93 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 7 ลูกเสอื กศน. กับจติ อาสา และการบรกิ าร กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 1 จิตอาสา และการพัฒนา คาชี้แจง ให้ผเู้ รียนอธิบายความหมาย ความสาคัญของจติ อาสา และการบรกิ าร ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ความหมายของจิตอาสา 2. ความสาคญั ของจติ อาสา 3. ความหมายของการบริการ 4. ความสาคัญของการบริการ 1. ความหมายของจิตอาสา ตอบ จิตอาสา หมายถึง จิตสานึกเพื่อส่วนรวมของตนที่รู้จักความเสียสละ เอาใจใส่ เป็นธุระ ให้ความร่วมมือร่วมใจ การกระทาประโยชน์เพื่อส่วนรวมเพื่อช่วยกันพัฒนาคุณภาพ ชวี ิตและปรารถนาทีจ่ ะชว่ ยลดปญั หาท่เี กิดขนึ้ ในสงั คม 2. ความสาคัญของจติ อาสา ตอบ ความสาคัญของจติ อาสา เป็นการทาประโยชน์เพ่ือสังคม โดยใช้คุณธรรมเป็นหลัก เร่มิ จากตนเอง ครอบครวั และสังคม 3. ความหมายของการบริการ ตอบ การบริการ หมายถึง การให้ความช่วยเหลือหรือการบาเพ็ญประโยชน์ต่อตนเอง ต่อผูอ้ นื่ และตอ่ ชุมชน มกี ารลงมือปฏิบัติอย่างจริงจัง 4. ความสาคญั ของการบริการ ตอบ ความสาคัญของการบริการ เป็นการพัฒนาจิตใจให้อยู่ในศีลธรรม ไม่เอารัดเอาเปรียบ ผู้อื่น รู้จักการเสียสละ เพื่อบาเพ็ญประโยชน์แก่ผู้อ่ืนโดยมุ่งหมายให้สังคมสามารถดารงอยู่ได้ โดยปกติ
94 กิจกรรมทา้ ยเร่อื งที่ 2 หลกั การของจติ อาสา และการบริการ คาชี้แจง ให้ผเู้ รยี นอธบิ ายหลกั การของจิตอาสา และการบริการ ดังตอ่ ไปน้ี 1. หลักการของจติ อาสา 2. หลักการของการบรกิ าร 1. หลกั การของจติ อาสา ตอบ หลักการของจติ อาสาประกอบด้วย 1. การกระทาของตนเอง ที่มีความรับผิดชอบต่อตนเองในการป้องกันไม่ให้เกิด ผลกระทบและความเสียหายต่อส่วนรวม ได้แก่การมีวินัยในตนเองการควบคุมอารมณ์และ พฤติกรรมการเช่อื ฟงั คาส่งั 2. การกระทาของตนเองที่มีต่อสังคม ในการรักษาประโยชน์ของส่วนรวม เพ่ือแก้ปัญหา สร้างสรรค์สังคม ถือเป็นความรับผิดชอบต่อสังคม ได้แก่ การเคารพสิทธิผู้อ่ืน การรบั ฟังความคิดเห็นของผอู้ ื่น การช่วยเหลือผอู้ ื่น 2. หลกั การของการบรกิ าร ตอบ หลกั การของการบริการ ประกอบดว้ ย 1. ให้บริการอยา่ งมีประสิทธภิ าพ หรอื มที กั ษะในการบริการ เชน่ การปฐมพยาบาล 2. ให้บริการด้วยความสมัครใจ เตม็ ใจ 3. ใหบ้ ริการแก่ผู้ที่ต้องการรบั บรกิ ารผถู้ ูกทอดทิ้ง คนปว่ ยคนชรา 4. ให้บริการด้วยความองอาจ ตง้ั ใจ มนั่ ใจ มคี วามรับผิดชอบ
95 กจิ กรรมทา้ ยเร่อื งท่ี 3 การปฏิบตั ิตนในฐานะลกู เสือ กศน. เพื่อเปน็ จติ อาสา และการให้บรกิ าร คาช้ีแจง ใหผ้ ูเ้ รยี นอธบิ ายการปฏิบตั ิตนในฐานะลูกเสือ กศน. เพ่ือเปน็ จิตอาสา และการใหบ้ ริการ ในประเด็นตอ่ ไปนี้ ประเด็น การปฏิบัตติ นในฐานะลกู เสอื กศน. 1. การเป็นจิตอาสา การปฏิบตั ิตนเพอื่ เปน็ จติ อาสา มดี งั น้ี 1. มคี วามรับผดิ ชอบต่อตนเอง เช่น ต้งั ใจใฝห่ าความรู้ 2. การบรกิ าร ออกกาลังกาย เพอ่ื สุขภาพแขง็ แรงประพฤตติ ัวใหเ้ หมาะสม ทางานทร่ี บั มอบหมายใหส้ าเรจ็ มีความรบั ผดิ ชอบ ตรงเวลา 2. มคี วามรับผิดชอบตอ่ สงั คม เช่น 2.1 เชือ่ ฟังพอ่ แม่ ไมท่ าให้พอ่ แมเ่ สียใจช่วยเหลืองานบา้ น 2.2 หากเป็นผู้เรียนจะต้องตั้งใจเลา่ เรียน เช่อื ฟงั คาสง่ั สอน ของครบู าอาจารย์ ปฏบิ ัตติ ามกฎ ระเบยี บวนิ ัยของสถานศกึ ษา 2.3 ช่วยเหลือใหค้ าแนะนา ไมเ่ อาเปรียบผ้อู นื่ เคารพสิทธิ ซง่ึ กันและกัน 2.4 ปฏบิ ตั ติ ามกฎ ระเบียบของสงั คม ตามกฎหมาย การปฏิบตั ติ นเพือ่ การบรกิ าร มดี ังน้ี 1. เตรียมตนเองใหพ้ ร้อมท่ีจะให้บรกิ ารแก่ผูอ้ นื่ 2. ให้บรกิ ารแกห่ มคู่ ณะ 3. ให้บรกิ ารแก่ชุมชน สงั คม
96 กจิ กรรมทา้ ยเรื่องที่ 4 กิจกรรมจติ อาสา และการให้บรกิ ารของลกู เสอื กศน. คาชแี้ จง ให้ผ้เู รยี นไปสารวจสภาพความเปน็ อยูข่ องชมุ ชน พรอ้ มทัง้ วิเคราะห์ว่ามีสภาพ ความเปน็ อย่ใู ดบา้ งทีล่ ูกเสอื กศน. สามารถลงมอื ทากจิ กรรมจติ อาสาและการบรกิ าร ในชมุ ชนนั้น พรอ้ มยกตวั อยา่ งกจิ กรรมจิตอาสา และการบริการ สภาพความเป็นอยทู่ ่สี ารวจได้ ยกตัวอย่างกิจกรรมจติ อาสาและการบรกิ าร บริเวณลานวัดมใี บไมแ้ หง้ และมูลสตั ว์อยู่ กวาดลานวดั ทาความสะอาดลานวัด มากมาย หอ้ งนา้ โรงเรียนไมส่ ะอาดและผพุ งั ทาความสะอาดและซอ่ มบารงุ มผี ู้สงู อายุเฝ้าบ้านตามลาพงั จัดทากิจกรรมนันทนาการใหผ้ ู้สูงอายุใหม้ ีความสุข เชน่ การออกกาลงั กาย รอ้ งเพลง มีงานประเพณใี นหม่บู ้าน บริการน้าดืม่ บรกิ ารจราจร บรกิ ารยกของหนกั
97 การเรียนรูท้ ี่ 8 การเขยี นโครงการเพอ่ื พฒั นาชมุ ชนและสังคม กิจกรรมทา้ ยเรื่องที่ 1 การเขียนโครงการเพ่ือพัฒนาชมุ ชนและสงั คม คาชี้แจง ให้ผ้เู รยี นตอบคาถามต่อไปน้ี 1. โครงการคอื อะไร 2. โครงการมคี วามสาคญั อย่างไร 1. โครงการคอื อะไร ตอบ โครงการ คือการดาเนินงานหรือกิจกรรมที่ไม่เป็นงานประจา มีการดาเนินงานใน เวลาใดเวลาหนึง่ มีการกาหนดระยะเวลา งบประมาณ ทรัพยากรการบริหารงานมีการออกแบบ แนวทางการดาเนินงานท่ีเฉพาะเจาะจง มุ่งตอบสนองต่อความต้องการของกลุ่มบุคคล ชุมชน และสังคม 2. โครงการมีความสาคญั อยา่ งไร ตอบ โครงการมคี วามสาคัญ ดังนี้ 1. ชว่ ยใหก้ ารดาเนินงานสอดคลอ้ งกบั งานทีจ่ ะทา 2. ช่วยใหก้ ารดาเนนิ งานมีทศิ ทางทชี่ ดั เจน มีประสทิ ธิภาพ 3. ช่วยชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ สภาพปญั หาการทางานทีผ่ ่านมา 4. เสริมสรา้ งความเขา้ ใจอันดแี ละรับผดิ ชอบร่วมกนั 5. ช่วยให้งานดาเนินไปสเู่ ปา้ หมายได้สมบรู ณ์ กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 2 ลักษณะของโครงการ คาชแ้ี จง ให้ผู้เรียนตอบคาถามต่อไปนี้ โครงการท่ดี ีควรมลี กั ษณะอยา่ งไร ตอบ โครงการทีด่ ีควรมีลักษณะ ดังนี้ 1. ตอบโจทย์หรือปัญหาไดถ้ ูกต้องชัดเจน 2. ครอบคลมุ งานที่จะดาเนนิ การ
98 3. มผี รู้ ับผดิ ชอบชดั เจน 4. มีวตั ถุประสงคช์ ดั เจน 5. มรี ะยะเวลา เรมิ่ โครงการและสน้ิ สดุ โครงการแน่นอน 6. สรปุ ผลได้ตามประเด็นปญั หา 7. นาไปใช้เปน็ แนวทางในการดาเนินการทีค่ ลา้ ยกนั กจิ กรรมท้ายเรอื่ งท่ี 3 องค์ประกอบของโครงการ คาช้แี จง ใหผ้ ้เู รียนตอบคาถามต่อไปน้ี องคป์ ระกอบของโครงการมอี ะไรบ้าง ตอบ องคป์ ระกอบของโครงการมีดงั น้ี 1. ช่ือโครงการ 2. หลกั การและเหตุผล 3. วัตถปุ ระสงค์ 4. เป้าหมาย 5. วิธดี าเนินการ 6. ระยะเวลาดาเนนิ การ 7. สถานทด่ี าเนินงาน 8. งบประมาณ 9. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ 10. หน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง 11. การประเมนิ ผลโครงการ 12. ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ 13. ผู้ประสานงานโครงการ
99 กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 4 ขน้ั ตอนการเขยี นโครงการ คาชี้แจง ให้ผู้เรยี นดาเนินการ ดงั น้ี 1. ให้ผเู้ รียนโยงเสน้ ขนั้ ตอนการเขียนโครงการกบั ความหมายของขน้ั ตอนทกี่ าหนด 1. ชอื่ โครงการ ก. แสดงยอดรวมค่าใช้จ่าย 2. หลักการและเหตุผล ข. ผู้ที่ทาโครงการ 3. วตั ถุประสงค์ ค. เหมาะสม ชัดเจน ดงึ ดูดความสนใจ 4. วิธีดาเนินการ เฉพาะเจาะจง ง. ปญั หา ความจาเปน็ 5. ระยะเวลาและสถานที่ จ. การติดตามดแู ล หลังจากดาเนินโครงการแล้ว ดาเนินการ ฉ. ความตอ้ งการทีจ่ ะกระทาสง่ิ ใดสิง่ หนึ่ง 6. งบประมาณ 7. ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ ช. แสดงขัน้ ตอนของงานทจ่ี ะตอ้ งทา 8. ผลที่คาดวา่ จะได้รับ ซ. ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะไดร้ บั จากความสาเร็จ 9. การประเมนิ ผลโครงการ เมอื่ สิน้ สุดโครงการ ฌ. การระบุเวลาท่ีเรม่ิ ตน้ และส้ินสุดโครงการ กิจกรรมทา้ ยเรื่องท่ี 5 การดาเนินงานตามโครงการ คาชีแ้ จง ให้ผูเ้ รยี นฝกึ ปฏิบตั ิเขยี นโครงการ เพอ่ื พัฒนาชมุ ชน และสงั คม และนาสูก่ ารปฏบิ ตั ิ ตามโครงการ (ให้ผูเ้ รียนเขยี นโครงการพร้อมตรวจสอบเนื้อหากับชุดวชิ าลกู เสอื กศน.) กจิ กรรมทา้ ยเรื่องท่ี 6 การสรปุ รายงานผลการดาเนินงานโครงการเพ่ือเสนอต่อท่ปี ระชุม คาชแ้ี จง ใหผ้ เู้ รียนสรุปรายงานผลการดาเนินงานตามโครงการ (ใหผ้ เู้ รียนสรุปรายงานผลการดาเนินงานตามโครงการ พร้อมตรวจสอบเนือ้ หากับ ชดุ วชิ าลูกเสือ กศน.)
100 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 9 ทกั ษะลกู เสอื กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 1 แผนที่ - เข็มทิศ คาชแี้ จง ให้ผู้เรียนตอบคาถาม ดังต่อไปน้ี 1. ความหมายและความสาคญั ของแผนท่ี 2. ความหมาย และความสาคัญของเขม็ ทิศ 1. ความหมายและความสาคัญของแผนท่ี ตอบ แผนท่ี หมายถึง เครื่องมือที่แสดงให้เห็นถึงรายละเอียดต่าง ๆ ของภูมิประเทศที่ อยู่บนผิวโลก โดยการจาลองย่อส่วนลงบนแผ่นวัตถุพ้ืนราบ รายละเอียดอาจแสดงด้วยลายเส้น สี หรอื สญั ลกั ษณ์ต่าง ๆ ความสาคัญของแผนที่ มีดงั นี้ 1. ใชเ้ ป็นเครื่องมอื ประกอบกิจกรรมการเดนิ ทางไกลของลกู เสือ 2. ชว่ ยให้เขา้ ใจถึงข้อมลู พนื้ ฐานของสภาพลักษณะภมู ปิ ระเทศเบ้ืองต้น 3. เนอ่ื งจากแผนทม่ี ีหลายชนิด ทาให้สามารถเลือกใชป้ ระโยชน์จากแผนทีไ่ ด้ อยา่ งถกู ตอ้ ง 2. ความหมาย และความสาคญั ของเข็มทศิ ตอบ เข็มทิศ หมายถึง เคร่ืองมือสาหรับใช้หาทิศทางหรือบอกทิศทางในแผนที่ มีเข็ม แม่เหล็กท่ีแกว่งไกวได้อิสระในแนวนอนทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้ ตามแรงดึงดูดของแม่เหล็ก โลก และท่ีหน้าปัดมีส่วนแบ่งสาหรับหาทิศทางโดยรอบ เข็มทิศจึงมีปลายช้ีไปทางทิศเหนือ เสมอ ความสาคัญของเขม็ ทศิ ใชป้ ระกอบแผนท่แี ละหาทศิ ทางท่ีถูกต้อง
101 กจิ กรรมท้ายเร่อื งที่ 2 วิธกี ารใช้แผนที่ – เข็มทศิ คาชแ้ี จง ให้ผเู้ รยี นตอบคาถาม ดังต่อไปนี้ 1. วิธีการใชแ้ ผนที่ 2. วิธกี ารใช้เขม็ ทิศ 1. วิธกี ารใช้แผนที่ ตอบ การใชแ้ ผนที่ มีวิธีการ ดงั นี้ วางแผนท่ีในแนวระนาบบนพ้ืนใหไ้ ดร้ ะดับ ทิศเหนอื ของแผนทีช่ ้ีไปทางทิศเหนือ จดั ให้แนวตา่ ง ๆ บนแผนท่ีขนานกบั แนวทีเ่ ป็นจรงิ ของภมู ปิ ระเทศ ทุกแนว 2. วิธีการใช้เขม็ ทศิ ตอบ การใช้เข็มทิศ มวี ธิ ีการ ดังนี้ 1. ยกเข็มทศิ ใหไ้ ด้ระดับ 2. ปรับมุมอะซิมทุ ให้เท่ากับมมุ ท่ีกาหนดในแผนที่ 3. เล็งตามแนวลกู ศรช้ที ิศทาง เปน็ เสน้ ทางที่จะเดินไป 4. เดินไปเทา่ กับระยะทางที่กาหนดในแผนท่ี กิจกรรมทา้ ยเรอื่ งที่ 3 การใช้ Google Map คาช้ีแจง ใหผ้ ้เู รียนอธิบายในหัวข้อดงั ตอ่ ไปนี้ 1. Google Map คอื อะไร 2. อธิบายขนั้ ตอนการใช้งาน Google Map พอเขา้ ใจ (โดยสังเขป) 1. Google Map คืออะไร ตอบ Google map เป็นบริการเก่ียวกับแผนท่ีผ่านเว็บบราวเซอร์ของบริษัท Google ซ่ึงสามารถเปิดผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์หรือสมาร์ทโฟน ที่เชื่อมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ต Google map เป็นแผนท่ีท่ีผู้ใช้สามารถซูมเข้า-ออก เพื่อดูรายละเอียดได้ สามารถค้นหาชื่อ สถานท่ี ถนน ตาบล อาเภอ จังหวัดได้ ช่วยอานวยความสะดวกในการเดินทาง สามารถมองได้ หลายมุมมอง เชน่
102 - มุมมอง Map ดใู นลักษณะแผนทที่ ว่ั ไป - มุมมอง Satellite ดใู นลกั ษณะแผนที่ดาวเทียม ดทู ่ีตัง้ ของสถานท่ตี ่าง ๆ จากภาพถ่าย ทางอากาศ - มุมมอง Hybrid ดใู นลกั ษณะผสมผสานระหว่างมุมมอง maps และ Satellite - มมุ มอง Terrain ดูในลักษณะภูมปิ ระเทศ - มุมมอง Earth ดูแบบลูกโลก 2. อธิบายขั้นตอนการใช้ Google Map พอเขา้ ใจ (โดยสังเขป) ตอบ ขน้ั ตอนการใช้งาน Google Map มดี ังนี้ 1. เข้าใช้งานไดจ้ าก Google.com เลือกแผนท่ี 2. เข้าส่แู ผนที่ Google map แล้วเลือกสถานที่หรือพน้ื ทที่ ี่ต้องการจากชือ่ สามัญ 3. ใช้การย่อ ขยาย ในแผนท่ไี ดต้ ามตอ้ งการ 4. เมื่อเจอจดุ พกิ ดั กส็ ามารถดแู ผนท่ไี ด้ กิจกรรมท้ายเร่ืองท่ี 4 เงอ่ื นเชือกและการผกู แน่น คาชแี้ จง ใหผ้ ้เู รียนตอบคาถามดงั ต่อไปน้ี 1. ความหมายของเง่อื นเชือกและการผกู แน่น 2. ความสาคญั ของเง่อื นเชือกและการผูกแน่น 3. ใหผ้ ูเ้ รียนฝกึ ผกู เงือ่ นเชือกแลว้ บอกประโยชนข์ องเงื่อนเชือกทีก่ าหนด ลงในตารางต่อไปนี้ 3.1 เงื่อนพริ อด 3.2 เงือ่ นขัดสมาธิ 3.3 เงือ่ นตะกรุดเบด็ 1. ความหมายของเงื่อนเชือกและการผูกแนน่ ตอบ เงื่อนเชือก หมายถึง การนาปลายเชือกเส้นหนึ่ง ผูกกับปลายเชือกอีกเส้นหน่ึง เพ่ือเป็นการต่อเชือก หรือนาเชือกไปผูกกับวัตถุ หรือผูกเป็นบ่วงคล้องวัตถุ การผูกเง่ือนแต่ละ ชนดิ มีความยากงา่ ยแตกตา่ งกนั ออกไป
103 2. ความสาคัญของเงอื่ นเชือกและการผูกแน่น ตอบ ความสาคัญของเง่ือนเชือก ใช้เพื่อการต่อเชือก หรือผูกวัตถุตามแต่ละชนิด ของเชือก และเมอ่ื ลากจูงส่ิงของและใชช้ ่วยชีวติ 3. ให้ผู้เรียนฝึกผูกเง่อื นเชือกแลว้ บอกประโยชนข์ องเง่ือนเชือกท่ีกาหนด ลงในตารางต่อไปนี้ 3.1 เงื่อนพิรอด 3.2 เงื่อนขัดสมาธิ 3.3 เงือ่ นตะกรดุ เบ็ด เงื่อนเชือกและประโยชน์ของเงื่อนเชือก มีดงั นี้ เงื่อนเชือก ประโยชนข์ องเงื่อนเชอื ก 1. เง่อื นพิรอด 1. ใชต้ อ่ เชือก 2 เส้น ทม่ี ีขนาดเท่ากัน 2. ใช้ผกู ปลายเชือกเส้นเดียวกนั เพ่อื ผูกมัดสง่ิ ของและวตั ถุต่าง ๆ 2. เงอ่ื นขัดสมาธิ 3. ใช้ผูกเชอื กรองเทา้ (ผูกเงือ่ นพิรอดกระตกุ ปลาย 2 ข้าง) 3. เงอ่ื นตะกรดุ เบด็ 4 ใช้ผูกโบ ผูกชายผา้ พนั แผล ผูกชายผ้าทาสลงิ คล้องคอ 1. ใชต้ ่อเชอื กท่ีมขี นาดเดียวกนั หรอื ต่างกัน 2. ใชต้ อ่ เชือกอ่อนกับเชือกแข็ง 3. ใช้ผกู กบั ขอ หรือบ่วง 1. ใช้ผกู เชอื กกบั เสาหรือส่ิงอนื่ ๆ ปมเชือกจะไมค่ ลาย 2. ใชท้ าบันไดเชือก บันไดลิง 3. ใชใ้ นการผูกเงอื่ นแนน่ ประกบ กากบาท 4. ใชผ้ กู ปากถงุ ขยะ
104 หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 ความปลอดภัยในการเขา้ รว่ มกิจกรรมลกู เสอื กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 1 ความความปลอดภยั ในการเข้ารว่ มกจิ กรรมลกู เสือ คาช้แี จง ให้ผเู้ รยี นตอบคาถาม ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ความหมายของความปลอดภัยในการเข้ารว่ มกจิ กรรมลกู เสอื 2. ความสาคัญของความปลอดภัยในการเขา้ ร่วมกิจกรรมลกู เสอื 1. ความหมายของความปลอดภัยในการเข้ารว่ มกจิ กรรมลกู เสอื ตอบ ความปลอดภัย หมายถึง การที่ร่างกายปราศจากอุบัติภัย อยู่ในสภาวะท่ี ปราศจากอันตราย หรือสภาวะท่ีปราศจากการบาดเจ็บ เจ็บปวด เจ็บป่วย จะมากหรือน้อย ขึน้ อยูก่ ับการปฏบิ ตั ิหรือการกระทาของตนเอง 2. ความสาคัญของความปลอดภัยในการเขา้ ร่วมกิจกรรมลูกเสอื ตอบ ความสาคัญของความปลอดภยั ในการเขา้ ร่วมกิจกรรมลกู เสือ เปน็ ความจาเปน็ พื้นฐานสาหรับการป้องกันหรือช่วยเหลืออย่างทันท่วงที หรือการสร้างความปลอดภัยใน กจิ กรรมตา่ ง ๆ ก่อนทจี่ ะมีภัยเกิดข้ึนบางประการหรือเตรียมการรองรับในเบื้องต้น เพื่อป้องกัน การสญู เสีย กจิ กรรมทา้ ยเรือ่ งท่ี 2 หลักการ วิธกี ารเฝ้าระวงั เบ้ืองตน้ ในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมลกู เสือ คาช้ีแจง ใหผ้ ู้เรียนยกตัวอยา่ งการเฝา้ ระวังเบ้อื งตน้ ในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมลกู เสือ กจิ กรรมลกู เสอื ยกตัวอย่างการเฝา้ ระวงั เบื้องตน้ กจิ กรรมบุกเบิก ตรวจสอบอุปกรณ์ เครื่องมอื เครอื่ งใช้ สาหรับการ แผ้วถางทาง บุกเบกิ เส้นทาง เพ่อื อานวยความสะดวก กิจกรรมผจญภยั และความปลอดภยั ใหแ้ กผ่ เู้ ดินตามมาภายหลงั ตรวจสอบ คุณลกั ษณะและคุณภาพของวัสดุ ไม้ เชือก หรอื ลวดท่ีนาไปใช้ในการสรา้ งฐานผจญภยั
105 กิจกรรมท้ายเรอื่ งท่ี 3 การช่วยเหลือเมอ่ื เกดิ เหตคุ วามไม่ปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมลกู เสือ คาช้ีแจง ให้ผู้เรยี นอธิบายวธิ ีการชว่ ยเหลือ เมอ่ื เกิดเหตคุ วามไมป่ ลอดภยั ในการเขา้ ร่วม กิจกรรมลูกเสอื กรณตี ่อไปน้ี กรณอี บุ ัติเหตุ การช่วยเหลือ อุบตั ิเหตุทางนา้ 1.จดั ให้นอนตะแคงก่งึ คว่า 2. ตรวจสอบการหายใจ ถ้าไม่มีการหายใจให้ชว่ ยกูช้ ีพ อุบตั ิเหตุทางรถยนต์หรือทางถนน ทันที 3. ใหค้ วามอบอนุ่ กับรา่ งกายผู้จมน้า โดยถอดเสอื้ ผ้า อุบัตเิ หตทุ ว่ั ไป เปียกออกและใช้ผ้าแห้งคลุมตัว 1. ตกจากที่สูง 1. การใช้เคร่อื งหมายบอกสัญญาณ เพอื่ ส่งสัญญาณ 2. หกลม้ เตอื นในการเพมิ่ ความระมดั ระวงั โดยสญั ญาณฉกุ เฉิน 3. ไฟไหม้ 2. ประเมินสถานการณจ์ ากสภาพแวดลอ้ มและสภาพ 4. น้ารอ้ นลวก จราจร 3. โทรศพั ท์แจง้ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เชน่ หนว่ ยแพทย์ ฉุกเฉิน มูลนิธิ โรงพยาบาล ควรเคลื่อนย้ายด้วยความระมดั ระวงั
106 กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 4 การปฏบิ ตั ิตนตามหลักความปลอดภยั คาช้ีแจง ให้ผู้เรยี นยกตัวอย่างการปฏบิ ัตติ นตามหลักความปลอดภยั หลกั ความปลอดภยั ยกตัวอย่างการปฏิบตั ติ นตามหลัก ด้านร่างกาย ความปลอดภยั ด้านจติ ใจ ตอ้ งเตรียมร่างกาย ด้วยการออกกาลังกาย รักษาร่างกายไมใ่ ห้เจ็บป่วย หาความรู้เกย่ี วกับกจิ กรรมลูกเสอื กศน. เปน็ การ เตรยี มพรอ้ มด้านจติ ใจในการปฏิบัตติ นเองและ ให้ความชว่ ยเหลอื ผอู้ ่นื ตามความเหมาะสม
107 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 11 การปฐมพยาบาล กิจกรรมทา้ ยเร่ืองที่ 1 การปฐมพยาบาล คาช้ีแจง ใหผ้ ้เู รียนตอบคาถามดังตอ่ ไปน้ี 1. ความหมายของการปฐมพยาบาล 2. ความสาคญั ของการปฐมพยาบาล 3. หลกั การของการปฐมพยาบาล 1. ความหมายของการปฐมพยาบาล ตอบ การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความช่วยเหลือผู้บาดเจ็บเบื้องต้น โดยใช้ เครอ่ื งมอื หรอื อปุ กรณ์ท่หี าไดใ้ นบรเิ วณนนั้ ๆ เพอื่ ชว่ ยบรรเทาอาการและช่วยให้ผู้บาดเจ็บได้รับ อันตรายน้อยลงกอ่ นท่ีจะสง่ โรงพยาบาล เพอ่ื ให้แพทยท์ าการรกั ษา 2. ความสาคญั ของการปฐมพยาบาล ตอบ การปฐมพยาบาลมคี วามสาคัญ ดังน้ี 1. เพือ่ ชว่ ยเหลอื ผบู้ าดเจ็บ 2. เพอ่ื ปอ้ งกันและลดความพกิ ารทีอ่ าจเกิดขน้ึ 3. เพือ่ บรรเทาความเจบ็ ปวดและป้องกนั อันตราย 3. หลักการของการปฐมพยาบาล ตอบ หลกั การของการปฐมพยาบาล มดี ังน้ี 1) การมอง สารวจความปลอดภัย รวมทั้งสารวจระบบสาคัญของร่างกายอย่าง รวดเรว็ และวางแผนให้การชว่ ยเหลืออยา่ งมีสติ ไม่ตน่ื เต้นตกใจ 2) ห้ามเคลื่อนย้าย หรือไม่ควรเคล่ือนย้ายผู้บาดเจ็บจนกว่าจะแน่ใจว่าเคลื่อนย้าย ได้อย่างรวดเร็ว ยกเว้นกรณีที่เกิดการบาดเจ็บในสถานท่ีท่ีไม่สะดวกต่อการปฐมพยาบาลหรือ อาจเกิดอนั ตรายมากขึ้น ท้ังผ้บู าดเจ็บและผชู้ ว่ ยเหลือจาเป็นต้องเคลื่อนย้ายไปทที่ ี่ปลอดภัยก่อน 3) ช่วยเหลือด้วยความนุ่มนวลและระมัดระวัง ให้การช่วยเหลือตามลาดับ ความสาคัญของการมีชีวติ หรือตามความรนุ แรงทีผ่ บู้ าดเจ็บไดร้ ับ ดงั นี้
108 3.1 กลุ่มอาการช่วยเหลือดว่ น ไดแ้ ก่ หยุดหายใจ หวั ใจหยุดเต้น หมดสติ และ เสียเลือด 3.2-กลุ่มอาการช่วยเหลือรอง ได้แก่ ความเจ็บปวด การบาดเจ็บของกระดูก และข้อ อมั พาต กิจกรรมท้ายเรอื่ งที่ 2 วธิ กี ารปฐมพยาบาล กรณีตา่ ง ๆ คาชี้แจง ให้ผ้เู รียนอธิบายวธิ ีการปฐมพยาบาล กรณีตอ่ ไปนี้ กรณผี ปู้ ่วย วธิ กี ารปฐมพยาบาล เป็นลมวงิ เวยี นศีรษะ 1. พาเข้าทรี่ ม่ อากาศถา่ ยเทสะดวก 2. นอนราบไม่หนุนหมอน หรือยกปลายเท้าให้สูงเล็กนอ้ ย เปน็ ลมแดด 3. คลายเส้ือผ้าใหห้ ลวม 4. พัดหรอื ใช้ผา้ ชบุ น้าเชด็ เหงอื่ ตามหนา้ มือและเท้า เลือดกาเดาไหล 5. ใหด้ มแอมโมเนีย 6. ถ้ารู้สกึ ตัวดีให้ด่มื น้า 7. ถ้าอาการดขี นึ้ นาสง่ แพทย์ต่อไป 1. นาผู้ทมี่ ีอาการเข้าในทีร่ ่ม 2. นอนราบ ยกเท้าสูง 3. คลายเส้อื ผา้ ให้หลวม 4 . ใช้ผ้าชุบน้าประคบบริเวณใบหน้า ขอ้ พบั ขาหนบี เชด็ ตัว เพ่อื ระบายความร้อน 5. ถา้ รู้สึกตวั หรือมอี าการดีข้ึน ให้จิบน้าเย็น 6. ถ้าอาการดขี น้ึ นาสง่ แพทย์ 1. ใหผ้ ู้ป่วยนัง่ น่งิ ๆ เอนตวั ไปข้างหนา้ เล็กนอ้ ย 2. ใช้มือบีบปลายจมูก ร่วมกับการประคบเย็น 3. ถ้ามีเลือดออกมาก ใหผ้ ู้ป่วยบ้วนเลอื ดหรอื นา้ ลายลงในอ่าง 4. เมอ่ื เลอื ดหยดุ แลว้ ใช้ผ้าสะอาดเช็ดบริเวณจมกู และปาก 5. ห้ามส่งั นา้ มูกหรอื ลว้ งแคะ ขยจ้ี มกู
109 กจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 3 การวัดสญั ญาณชีพและการประเมินเบอื้ งตน้ คาช้แี จง ใหผ้ ูเ้ รยี นอธิบายวิธีการวัดสญั ญาณชีพ และการประเมนิ เบ้ืองต้น การวดั สัญญาณชีพ วิธีการวดั การประเมนิ เบื้องตน้ 1. การวัดสญั ญาณชีพ ใชน้ ว้ิ มือ 3 นว้ิ (นิ้วชี้ นวิ้ กลาง คนปกติ การบีบหวั ใจ ประมาณ นิว้ นาง) ดา้ นขวา แตะทีข่ อ้ มือ 60 -100 ครง้ั ต่อนาที ผู้ปว่ ยและสังเกตการเต้นของชีพจร 2. การวัดอตั รา สังเกตจากาการหายใจนาเอา การขยายตัวของช่องอก คนปกติ การหายใจ ออกซเิ จนเข้าสูร่ ่างกาย โดยดูจาก 12 – 20 ครั้งตอ่ นาที การขยายตัวของชอ่ งอก 3. การวดั อณุ หภูมิ เปน็ การวัดความร้อนของร่างกาย คนปกติ อุณหภูมิ 37 องศา รา่ งกาย โดยใช้ปรอท เซลเซียส +/- 0.5 องศาเซลเซยี ส 4. การวดั ความดัน ใชเ้ คร่ืองวดั ความดนั วดั ทต่ี ้นแขน คนปกตมิ คี วามดันโลหติ โลหติ แล้วบีบ ประมาณ 90/60 120/80 มลิ ลิเมตรปรอท กิจกรรมท้ายเร่อื งที่ 4 วิธกี ารช่วยชวี ิตข้ันพ้ืนฐาน คาช้ีแจง ให้ผเู้ รยี นอธิบายเก่ยี วกับการชว่ ยชวี ติ ข้นั พ้ืนฐาน ในหวั ข้อทีก่ าหนดให้ 1. การช่วยชีวติ ขนั้ พ้ืนฐาน หมายความว่าอะไร 2. อธิบายข้นั ตอนการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน มาพอเขา้ ใจ 1. การชว่ ยชีวิตขั้นพนื้ ฐาน หมายความว่าอะไร ตอบ การช่วยชีวิตข้ันพ้ืนฐาน เป็นการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ เม่ือเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น กะทันหนั เพือ่ นาออกซเิ จนเข้าสูร่ า่ งกาย และช่วยให้โลหิตมีการไหลเวียนไปเล้ียงเนื้อเยื่อต่าง ๆ ของรา่ งกาย จนกระทง่ั ระบบต่าง ๆ กลับมาทาหนา้ ทีไ่ ด้เปน็ ปกติ
110 2. อธิบายข้นั ตอนการช่วยชวี ติ ขนั้ พ้นื ฐาน มาพอเข้าใจ ตอบ ขนั้ ตอนการชว่ ยชีวติ ขัน้ พ้ืนฐาน มดี ังนี้ 1. สารวจสถานการณ์ สารวจสถานการณ์บริเวณที่เกิดเหตุอย่างรวดเร็ว ถ้าสถานการณ์ปลอดภัยให้ตะโกน เรยี กผูบ้ าดเจบ็ 2. หากไม่มีการตอบสนอง ใช้มือทั้ง 2 ข้างตบไหล่ เรียกพร้อมสังเกตการตอบสนอง (การลมื ตาขยบั ตวั และพดู ) 3. ขอความช่วยเหลือ ถา้ ผบู้ าดเจ็บหมดสตไิ ม่หายใจ ใหข้ อความช่วย โทรศัพท์แจง้ 1669 (ศูนย์นเรนทร) 4. การกระตุ้นหวั ใจ โดยการกดหนา้ อก 30 ครง้ั 5. การผายปอด และการช่วยหายใจ
111 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 12 การเดนิ ทางไกล อยคู่ ่ายพกั แรม และชวี ิตชาวคา่ ย กจิ กรรมท้ายเรือ่ งท่ี 1 การเดินทางไกล คาช้ีแจง 1.1 ใหผ้ ้เู รยี นอธิบายเกีย่ วกบั การเดินทางไกลดงั ต่อไปน้ี 1. ความหมายของการเดินทางไกล 2. วัตถปุ ระสงคข์ องการเดนิ ทางไกล 3. หลกั การของการเดนิ ทางไกล 1. ความหมายของการเดินทางไกล ตอบ การเดินทางไกล หมายถึง การเดินทางของลูกเสือจากกอง หรือกลุ่มลูกเสือ เพื่อไปทากิจกรรมท่ีใดที่หนึ่ง โดยมีผู้กากับและนายหมู่ลูกเสือเป็นผู้กาหนดร่วมกัน เพ่ือนา ลูกเสือไปฝึกทักษะวิชาการลูกเสือเพิ่มเติม ให้รู้จักการใช้ชีวิตกลางแจ้งและสัมผัสกับธรรมชาติ อย่างใกล้ชิด โดยลูกเสือได้ใช้ความสามารถของตนเอง การเดินทางไกล การเดินทางด้วยเท้า เรือ หรือจักรยาน และรถยนต์ 2. วตั ถุประสงค์ของการเดินทางไกล ตอบ 1. เพอ่ื ฝึกความอดทน ความมีระเบียบวนิ ัยและเสริมสรา้ งสขุ ภาพอนามยั ใหแ้ กล่ ูกเสือ 2. เพ่อื ให้ลูกเสอื มีเจตนารมณ์ และเจตคตทิ ี่ดี รู้จักชว่ ยตนเองและรจู้ กั ทางานรว่ มกับผู้อน่ื 3. เพื่อใหม้ โี อกาสปฏบิ ัตติ ามคตพิ จนข์ องลกู เสือและมีโอกาสบริการตอ่ ชมุ ชนทีไ่ ปอยู่ ค่ายพกั แรม 4. เพอ่ื เป็นการฝกึ และปฏบิ ตั ิตามกฎของลกู เสือ 3. หลกั การของการเดินทางไกล ตอบ การเดินทางไกล ใช้ระบบหมู่ เพื่อฝึกความอดทน ความสามัคคี ความมีระเบียบ วินัย การช่วยเหลือซึ่งกันและกันรู้จักการระมัดระวังตัวจากอุบัติเหตุขณะเดินทาง และการ เตรียมตัวในการเดินทางให้ได้ใช้ชีวิตกลางแจ้งโดยมีการเตรียมอุปกรณ์เฉพาะบุคคลลงใน เคร่ืองหลังสาหรับเดินทางไกล และเตรียมอุปกรณ์สาหรับหมู่หรือกอง สาหรับสร้างค่ายพักแรม และการใช้ชีวติ ชาวคา่ ย
112 การบรรจุเครื่องหลัง สาหรับการเดนิ ทางไกล คาชแ้ี จง 1.2 ใหผ้ ้เู รยี นระบกุ ารเตรยี มอุปกรณ์สว่ นตวั สาหรับการบรรจุเครอื่ งหลังในการเดิน ทางไกล ลงในตารางตอ่ ไปนี้ ประเดน็ อุปกรณท์ ่ตี อ้ งเตรยี ม การเตรียมอุปกรณ์ส่วนตัว สาหรับ 1. เคร่อื งแต่งกาย ไดแ้ ก่ เคร่ืองแบบลูกเสอื และ การบรรจุเคร่ืองหลัง เครอ่ื งหมายประกอบเครอ่ื งแบบ คอื หมวก ผ้าผูกคอ เสื้อ ในการเดินทางไกล กางเกงหรือกระโปรง เข็มขัด ถงุ เท้า รองเท้าหรือชดุ ลาลอง หรือชุดสุภาพ ชดุ กีฬา ชดุ นอน 2. เครือ่ งใชป้ ระจาตวั ไดแ้ ก่ สบู่ แปรงสีฟนั ยาสีฟัน ผา้ เชด็ ตวั ผ้าขาวมา้ ผา้ ถุง ไฟฉาย ขนั นา้ รองเท้าแตะ จาน ชาม ชอ้ น ยากันยุง ยาขัดโลหะ เชือก หรอื ยาง สาหรับผกู หรือรัดอุปกรณ์เล็ก ๆ น้อย ๆ ถุงพลาสตกิ สาหรับใส่เส้ือผ้า ทใ่ี ช้แลว้ หรือเปียกช้ืน 3. ยาประจาตัว หรืออุปกรณ์ปฐมพยาบาล 4. อปุ กรณ์ประกอบการเรียนรู้ และการจดบนั ทกึ กิจกรรม เช่น สมุด ปากกา ดนิ สอ แผนท่ี เขม็ ทิศ 5. อปุ กรณ์ท่ีจาเป็นตามฤดกู าล เชน่ เส้อื กนั ฝน เสอ้ื กนั หนาว 6. อปุ กรณ์เครอ่ื งนอน เช่น ผ้าห่ม ถุงนอน 7. อุปกรณ์ท่ีประจากายลกู เสือ เช่น ไม้งา่ ม กระตกิ นา้ เชือกลกู เสอื
113 กิจกรรมท้ายเรื่องที่ 2 การอยูค่ ่ายพกั แรม คาชี้แจง ใหผ้ เู้ รยี นอธิบายความหมาย วตั ถปุ ระสงค์ และหลักการของการอยคู่ ่ายพักแรม ข้อ ประเด็นคาถาม คาอธบิ าย 1. ความหมายของการอยคู่ ่ายพักแรม องค์รวมของการเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยมีนวัตกรรมและขบวนการถ่ายทอด การทดสอบ การเสริมสร้างพัฒนาการให้แก่ลูกเสือโดยการนา ลู ก เ สื อ อ อ ก จ า ก ท่ี ตั้ ง ป ก ติ ไ ป พั ก แ ร ม คื น ใ น ส ภ า พ ทเ่ี หมาะสม โดยจัดกจิ กรรมให้สอดคลอ้ งกับการเรียน 2. วตั ถปุ ระสงค์ของการอยคู่ ่ายพกั แรม 1. เพื่อให้ลูกเสือทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากทฤษฎี และ การฝึกปฏบิ ตั ิ 2. เพ่ือเป็นการฝึกทักษะทางลูกเสือ ให้มีระเบียบวินัย มีเจตคติ มคี า่ นยิ มทดี่ ีงาม 3. เพ่ือให้ลูกเสือปฏบิ ตั ิตามคาปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื 3. หลกั การของการอยู่คา่ ยพักแรม 1. ยึดหลักการมีส่วนร่วม โดยให้ผู้บังคับชาลูกเสือ ลูกเสือ และชมุ ชน มีสว่ นรว่ ม ในการจดั กจิ กรรม 2. ใช้กระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นให้ลูกเสือมีทักษะในการ แสวงหาความรจู้ ากแหลง่ เรียนรูใ้ นชุมชน 3. ใช้กระบวนการกลุ่มในการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ ฝึกให้คิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ ที่เป็นประโยชน์ และสมั พนั ธก์ ับวิถชี ีวิต 4. มีกิจกรรมวชิ าการและกจิ กรรมนันทนาการท่ีให้ลูกเสือ ไดร้ บั ความรู้ และความสนุกสนาน ทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม เพ่ือเสริมสร้าง ความสามัคคี มนุษยสัมพันธ์ ความเป็น ผูน้ า 5. ต้องคานึงถึงความปลอดภัยในด้านต่าง ๆ ระหว่าง การทากิจกรรม
114 กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 3 ชีวติ ชาวค่าย คาช้แี จง 3.1 ให้ผ้เู รยี นอธิบายความหมายของคาว่าชวี ติ ชาวคา่ ย ตอบ ชีวิตชาวค่าย หมายถึง การที่บุคคลหลาย ๆ คน มาอยู่รวมกัน ทากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยกนั นอน กนิ เรียนรู้ ฝกึ ทักษะ เดินทางไกล ผจญภยั โดยพักค้างในคา่ ยด้วยกนั คาช้ีแจง 3.2 ใหผ้ ู้เรียนระบุเหตผุ ลของการเตรยี มอปุ กรณส์ ว่ นรวมของหมู่หรือของกองลูกเสือ ในการอยู่ค่ายพกั แรม ลงในตารางตอ่ ไปนี้ อปุ กรณ์ส่วนรวมท่ีต้องเตรยี ม เหตผุ ลของการเตรยี มอปุ กรณ์ส่วนรวม 1. มดี พร้า พลั่วสนาม จอบ เสียม ไม้กวาดทางมะพรา้ ว เพื่อเตรียมความพร้อมในการอยูค่ ่ายพกั แรม เพือ่ ใชเ้ ป็นอปุ กรณก์ ารจัดการคา่ ยและฐาน 2. มีดทาครวั หม้อ ทัพพี กระทะ เขยี ง กจิ กรรมบกุ เบกิ จาน ชาม กะละมัง ถงั นา้ นา้ ยาล้างจาน 3. เคร่ืองปรุงสาหรับการประกอบอาหาร เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มสาหรับการอยคู่ ่ายพกั แรม น้ามัน น้าปลา น้าตาล ฯลฯ ในกิจกรรมการทาครัว ชีวิตชาวคา่ ย 4. เต็นท์ เชือก ลวด ยาง ถุงดา ตะเกียง ไฟฉาย แผนที่ เขม็ ทศิ เพอ่ื เตรยี มสาหรบั การปรุงอาหาร ในการอยู่คา่ ย 5. อปุ กรณป์ ระกอบจงั หวะชุดการแสดง พกั แรม 6. กระเป๋ายา และอุปกรณ์การปฐม เพ่ือเตรียมความพรอ้ มสาหรับการอยู่ค่ายพกั แรม พยาบาลเบื้องต้น และใช้ในกิจกรรมชวี ิตชาวคา่ ย เพือ่ ใช้ประกอบการจดั กิจกรรมประกอบการแสดง ในการอยูค่ ่ายพกั แรม เพอ่ื เตรยี มความพร้อมและสาหรับปอ้ งกันในยาม ฉกุ เฉิน การอยู่คา่ ยพกั แรม และเดนิ ทางไกล
115 คาช้ีแจง 3.3 ใหผ้ เู้ รียนยกตัวอยา่ งอปุ กรณท์ ีใ่ ช้ในชวี ิตชาวค่าย ตามประเดน็ ตอ่ ไปน้ี กิจกรรมชวี ติ ชาวคา่ ย ตวั อย่างอปุ กรณ์ทใี่ ช้ในชีวติ ชาวคา่ ย การสร้างค่ายพกั แรม 1. มดี ไว้ตัด เฉอื น สบั ห่นั ปาด การสรา้ งครัวชาวคา่ ย 2. ขวาน ใช้ตดั ไม้ ฟันไม้ ผ่าไม้ ตอกไม้ การสรา้ งเตาประเภทต่าง ๆ 3. เลื่อย ใชส้ าหรับงานท่วั ไป 4. จอบ ใชส้ าหรับขดุ ดิน ทาหลมุ ถากหญ้า การประกอบอาหารแบบชาวค่าย 5. เสยี ม ใชข้ ดุ ดิน ขดุ ลอก 6. พล่วั ใช้ตกั ดนิ ตักทราย 7. ค้อน ใชต้ อก ทุบ ทาลาย 1. ท่ที าครัว มีเขตทาครัวโดยเฉพาะ มคี วามเหมาะสม 2. เตาไฟ เลอื กแบบท่เี หมาะกบั พ้นื ท่ีทาครัว 3. กองฟืน กองเปน็ ระเบยี บ อยูไ่ มห่ ่างจากเตาไฟ 4. เคร่ืองใช้ตา่ ง ๆ หมอ้ กระทะ มีด เขยี ง พร้อมทเ่ี ก็บ 5. หลุมเปียก หลมุ แหง้ 1. เตาสามเสา้ นาก้อนหินสามก้อนมาวางบนพน้ื จัดระยะห่างใหพ้ อดกี บั กน้ หม้อเป็นสามมุมให้อากาศ ถ่ายเทสะดวก 2. เตาหลมุ ขดุ หลมุ ใหม้ ีขนาดกวา้ งพอเท่ากบั หมอ้ ลึก พอประมาณ แลว้ เจาะรู เพอ่ื ใสฟ่ นื ด้านหนา้ แลว้ รูระบาย อากาศ ดา้ นข้างเพือ่ ให้ควันออก 3. เตาลอย ขดุ หลมุ สมี่ ุม แล้วนาทอ่ นไมแ้ ขง็ แรงสต่ี น้ ทา เป็นเสาส่ีมุม นามาวางพาดผูกเป็นส่ีเหล่ียมและวางคาน ใหเ้ ต็มพ้นื ที่ ใช้ใบไม้ปใู ห้ราบ เอาดินปูพืน้ ใหห้ นพอสมควร ใชก้ ้อนหินทาเป็นเตาสามเสา้ 1. การหงุ ขา้ วด้วยหม้อหู แบบเชด็ นา้ และไม่เช็ดน้า 2. การตม้ โดยใส่ของลงไปพรอ้ มนา้ แลว้ ตม้ และใส่ของ หลังจากต้มน้าเดือดแล้ว
116 กจิ กรรมชีวติ ชาวคา่ ย ตวั อย่างอุปกรณท์ ่ีใช้ในชีวติ ชาวคา่ ย การกางเตน็ ท์ และการเก็บเต็นท์ 3. การผัด ใชน้ ้ามัน หรือกะทิ ใสข่ องทจ่ี ะผดั ลงไป ทาให้ สกุ และปรุงรส 4. การทอด ใสน่ ้ามันในภาชนะใหท้ ่วมของที่ทอด โดยให้ น้ามันรอ้ นจัดกอ่ น 1. เตน็ ทส์ าเร็จรูป ประกอบเสาเต็นทแ์ ล้วสอดเขา้ ตวั เต็นท์ ตามรูปโค้ง ให้ทะลุถึงกันเป็นสะพานไขว้ เสาเต็นท์จะโผล่ ที่มุมทั้ง 4 ด้าน ให้นาขอยึดห่วงท้ัง 4 ด้าน ตอกกับพ้ืน เพือ่ ยึดให้แนน่ 2. การเก็บเต็นท์ ก่อนพับเก็บเต็นท์ ควรผ่ึงแดดให้แห้ง และถอดขอทยี่ ดึ ทั้ง 4 มุม ถอดเสาเต็นท์และพับเก็บตามเดิม พับผา้ เต็นท์ โดยไล่ลมออก กิจกรรมท้ายเรอื่ งท่ี 4 วิธกี ารจัดการคา่ ยพักแรม คาชแ้ี จง ใหผ้ ู้เรียนตอบคาถาม ดงั ต่อไปน้ี 1. คา่ ยพกั แรม หมายความวา่ อย่างไร 2. อธิบายการสุขาภบิ าล (การทาหลุมเปียก) ในค่ายพักแรมมาพอเขา้ ใจ 1. ค่ายพักแรม หมายความวา่ อย่างไร ตอบ ค่ายพกั แรม หมายถึง การที่กลุ่มบุคคลไปใช้ชีวิตร่วมกันในบริเวณแห่งใดแห่งหน่ึง อาจเปน็ ท่ีโลง่ แจง้ หรือนอกเมือง หรือสถานที่ท่ีเหมาะสมอื่น ๆ ในระยะเวลาหน่ึง เพ่ือกิจกรรม อยา่ งใดอยา่ งหนึง่ หรือพักผอ่ นหยอ่ นใจ ภายใต้คาแนะนาของผู้นาค่ายที่ดรี บั การฝกึ มาแล้ว 2. อธิบายการสุขาภิบาล (การทาหลุมเปียก) ในค่ายพักแรมมาพอเขา้ ใจ ตอบ การทาหลุมเปียกในค่ายพักแรม มีดังนี้ ขุดหลุมขนาดใหญ่ และลึกพอสมควร ท่ปี ากหลุมใชก้ ่งิ ไม้ ใบไม้ สานเป็นแผงปดิ ไว้ แล้วหาหญา้ โรยขา้ งบนแผงกง่ิ ไม้อกี ชน้ั หลุมเปียกน้ี มไี วส้ าหรับเทนา้ ท่ีไมใ่ ช้แลว้ ลงไปในหลมุ เช่น น้าปนไขมนั นา้ ปนเศษอาหาร ซ่ึงเม่ือเทลงไปแล้ว ไขมันและเศษอาหารต่าง ๆ จะติดอยู่ท่ีหญ้า มีแต่น้าเท่านั้นที่ไหลลงไปในหลุม ต้องเปล่ียนแผง กง่ิ ไม้ ใบไม้ทป่ี ากหลมุ ทกุ วนั และนาแผงที่ใชแ้ ลว้ ไปเผาทุกวันเช่นกนั
117 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 13 การฝึกปฏบิ ัตกิ ารเดินทางไกล อยคู่ า่ ยพกั แรม และชวี ติ ชาวค่าย กจิ กรรมท้ายเร่อื งที่ 1 การวางแผนและปฏิบตั ิกิจกรรมการเดินทางไกล อยคู่ ่ายพกั แรม และชีวิตชาวค่าย คาช้ีแจง ใหผ้ ู้เรียนวางแผนการแสดงในกจิ กรรมนันทนาการและชมุ นมุ รอบกองไฟ ในประเดน็ ตอ่ ไปนี้ (ใหผ้ ู้เรียนวางแผนการแสดงในกิจกรรมนันทนาการและชุมนุมรอบกองไฟตามประเดน็ ท่กี าหนด) กิจกรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 2 การใช้ชวี ิตชาวคา่ ยรว่ มกบั ผู้อน่ื ในค่ายพกั แรม คาชแ้ี จง ให้ผู้เรียนเข้ารว่ มกจิ กรรมทุกกจิ กรรมที่กาหนด พรอ้ มทง้ั แสดงความคิดเหน็ และ สะท้อนความรสู้ ึกของการใชช้ ีวิตชาวค่ายร่วมกบั ผู้อ่ืนในคา่ ยพกั แรม ในช่ัวโมงสุดทา้ ย ก่อนปดิ การฝึกปฏบิ ัติ (ให้ผ้เู รียนเข้าร่วมกิจกรรมและแสดงความคิดเห็น และสะท้อนความรู้สึกของการใช้ชีวิตชาวค่าย ร่วมกับผอู้ นื่ ในค่ายพักแรม ก่อนปดิ การฝึกปฏิบัติ)
118 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน 1. ง 11. ก 21. ข 2. ค 12. ค 22. ง 3. ง 13. ค 23. ก 4. ง 14. ข 24. ง 5. ข 15. ง 25. ข 6. ค 16. ค 26. ข 7. ก 17. ก 27. ก 8. ก 18. ค 28. ข 9. ค 19. ค 29. ข 10. ง 20. ก 30. ค
119 รายชอ่ื ผเู้ ขา้ รว่ มประชุมปฏบิ ตั กิ ารจัดทาตน้ ฉบบั ชดุ วิชา รายวิชาเลือกบังคับ และสมุดบันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ รายวชิ าลกู เสือ กศน. ท้ัง 3 ระดบั การศึกษา ระหวา่ งวนั ท่ี 5 – 9 กุมภาพันธ์ 2561 ณ โรงแรมนนทบรุ พี าเลซ จงั หวัดนนทบรุ ี 1. นายกฤตชัย อรุณรัตน์ เลขาธกิ าร กศน. 2. นางสาววิเลขา ลสี ุวรรณ์ รองเลขาธิการ กศน. 3. นางสรุ วี ัลย์ ลม้ิ พิพัฒนกลุ ผู้เช่ยี วชาญเฉพาะดา้ นมาตรฐานการศกึ ษา 4. นางรงุ่ อรุณ ไสยโสภณ ผอู้ านวยการกล่มุ พฒั นาการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย 5. นางสาววราภรณ์ ศริ ิวรรณ ข้าราชการบานาญ 6. นางสาวเนาวเรศ นอ้ ยพานิชย์ ขา้ ราชการบานาญ 7. นายไพฑูรย์ ลิศนนั ท์ ขา้ ราชการบานาญ 8. นายเจริญศักดิ์ ดีแสน ผอู้ านวยการศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษาลาปาง 9. นายอนันต์ คงชมุ รองผู้อานวยการสานักงาน กศน. จงั หวัดสโุ ขทยั 10. นายวรวุฒิ หุนมาตรา ผอู้ านวยการ กศน.เขตคลองสาน กทม. 11. นางสาววมิ ลรตั น์ ภูริคุปต์ ผู้อานวยการ กศน.เขตบางเขน กทม. 12. นางอบุ ลรตั น์ ชนุ หพันธ์ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเมอื ง จังหวดั จนั ทบุรี 13. นายไพโรจน์ กนั ทพงศ์ ผอู้ านวยการโรงเรียนลามหาเมฆ (ประชาราตรีอนุสรณ)์ จังหวดั ปทุมธานี 14. ว่าที่ร้อยตรี สเุ มธ สจุ ริยวงศ์ รองผู้อานวยการโรงเรียนงามมานะ (แผน – ทบั อุทศิ ) 15. นายบวรวทิ ย์ เลศิ ไกร รองผูอ้ านวยการโรงเรยี นศุภกรณ์วทิ ยา 16. นายบนั เทิง จนั ทร์นเิ วศน์ โรงเรียนบางมดวิทยา“สีสุกหวาดจวนอุปถมั ภ์” 17. นางสาวสโรชา บรุ ีศรี เลขานกุ ารฯ สานักงาน ก.ค.ศ. 18. นายกฤตพัฒน์ นิชยั วรตุ มะ สานักการลกู เสือ ยุวกาชาด และกจิ การนักเรยี น 19. นางกนกวรรณ น่ิมเจรญิ สานกั การลกู เสือ ยุวกาชาด และกจิ การนักเรียน 20. นายเอกสิทธิ์ สวัสดิ์วงค์ สานักงานลกู เสือแห่งชาติ 21. นายเอกชัย ลาเหลอื สานักงานลกู เสอื แหง่ ชาติ 22. นายศรัณยพงศ์ ขตั ิยะนนท์ กศน.อาเภอเมอื ง จังหวัดจันทบุรี
23. นายขวัญชยั เนียมหอม 120 24. นางสาววรรณพร ปัทมานนท์ 25. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาไพศรี กศน.อาเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก 26. นางเยาวรัตน์ ปนิ่ มณีวงศ์ กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา 27. นางสาวฐิติมา วงศ์บัณฑวรรณ ตามอัธยาศัย 28. นางกมลทิพย์ ช่วยแก้ว กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา 29. นางสาวสุจรยิ า พุ่มไสล ตามอัธยาศัย 30. นายจตุรงค์ ทองดารา กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา 31. นางสกุ ญั ญา กุลเลิศพิทยา ตามอัธยาศัย 32. นายชัยวชิ ติ สารัญ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย กลุม่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย
121 รายชื่อผเู้ ข้าร่วมประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารบรรณาธิการตน้ ฉบับชุดวิชา รายวชิ าเลือกบงั คับ และสมุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ รายวชิ าลกู เสอื กศน. ท้ัง 3 ระดบั การศึกษา ครง้ั ท่ี 1 วนั ที่ 12 – 16 มนี าคม 2561 ณ หอั งประชมุ อารยี ์ กุลตัณฑ์ อาคาร กศน.ชน้ั 6 นางรุง่ อรุณ ไสยโสภณ ผอู้ านวยการกลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย นางสาววราภรณ์ ศริ ิวรรณ ขา้ ราชการบานาญ นางสาวเนาวเรศ น้อยพานชิ ข้าราชการบานาญ นายเจรญิ ศักดิ์ ดีแสน ผู้อานวยการศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษาลาปาง นายบันเทงิ จันทร์นเิ วศน์ โรงเรยี นบางมดวทิ ยา “สีสกุ หวาดอปุ ถัมภ์” นายขวญั ชยั เนยี มหอม กศน.อาเภอบา้ นนา จงั หวัดนครนายก นายชยั วชิ ิต สารัญ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั
122 รายชอ่ื ผูเ้ ขา้ ร่วมประชมุ ปฏบิ ตั ิการบรรณาธกิ ารตน้ ฉบับชดุ วชิ า รายวิชาเลือกบงั คับ และสมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ รายวิชาลูกเสอื กศน. ทัง้ 3 ระดับการศกึ ษา ครัง้ ที่ 2 วนั ที่ 26 – 30 มนี าคม 2561 ณ โรงแรมชลพฤกษ์ รีสอรท์ จงั หวัดนครนายก นางรงุ่ อรุณ ไสยโสภณ ผ้อู านวยการกลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั นางสาววราภรณ์ ศริ ิวรรณ ขา้ ราชการบานาญ นางสาวเนาวเรศ น้อยพานิช ขา้ ราชการบานาญ นายเจรญิ ศกั ดิ์ ดีแสน ผู้อานวยการศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษาลาปาง นายบันเทิง จันทร์นเิ วศน์ โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สีสุกหวาดอปุ ถมั ภ์” นายขวญั ชัย เนียมหอม กศน.อาเภอบ้านนา จงั หวัดนครนายก นายชัยวชิ ิต สารญั กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย
123 รายชอ่ื ผู้เข้าร่วมประชมุ ปฏิบัตกิ ารบรรณาธิการต้นฉบบั ชดุ วชิ า รายวิชาเลือกบังคับ และสมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ รายวชิ าลกู เสอื กศน. ท้งั 3 ระดับการศึกษา คร้งั ท่ี 3 วันที่ 7 – 9 พฤษภาคม 2561 ณ โรงแรมนนทบรุ ี พาเลซ นนทบุรี นางรงุ่ อรุณ ไสยโสภณ ผ้อู านวยการกลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย นางสาววราภรณ์ ศริ ิวรรณ ขา้ ราชการบานาญ นางสาวเนาวเรศ นอ้ ยพานชิ ขา้ ราชการบานาญ นางนพรตั น์ เวโรจน์เสรีวงศ์ ข้าราชการบานาญ
124 คณะผู้จดั ทา ท่ีปรกึ ษา เลขาธกิ าร กศน. นายกฤตชัย อรุณรตั น์ รองเลขาธกิ าร กศน. นางสาววเิ ลขา ลสี ุวรรณ์ ข้าราชการบานาญ นางสาววราภรณ์ ศริ วิ รรณ ผอู้ านวยการกลุ่มพัฒนาการศกึ ษานอกระบบ นางรงุ่ อรณุ ไสยโสภณ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย คณะทางาน หวั หน้ากลุ่มงานพฒั นาส่อื การเรียนรู้ นายศภุ โชค ศรรี ัตนศลิ ป์ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางสาวทิพวรรณ วงคเ์ รอื น กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางสาวชมพนู ท สังข์พชิ ยั กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ผู้พิมพต์ ้นฉบบั กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางสาวทพิ วรรณ วงค์เรือน กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางสาววิยะดา ทองดี กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน์ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางวรรณี ศรศี ิริวรรณกลุ กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั นางสาวชาลนิ ี ธรรมธษิ า กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย นางสาวชมพนู ท สังข์พชิ ยั นางสาวขวญั ฤดี ลิวรรโณ กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ผอู้ อกแบบปก นายศภุ โชค ศรีรัตนศลิ ป์
125
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133