกน็ อ้ ยทนั ที  ทไี่ ดพ้ บหมอ นายแพทยว์ ลิ เลยี ม เฮนร ี เวลช ์ ซง่ึ เปน็ ผวู้ างรากฐาน  การแพทยแ์ ผนใหมใ่ นอเมรกิ า พดู ถงึ บดิ าของตนซงึ่ เปน็ หมอเหมอื น  กันว่า “ทันทีที่ท่านเข้าห้องผู้ป่วย ผู้ป่วยจะรู้สึกดีข้ึนทันที บ่อยคร้ัง  มิใช่เพราะการรักษาของท่าน แต่เป็นเพราะการปรากฏตัวของท่าน  ตา่ งหากที่รกั ษาผปู้ ่วยให้หายได”้

24 ธ ร ร ม ะ สํ า ห ร ั บ ผู้ ป ่ ว ย จริงอยู่โรคภัยไข้เจ็บอาจจะไม่หาย แต่ถ้าจิตใจผ่อนคลาย ก็  อาจอยู่ได้อย่างปกติสุข ห่างไกลจากความทุกข์ หลายคนแม้มีก้อน  มะเรง็ อยใู่ นรา่ งกาย แตก่ ส็ ามารถดำ� เนนิ ชวี ติ ไดต้ ามปกต ิ เพราะเขา  ไม่มัวกังวลกับโรคภัย แทนที่จะกลุ้มใจกับเหตุร้ายในอนาคต เขา  กลับใสใ่ จกับการทำ� ชีวติ แต่ละวันใหม้ ีความสุข ความเจ็บป่วยนั้นบ่ันทอนร่างกายเราได้ก็จริง แต่เหตุใดเรา  จึงปล่อยให้มันทำ� ร้ายจิตใจเราด้วย ป่วยกายแล้วไม่จำ� เป็นต้องป่วย  ใจด้วย  พระพุทธองค์เคยตรัสแนะอุบาสกผู้หน่ึงซ่ึงป่วยหนักว่า ให ้ พิจารณาเสมอว่า “ถึงกายของเราจะมีโรครุมเร้า แต่ใจของเราจัก  ไม่มีโรครมุ เรา้ เลย” ถึงกายจะป่วยแต่เราก็มีสิทธิ์เป็นสุขได้เสมอ ขอเพียงแต่เปิด  ใจรบั ความสขุ ทม่ี อี ยรู่ อบตวั   กนกวรรณ ศลิ ปส์ ขุ  ปว่ ยดว้ ยโรคธาลสั -  ซีเมียต้ังแต่เกิด ร่างกายอ่อนแอมากและอาจมีอายุไม่ยืน แต่เธอก็  มคี วามสขุ ทกุ วนั  เธอใหเ้ หตผุ ลวา่  “เลอื ดเราอาจจะจาง จะแยห่ นอ่ ย แตเ่ รากย็ งั มตี าเอาไวม้ องสงิ่ สวยๆ มจี มกู ไวด้ มกลนิ่ หอมๆ มปี ากไว้  กินอาหารอร่อยๆ แล้วก็มีร่างกายท่ียังพอท�ำอะไรได้อีกหลายอย่าง  แคน่ ีก้ ็เพียงพอแล้วทเ่ี ราจะมคี วามสขุ ”

พ ร ะ ไ พ ศ า ล   ว ิ ส า โ ล 25 จะมคี วามสขุ อยา่ งนนั้  อยา่ งแรกทจี่ ำ� เปน็ ตอ้ งทำ� กค็ อื  ยอมรบั   ความจรงิ วา่ ความเจบ็ ปว่ ยเกดิ ขน้ึ แลว้  เมอื่ ใจยอมรบั ความจรงิ  กจ็ ะ  หยุดดิ้นรนผลักไสความเจ็บป่วย ท�ำให้ใจสงบ ในทางตรงข้ามหาก  เราปฏเิ สธความจรงิ  มวั ตโี พยตพี ายหรอื กน่ ดา่ ชะตากรรมวา่  “ทำ� ไม  ต้องเป็นฉัน?” เราจะยิ่งทุกข์มากขึ้น จิตใจจะเร่าร้อน หาความสงบ  มิไดเ้ ลย การยอมรับความจริงมิได้แปลว่ายอมจ�ำนน เม่ือเจ็บป่วยก็  ตอ้ งหาทางเยยี วยารกั ษา แตก่ ารเยยี วยารกั ษานน้ั จะตอ้ งท�ำทใ่ี จดว้ ย  มิใช่ท�ำที่กายเท่าน้ัน เยียวยาใจเราน้ันไม่มีใครท�ำได้ดีเท่าตัวเราเอง  เมื่อเยียวยาใจให้หายกังวลกลัดกลุ้ม การเยียวยารักษากายก็จะเริ่ม  ตน้ ทนั ทีแม้ยังไมไ่ ด้รบั ยาจากหมอด้วยซ�ำ้

มารดาก็ทำ� ใหไ้ ม่ได้ บดิ ากท็ ำ� ใหไ้ ม่ได้ ญาติพน่ี อ้ งก็ทำ� ให้ไมไ่ ด้ แตจ่ ิตทฝ่ี ึกฝนไวช้ อบ ย่อมทำ� สิ่งนัน้ ใหไ้ ด้ และท�ำให้ไดอ้ ยา่ งประเสริฐด้วย พทุ ธวจนะ

ม ิ ต ิ ท ่ี ม ิ อ า จ ม อ ง ข ้ า ม คนเราไม่ได้มีแค่กาย หากยังมีใจด้วย ดังนั้นสุขภาพ  จงึ มที ง้ั มติ ทิ างกายและทางใจ สองสง่ิ นแี้ ยกกนั ไมอ่ อก แตเ่ ดยี๋ วนเี้ รา  มักจะมองแยกออกเป็นส่วนๆ และแยกกันรับผิดชอบ กล่าวคือ  กายเปน็ เรอ่ื งของหมอ สว่ นใจเปน็ เรอ่ื งของพระ บางทกี ม็ องไปไกล  ขนาดวา่  พอ่ แมร่ บั ผดิ ชอบแตเ่ พยี งความเปน็ อยขู่ องเดก็  สว่ นความร้ ู และคณุ ธรรมของเดก็ เปน็ หน้าทข่ี องครู กายกับใจนั้นเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดเกินกว่าที่จะ  แยกสว่ นกนั อยา่ งเดด็ ขาด ความเจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ยทางกายนนั้  เกย่ี วขอ้ ง  กับความทุกข์ทางใจมาก อย่างที่ทราบกันดีว่าคนที่เครียด กลุ้มอก  กลมุ้ ใจ ขโี้ กรธ มสี ทิ ธจิ์ ะเปน็ โรคตา่ งๆ ไดม้ ากมายนบั ตง้ั แตโ่ รคหวดั   โรคกระเพาะ ไปจนถงึ โรคหัวใจ



พ ร ะ ไ พ ศ า ล   ว ิ ส า โ ล 29 ความเจบ็ ปว่ ยฉนั ใด การมสี ขุ ภาพดกี ฉ็ นั นนั้  บางครง้ั รา่ งกาย  ย่�ำแย่ แต่ใจเกิดสู้หรือมีความหวังข้ึนมา ก็สามารถช่วยฉุดร่างกาย  ใหด้ ขี นึ้ ได ้ อยา่ งทหี่ มอเองกน็ กึ ไมถ่ งึ   คณุ หมออมรา มลลิ า เลา่ วา่  ม ี หนุ่มคนหน่ึงประสบอุบัติเหตุ นอกจากบาดเจ็บทางสมองแล้ว ไต  ยังวายเฉียบพลัน ต้องฟอกเลือด อยู่ในภาวะโคม่า หมอบอกว่ามี  โอกาสรอดนอ้ ยมาก ระหวา่ งทนี่ อนหมดสตอิ ยใู่ นหอ้ งไอซยี นู านเปน็ อาทติ ย ์ เขาเลา่   ว่ารู้สึกเหมือนลอยเคว้งคว้าง แต่บางช่วงจะรู้สึกว่ามีมือมาแตะที ่ ตัวเขาพร้อมกับมีพลังส่งเข้ามา ทำ� ให้ใจที่เคว้งคว้างเหมือนจะขาด  หลุดไปน้ันกลับมารวมตัวกัน เกิดความรู้สึกตัวข้ึนมา สักพักความ  รตู้ ัวน้ันกเ็ ลือนรางไปอกี เป็นอย่างนี้ทกุ วนั เขามารู้ภายหลังว่ามีพยาบาลคนหนึ่งทุกเช้าที่ขึ้นเวร จะเดิน  เย่ียมคนไข้ทุกคน ทักทายให้กำ� ลังใจ แต่ถ้าคนไข้ยังโคม่าอยู่ เธอก็  จะจบั มอื แลว้ แผเ่ มตตาใหก้ ำ� ลงั ใจ ขอใหม้ กี ำ� ลงั และรสู้ กึ ตวั  ตอนบา่ ย  พอถงึ เวลาลงเวร กบ็ อกคนไขว้ า่ ดฉิ นั จะลงเวร ขอใหค้ ณุ สบายทง้ั คนื   พรงุ่ นพี้ บกันใหม่

30 ธ ร ร ม ะ สํ า ห ร ั บ ผู้ ป ่ ว ย คนไข้คนนี้เล่าว่า ตอนหลังรู้ตัวดีข้ึน แต่บางคืนรู้สึกเจ็บปวด  มากหายใจก็ยากล�ำบากมาก ตอนนั้นมีความรู้สึกว่าอยากจะหยุด  หายใจไปเลย จะไดห้ มดทกุ ขเ์ สยี ท ี ในชว่ งนนั้ รสู้ กึ วา่ การตายนน้ั งา่ ย  กวา่ การมชี วี ติ อย ู่ แตใ่ จหนง่ึ กน็ กึ ถงึ พยาบาลผนู้ นั้ วา่  หากเธอมาพบ  ว่าเตียงเขาว่างเปล่าจะรู้สึกเสียใจแค่ไหน จะโทษว่าตัวเองบกพร่อง  หรือไม่ ก็เลยคิดว่าขอให้ได้ร�่ำลาพยาบาลคนนั้นเสียก่อน จะบอก  เธอวา่ หากผมตายไปก็ไมใ่ ช่ความผดิ ของคณุ  คุณทำ� ดที ีส่ ุดแล้ว คิด  ได้เช่นนี้ก็พยายามอดทนหายใจต่อไป ครั้นถึงเช้าอาการดีขึ้น พอ  พยาบาลคนนั้นมา เขาก็ลืมร่�ำลาเธอ พอกลางคืนอาการของเขาก็  ทรุดลงอีก ก็พยายามอยู่จนถึงเช้าเพื่อลาพยาบาล แล้วก็ลืมทุกท ี เป็นอย่างนี้อยู่อาทิตย์หน่ึง จนอาการดีขนึ้ และหายเป็นปกติ ชนิดที ่ เกอื บเรียกไดว้ า่ ปาฏหิ ารยิ ์ ผู้ป่วยคนน้ีพ้นจากความตายมาได้ ใจนับว่ามีส่วนส�ำคัญมาก  เรมิ่ จากใจของพยาบาลทเ่ี ปย่ี มดว้ ยเมตตา เมตตานนั้ มพี ลงั ทแี่ มแ้ ต่  คนไข้ซึ่งหมดสติไปแล้วก็สามารถรับรู้ได้ เร่ืองน้ีเป็นข้อคิดแก่หมอ  และพยาบาลวา่ คนไขโ้ คมา่ นน้ั  เขาโคมา่ แตก่ าย สว่ นจติ ยงั สามารถ  รบั รไู้ ดแ้ มจ้ ะรางๆ ค�ำพดู และสภาวะจติ ใจของหมอกบั พยาบาลไมว่ า่   ทางบวกหรอื ลบ สามารถมอี ทิ ธพิ ลตอ่ ผปู้ ว่ ยได ้ ถา้ พดู หรอื คดิ ในทาง  รา้ ย อาการของผปู้ ว่ ยกอ็ าจจะทรดุ ลงได ้ แมจ้ ะใหย้ าเตม็ ทแ่ี ลว้ กต็ าม

พ ร ะ ไ พ ศ า ล   ว ิ ส า โ ล 31 นอกจากเมตตาจติ ของพยาบาลผนู้ น้ั แลว้  เมตตาจติ ของผปู้ ว่ ย  ก็ส�ำคัญไม่น้อย ตอนที่เขามีอาการหนัก เขาไม่ได้คิดถึงตัวเองเลย  หากคดิ ถงึ พยาบาลผนู้ นั้  ไมอ่ ยากใหเ้ ธอเศรา้ เพราะการจากไปของเขา  จึงพยายามมีชีวิตต่อไปเพ่ือจะได้ร�่ำลาและปลอบใจพยาบาลผู้นั้น  นี้คือความปรารถนาดีที่เรียกว่าเมตตาจิต ซึ่งมีพลังหนุนส่งให้เขา  ยืนหยัดต่อสู้กับความทุกข์ในร่างกาย เมตตาหรือพลังจิตอย่างน ้ี ไม่มียาอะไรจะสร้างขึ้นได้ มีแต่เมตตาจิตของผู้อยู่รอบข้างเท่านั้น  ท่ีจะชว่ ยบันดาลใหเ้ กดิ ขน้ึ ได้ ใจนน้ั จะดขี น้ึ หรอื เลวลงขน้ึ อยกู่ บั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผปู้ ว่ ย  กับคนรอบข้างมิใช่น้อย ไม่ใช่แค่หมอและพยาบาลเท่านั้น หากยัง  รวมถงึ ญาตพิ น่ี อ้ งและเพอ่ื นๆ ทมี่ าเยย่ี มดว้ ย ความสัมพนั ธน์ จ้ี ดั วา่   เปน็ มติ ทิ างสงั คมและถอื เปน็ องคป์ ระกอบอกี ประการหนงึ่ ทม่ี อี ทิ ธพิ ล  ตอ่ สุขภาพของผ้ปู ่วย

32 ธ ร ร ม ะ สํ า ห ร ั บ ผู้ ป ่ ว ย ถา้ คนรอบขา้ งมาทกั ทายดว้ ยความแชม่ ชน่ื เบกิ บาน ผปู้ ว่ ยกม็ ี  ก�ำลงั ใจ แตถ่ า้ รอบตวั เต็มไปดว้ ยคนทีข่ ง้ึ เครยี ด หน้าบอกบญุ ไม่รบั   หรอื พอนึกถงึ บ้านทเี่ ต็มไปดว้ ยความระหองระแหง สามนี อกใจ ลูก  ติดยา ใจผ้ปู ่วยก็พลอยหดห่ ู กายย่อมฟน้ื ตัวลำ� บากข้ึน อย่างไรก็ตามใจของคนเราไม่ได้ขึ้นอยู่กับคนรอบข้างอย่าง  เดียวหากยังอยู่ท่ีเจ้าตัวเองด้วย ถ้าหากรู้จักฝึกจิตฝึกใจ เช่น หมั่น  ทำ� สมาธ ิ หรอื มปี ญั ญาเขา้ ใจความเปน็ จรงิ ของสงั ขาร รจู้ กั ปลอ่ ยวาง  ไม่เก็บอะไรมาเป็นอารมณ์ หรือดีกว่าน้ันคือ รู้ว่ากายเท่าน้ันที่ป่วย  แต่ใจไม่ได้ป่วย ถ้ารู้และท�ำได้อย่างน้ี ใจก็เป็นสุขและสามารถฉุด  กายให้ดีขน้ึ ตามมาด้วย กาย ใจ (จิตบวกปัญญา) และสังคม จึงเป็นมิติแห่งสุขภาพ  ท่ีไม่อาจมองข้ามไปได้ ทั้งหมดน้ีเรียกว่าองค์รวมแห่งสุขภาพ  บุคลากรทางการแพทย์ควรท�ำความเข้าใจกับมิติทั้งสามให้ชัดเจน  โดยตระหนกั วา่ ความรบั ผดิ ชอบของตนมไิ ดจ้ ำ� กดั แคเ่ รอ่ื งกายเทา่ นนั้   หากยังมีขอบเขตครอบคลุมอีกสองมิติด้วย ถ้าท�ำได้เช่นนี้ไม่ใช่แค่  ผปู้ ว่ ยเทา่ นน้ั ทจ่ี ะมสี ขุ ภาพดขี น้ึ  แมแ้ ตส่ ขุ ภาพของหมอและพยาบาล  ก็จะดขี ้นึ ดว้ ย และสามารถทำ� งานอยา่ งเป็นสขุ มากขึ้น

พ ร ะ ไ พ ศ า ล   ว ิ ส า โ ล การให้อภยั เป็นส่ิงส�ำคัญ และคนหนง่ึ ที่ควรไดร้ ับการใหอ้ ภัยก็คือตัวเอง แต่จะท�ำเช่นน้ันไดเ้ ราตอ้ งกล้าทจ่ี ะขอโทษ ในสงิ่ ท่ที ำ� ผดิ พลาดไป บางทีเราอาจพบวา่ ผู้ทีจ่ ากไปน้ัน รักเราเกนิ กว่าทีจ่ ะถือสากับเรอ่ื งเหลา่ น้ันได้

อย่างไรจะช่อื วา่ ปว่ ยแต่กาย ใจไม่ป่วย? ในข้อน้อี รยิ สาวกผู้ได้เรยี นสดับแล้ว... ไม่อยู่ดว้ ยความรู้สกึ รุมเรา้ ว่า รูปเป็นของเรา เมื่อรูปนนั้ แปรปรวนไป กลายเปน็ อยา่ งอนื่ เธอก็ไมเ่ กดิ ความโศกเศร้า ความครำ่� ครวญ ความทกุ ขโ์ ทมนสั และความคับแค้นผดิ หวัง อยา่ งนีแ้ ลได้ช่ือว่า ปว่ ยแต่กาย ใจไม่ปว่ ย ภาษิตพระสารบี ุตร

ท ุ ก ข ์ ห า ร   ๓ อีกไม่ถึงครึ่งชั่วโมงก็จะได้เวลาเลิกงาน คุณรู้สึก  ครึ้มอกครึ้มใจเพราะวางแผนจะไปดูเร่ืองโปรดค่�ำนี้ แต่จู่ๆ ก็รับ  มอบหมายใหท้ ำ� งานชนิ้ หนง่ึ  หวั หนา้ ก�ำชบั วา่ ตอ้ งทำ� ใหเ้ สรจ็ ในวนั น ้ี คณุ หวั เสยี ขนึ้ มาทนั ทเี พราะรดู้ วี า่ งานชนิ้ นอี้ ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของ  คนอน่ื  แตเ่ ขาลางานกลบั บา้ นไปกอ่ น จงึ ตอ้ งกลายมาเปน็ ภาระคณุ คณุ รสู้ กึ ไมพ่ อใจเพอ่ื นคนนน้ั อยา่ งแรง ตอนเทย่ี งกท็ หี นง่ึ แลว้   กนิ นำ้� แตล่ มื เกบ็ แกว้  เลยตอ้ งเปน็ หนา้ ทขี่ องคณุ  เทา่ นน้ั ไมพ่ อ ยงั ชง่ิ   งานชิ้นใหญ่มาให้คุณทำ� อีก ส่วนหัวหน้าก็ใช่ย่อย ควรวางแผนงาน 



พ ร ะ ไ พ ศ า ล   ว ิ ส า โ ล 37 ให้ดีบ่ายนี้ท้ังบ่าย เจ้าคนน้ันว่างตลอดก็น่าจะมอบงานช้ินน้ีให้เขา  ทำ� กลบั นง่ิ เฉย ครน้ั เขากลบั บา้ นไปแลว้ ถงึ คอ่ ยขยบั  สดุ ทา้ ยกม็ าลง  ท่คี ณุ คุณรู้สึกว่าไม่ยุติธรรมเลย ฉันท�ำงานเหน่ือยมาท้ังวัน แต่ยัง  ตอ้ งมารบั ผดิ ชอบงานของคนอนื่ อกี  ปที แี่ ลว้ ฉนั ไดโ้ บนสั นอ้ ยกวา่ เจา้   คนน้ัน แต่ท�ำไมฉันต้องมาท�ำมากกว่าเขา น่ีไม่ใช่คร้ังแรกเสียด้วย  ทฉ่ี นั ต้องมาเจอแบบน้ี ถา้ เจอแบบน้ีอีกฉันเห็นจะทนไม่ไหวแล้ว ยง่ิ คดิ กย็ ง่ิ โมโห ผลกค็ อื ทำ� งานชน้ิ นน้ั ใจกย็ ง่ิ ทกุ ข ์ พาลหงดุ หงดิ   กับงานจนฝดื ไปหมด แถมยังทำ� ผิดทำ� พลาดอยู่เป็นระยะ แทนทจ่ี ะ  เสรจ็ ในเวลาไมน่ านกล็ ากยาวไปเปน็ ชว่ั โมง งานธรรมดาๆ จงึ กลาย  เป็นงานยากไป อันที่จริงคุณสามารถท�ำงานอย่างมีความสุขได้ หากใจไม ่ ปฏิเสธหรือต่อต้านขัดขืนงานชิ้นน้ีต้ังแต่แรก ย่ิงต่อต้านขัดขืนมัน  มากเท่าไรใจก็ยิ่งเปน็ ทุกขม์ ากเท่านัน้  คนเรามีเหตผุ ลหลายอยา่ งท่ ี ต่อต้านขัดขืนมัน เช่น ไม่ยุติธรรมเลยที่คุณต้องท�ำงานช้ินนี้ เป็น  งานทไ่ี มเ่ หมาะสมหรอื คคู่ วรกบั คณุ  หรอื ตง้ั แงว่ า่ มนั เปน็ งานยากเยน็   แสนเข็ญตงั้ แตแ่ รก

38 ธ ร ร ม ะ สํ า ห ร ั บ ผู้ ป ่ ว ย เพียงคิดว่า “ไม่ไหวๆ” เท่าน้ัน งานเบาก็กลายเป็นงานหนัก  ไปทันที ความหนักท่ีเพ่ิมขึ้นนั้นไม่ได้มาจากไหน แต่มาจากใจที่มี  ทา่ ทเี ปน็ ลบต่อสิ่งนั้นนัน่ เอง ไมใ่ ชแ่ ตง่ านการเทา่ นน้ั  ประสบการณต์ า่ งๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ชวี ติ   จะกลายเปน็ เรอื่ งหนกั อกหนกั ใจขน้ึ มาทนั ทที เี่ ราตอ่ ตา้ นหรอื ปฏเิ สธ  มนั ตง้ั แตแ่ รก  ในยามทล่ี ม้ ปว่ ย ลำ� พงั ความปว่ ยกายกท็ ำ� ใหท้ กุ ขอ์ ย่ ู แล้ว แต่คนส่วนใหญ่มักเพิ่มความทุกข์เข้าไปอีกด้วยการมีทีท่า  ตอ่ ตา้ นหรอื ปฏเิ สธความเจบ็ ปว่ ยนน้ั  แมห้ วั สมองจะยอมรบั วา่ ตวั เอง  ป่วย แต่ใจก็เอาแต่ตีโพยตีพายว่า “ท�ำไมต้องเป็นฉัน” หรือ “ท�ำไม  ตอ้ งมาเปน็ ตอนน”้ี  ความเปน็ หว่ งงานการหรอื ครอบครวั  ยง่ิ ทำ� ใหใ้ จ  ต่อตา้ นผลักไสความเจ็บป่วยไมเ่ ลิกรา ในเม่ือความเจ็บป่วยเกิดข้ึนกับเราแล้ว แทนที่จะปฏิเสธ  ตอ่ ตา้ น มนั จะไมด่ กี วา่ หรอื หากเราจะยอมรบั  หรอื ดกี วา่ นน้ั คอื ยม้ิ รบั   มัน เพราะถึงอย่างไรมันก็จะยังไม่หายไปในวันน้ีวันพรุ่ง ถึงแม้จะ  รักษาตัวดีเพียงใดก็ตาม ดังนั้นเราจึงควรเรียนรู้ที่จะอยู่กับมันอย่าง  เปน็ มติ ร ยงิ่ ถา้ เปน็ มะเรง็ ดว้ ยแลว้  นนั่ หมายความวา่  กอ้ นมะเรง็ จะ  ต้องอยู่กับเราเป็นปีๆ (หากไม่อยู่ไปจนตลอดชีวิต) เกลียดโกรธมัน  มากเท่าไร เราเองนั่นแหละที่จะเป็นทุกข์ ขณะเดียวกันก็ทำ� ให้มัน 

พ ร ะ ไ พ ศ า ล   ว ิ ส า โ ล 39 ลกุ ลามขยายตวั ดว้ ย การเรียนรู้ที่จะอยู่กับส่ิงที่ไม่น่าพึงพอใจน้ัน เป็นศิลปะแห่ง  การอยอู่ ยา่ งมคี วามสขุ  ไมว่ า่ สงิ่ นนั้ จะเปน็ งานการทมี่ าผดิ เวลำ่� เวลา  งานทไ่ี มถ่ นดั  ความลม้ เหลว ความเจบ็ ปว่ ย การตกงาน หรอื ความ  พลัดพรากสญู เสยี  ฯลฯ การยอมรบั หรอื ยมิ้ รับมนั ไมไ่ ดแ้ ปลวา่ ยอม  จ�ำนน แต่เป็นการยอมรับความจริง และเป็นวิธีลดทอนความทุกข์  ในยามประสบกับสิ่งเหล่านั้น ใช่หรือไม่ว่าหากใจต่อต้านปฏิเสธมัน  ความทุกข์ก็จะเพ่ิมราวกับคูณ ๒ หรือคูณ ๓ แต่ถ้าใจยอมรับหรือ  ยิ้มรบั มนั ความทุกขก์ จ็ ะลดลงราวกบั หาร ๒ หรือหาร ๓ ปญั หาเมอ่ื เกดิ ขน้ึ กต็ อ้ งแกไ้ ข ไมค่ วรยอมจำ� นน แตใ่ นเมอ่ื มนั   เกิดขึ้นแล้ว ป่วยการที่จะตีโพยตีพาย ก่นด่าชะตากรรม เฝ้าบ่นว่า  “ทำ� ไมตอ้ งเปน็ ฉนั ” หรอื ถอดใจยอมแพว้ า่  “ไมไ่ หวแลว้ ๆๆ” เพราะไม่  วา่ จะบน่ แคไ่ หนกไ็ มไ่ ดท้ �ำใหร้ า้ ยกลายเปน็ ดไี ด ้ จะไมด่ กี วา่ หรอื หาก  เราจะทำ� ใจใหส้ งบแลว้ มองไปขา้ งหนา้ วา่ จะแกป้ ญั หาเหลา่ นอี้ ยา่ งไร  ดี ใจทสี่ งบจะช่วยใหเ้ ราเหน็ ทางออกที่ดที ่ีสดุ จนได้

เมอื่ เรามีกายอาดรู กระวนกระวายอยดู่ ว้ ยทุกขเวทนา จิตของเราจะไม่อาดูร กระวนกระวายไปตามกาย กายน้ีมันจกั แตก วิญญาณน้ีมันจกั ดับ เปน็ ของไม่เท่ยี ง ไม่ใช่ของเรา ชา่ งมนั อาตุรกายภาวนา

ร ั ก ษ า ก า ย   ฟ ้ื น ฟ ู ใ จ วนั หนงึ่ ปา้ ชวนนอ้ งโยซง่ึ เปน็ หลานชายวยั  ๗ ขวบ ซอ้ น ท้ายรถจักรยานยนต์เข้าไปในเมือง แต่ระหว่างทางเกิดอุบัติเหตุ  มรี ถพงุ่ เขา้ มาชน ปรากฏวา่ ปา้ แขนหกั  สว่ นนอ้ งโยขาเละไปขา้ งหนง่ึ   ทง้ั สองถกู นำ� ตวั สง่ โรงพยาบาลนครปฐมอยา่ งเรง่ ดว่ น เมอ่ื มาถงึ หอ้ ง  ผา่ ตดั  หมอสงั เกตวา่ นอ้ งโยเงยี บสนทิ  ขณะทปี่ า้ รอ้ งโอดโอยอยใู่ กลๆ้   หลังจากผ่าตัดเสร็จ หมอจึงถามน้องโยว่าท�ำไมไม่ร้องเลย น้องโย  ตอบสั้นๆ ว่า “ผมกลวั ปา้ เสยี ใจครับ”



พ ร ะ ไ พ ศ า ล   ว ิ ส า โ ล 43 นงค์ป่วยเป็นโรคพุ่มพวง ไตวายเพราะแพ้ภูมิคุ้มกันของ  ตวั เองตงั้ แตอ่ าย ุ ๑๒ ขวบ เธอมปี ระสบการณไ์ มด่ กี บั การรกั ษา คอื   ถกู เจาะไขสนั หลงั แลว้ รสู้ กึ เจบ็ มาก จงึ เกลยี ดหมอและกลวั เขม็ ฉดี ยา  เปน็ ทสี่ ดุ  ทกุ ครง้ั ทไี่ ปโรงพยาบาลเธอจะดา่ หมอ แลว้ รอ้ งกรดี๊ จนชกั   หลายคร้ังก็เกร็งจนหมดสติไป  แต่ต่อมาเธอได้รู้จักหมอที่เข้าใจ  ปัญหาของเธอ หมอให้เธอเล่าถึงความรู้สึกของเธอ เช่น โกรธใคร  บ้าง เครียดเรื่องอะไร บางทีหมอก็แนะให้เธอเขียนเล่าฝันร้ายของ  เธอให้หมออ่าน ไม่นานความเครียดของเธอก็ลดลง เม่ือเธอโตข้ึนหมอก็แนะน�ำให้เธอเดินจงกรมอย่างมีสติ แล้ว  ชวนเธอไปเขา้ คอรส์ กรรมฐาน หลงั จากนนั้ เธอกไ็ มก่ ลวั เขม็ ฉดี ยาอกี   เลย เวลาฟอกไตเธอจะนงิ่ มาก จอ้ งมองเขม็  กำ� หนดลมหายใจแลว้   ก็หลับไป วันท่ีเธอผ่าตัดเปล่ียนไต เธอแพ้ยาแก้ปวดจนอาเจียน  แผลระบม หมอไม่รู้จะแก้ปัญหาอย่างไร แต่เธอบอกว่าขอพารา-  เซตามอลเม็ดเดียว พอกินเสร็จเธอก็ก�ำหนดลมหายใจเข้าออกจน  หลับไป ไมส่ ง่ เสียงร้องเจบ็ เลยแมแ้ ตน่ อ้ ยจนหมอแปลกใจมาก นอ้ งโยกบั นงคเ์ ป็นตวั อย่างของคนไขท้ ี่ถกู ความทุกข์ทางกาย  บีบคั้นอย่างรุนแรง แต่ก็สามารถเผชิญกับทุกขเวทนาดังกล่าวได้  อย่างน่ิงสงบเป็นที่น่าอัศจรรย์ ทั้งสองไม่ได้สงบด้วยยา แต่สงบ 

44 ธ ร ร ม ะ สํ า ห ร ั บ ผู้ ป ่ ว ย เพราะใจเป็นส�ำคัญ คนหน่ึงไม่ปริปากร้องเพราะเป็นห่วงป้า ไม่  อยากใหป้ า้ ทกุ ขม์ ากกวา่ น ้ี อกี คนหนงึ่ นงิ่ ไดเ้ พราะอาศยั สตแิ ละสมาธ ิ แม้ว่าการวางใจของท้ังสองคนจะต่างกัน แต่ก็แสดงให้เห็นว่าจิตใจ  น้ันมีพลังมหาศาล สามารถช่วยให้คนเราทนสิ่งท่ีทนได้ยากและทำ�   สิ่งท่ที �ำไดย้ าก ในการเยียวยารักษาพยาบาล ใจมักจะถูกมองข้ามไปอย่าง  นา่ เสยี ดาย สงิ่ ทไ่ี ดร้ บั ความส�ำคญั มากกวา่ คอื ยา อปุ กรณก์ ารแพทย์  หมอ พยาบาล รวมถงึ ระเบยี บขอ้ บงั คบั ของสถานพยาบาล แมว้ า่ ใน  ระยะหลังให้ความส�ำคัญกับบทบาทของคนไข้มากข้ึน แต่ก็มักเน้น  บทบาทในสว่ นทเ่ี ปน็ พฤตกิ รรมทางกายภาพ เชน่  การกนิ  การออก-  กำ� ลงั กาย ในขณะทจี่ ติ ใจของคนไขไ้ มไ่ ดร้ บั การเยยี วยา ฟน้ื ฟ ู หรอื   กระตนุ้ เพอ่ื หนนุ เสรมิ รา่ งกายใหก้ ลบั มาเปน็ ปกต ิ หรอื อยา่ งนอ้ ยกใ็ ห ้ สามารถอยู่กับความทุกข์ทางกายได้ กล่าวอีกนัยหน่ึง ท�ำให้ทุกข-  เวทนาไมล่ กุ ลามไปเปน็ ความทกุ ขท์ รมาน กายกับใจน้ันสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ออก บุคลากรทาง  สาธารณสุขจึงไม่ควรละเลยมิติด้านจิตใจ แม้ว่างานที่ท�ำนั้นจะ  วดั ความสำ� เรจ็ กนั ทส่ี ขุ ภาพกายกต็ าม นน่ั หมายความวา่ เมอ่ื เขามาหา  เราเพราะความเจ็บป่วย ในการวินิจฉัยก็ควรมองให้ครอบคลุมถึง 

พ ร ะ ไ พ ศ า ล   ว ิ ส า โ ล 45 สภาพทางจิตใจของเขาด้วยว่ามีส่วนทำ� ให้ร่างกายของเขาเจ็บป่วย  ดว้ ยหรือไม่ หรือว่าแท้จริงแล้วกายไมไ่ ด้มอี ะไรผดิ ปกตเิ ลย แต่เปน็   ความเจ็บป่วยด้วยสาเหตุทางใจล้วนๆ (แม้จะแสดงออกมาท่ีกาย  ก็ตาม) ในทำ� นองเดยี วกนั เมอ่ื จะเยยี วยารกั ษาเขา นอกจากการฟน้ื ฟ ู รา่ งกายดว้ ยยาหรอื เทคโนโลยที างการแพทยแ์ ลว้  ควรสง่ เสรมิ ใหเ้ ขา  วางใจอย่างถูกต้อง หรือเสริมสร้างพลังใจให้มาช่วยกายในการต่อสู้  กับความเจบ็ ป่วย หรอื อยู่กับความเจบ็ ปว่ ยไดอ้ ยา่ งไม่ทุกข์ทรมาน แต่เท่าน้ียังไม่น่าจะพอ เพราะเป็นการท�ำงานแบบตั้งรับ  ในสถานพยาบาล ในการออกไปท�ำงานกับชุมชน นอกจากการ  สง่ เสรมิ สขุ ภาพกายแลว้  บคุ ลากรทางสาธารณสขุ ควรรว่ มกบั ชมุ ชน  ในการส่งเสริมสุขภาพใจของชาวบ้าน ตรงจุดน้ีเองท่ีความสัมพันธ ์ ภายในชุมชน ตลอดจนวัฒนธรรมและประเพณีมีบทบาทส�ำคัญ  เพราะความสมั พนั ธท์ ร่ี าบรนื่ กลมเกลยี วยอ่ มชว่ ยใหช้ มุ ชนมสี ขุ ภาพ  จิตดี มีความแช่มช่ืนเบิกบาน ความสัมพันธ์ดังกล่าวจะเกิดข้ึนได้  ส่วนหนึ่งก็ต้องอาศัยวัฒนธรรมและประเพณีท่ีมีอยู่แล้วในชุมชน  ท้งั สว่ นทเ่ี ป็นรปู ธรรมและนามธรรม

46 ธ ร ร ม ะ สํ า ห ร ั บ ผู้ ป ่ ว ย ในการวนิ ิจฉัยก็ควรมองใหค้ รอบคลุม ถึงสภาพทางจิตใจของเขาดว้ ย ว่ามีสว่ นทำ� ใหร้ า่ งกายของเขาเจ็บป่วยดว้ ยหรือไม่ หรอื วา่ แทจ้ รงิ แล้วกายไมไ่ ดม้ ีอะไรผิดปกติเลย แต่เปน็ ความเจบ็ ปว่ ยด้วยสาเหตุทางใจล้วนๆ (แมจ้ ะแสดงออกมาที่กายกต็ าม) การส่งเสริมสุขภาพใจไม่จ�ำต้องแยกออกจากการส่งเสริม  สขุ ภาพกายของชมุ ชน ถงึ แมจ้ ะรณรงคป์ อ้ งกนั ไขเ้ ลอื ดออก ไขฉ้ ห่ี นู  หรือโรคเอดส์ หากท�ำโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนและอาศัย  กระบวนการกลมุ่  โดยอาจองิ วฒั นธรรมประเพณขี องทอ้ งถน่ิ ไปดว้ ย  กจ็ ะสามารถสง่ เสริมสขุ ภาพจิตของชมุ ชนไปไดพ้ รอ้ มๆ กนั  วิธีการ  ดังกล่าวแม้ใช้เวลามากกว่าการส่งคนมาบรรยายให้ชาวบ้านฟังท ่ี ศาลากลางบา้ นแบบมว้ นเดยี วจบ แตผ่ ลทไ่ี ดจ้ ะยงั่ ยนื กวา่  และใหผ้ ล  ไม่เฉพาะสุขภาพกายเท่านั้นแต่ยังรวมถึงสุขภาพใจของชุมชนด้วย  เพราะท�ำให้ชุมชนมีความสัมพันธ์ที่เหนียวแน่นและกลมเกลียวกัน  มากขึ้น

พ ร ะ ไ พ ศ า ล   ว ิ ส า โ ล 47 ทกี่ ลา่ วมาขา้ งตน้ เปน็ เรอื่ งมติ ทิ างจติ ใจของชาวบา้ นหรอื ผปู้ ว่ ย  แตก่ อ็ ยา่ ลมื วา่ มติ ทิ างจติ ใจของบคุ ลากรสาธารณสขุ กส็ �ำคญั  ในการ  ทำ� งานไมว่ ่าทส่ี ถานพยาบาลหรือในชุมชน เราตอ้ งเรียนร้ทู จ่ี ะฟื้นฟ ู หรือหล่อเล้ียงจิตใจของตนให้มีพลัง และน�ำพลังน้ันมาหนุนเสริม  การท�ำงานให้เป็นไปได้อย่างย่ังยืน ใจที่รักษาไว้ดีสามารถช่วยให ้ เราเอาชนะทกุ ขเวทนาไดฉ้ นั ใด จติ ทว่ี างไวอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งยอ่ มชว่ ยให้  เราเอาชนะความเครยี ดและเหนอ่ื ยลา้ ไดฉ้ นั นน้ั   จะวา่ ไปแลว้ บอ่ ยครงั้   ความทกุ ขข์ องบคุ ลากรสาธารณสขุ มใิ ชค่ วามทกุ ขก์ าย แตเ่ ปน็ ความ  ทุกขใ์ จ เชน่  ทอ้ แท ้ มองไม่เหน็ ความสำ� เร็จ เหนื่อยหน่ายผ้บู งั คับ-  บัญชา น้อยใจท่ีถูกต�ำหนิอยู่เสมอ ไม่มีใครมองเห็นความดี ฯลฯ  ความทุกข์ใจดังกล่าวอาจบ่ันทอนตัวเองย่ิงกว่าความเหน่ือยล้าจาก  การทำ� งานด้วยซำ�้ การนึกถึงคนอื่นมากกว่าตัวเองอย่างน้องโยอาจช่วยให้เรา  อดทนได้มากขึ้น การรักษาใจด้วยสติหรือมีสมาธิตั้งมั่นอย่างนงค ์ สามารถชว่ ยใหเ้ ราสงบเยน็ ไดแ้ มอ้ ปุ สรรคจะรมุ เรา้  กรณที งั้ สองยงั ชี้  ให้เห็นด้วยว่า คนไข้สามารถเป็นครูสอนใจให้แก่เราได้เป็นอย่างดี  การรกั ษาพยาบาลจงึ เปน็ กระบวนการทที่ ง้ั สองฝา่ ยสามารถชว่ ยเหลอื   ซึ่งกันและกันได้ ไม่ใช่คนไข้เท่าน้ันที่เป็นฝ่ายได้รับความช่วยเหลือ  จากเรา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook