Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผลการจัดกิจกรรมเศรษฐกิจ 6 ตำบล

สรุปผลการจัดกิจกรรมเศรษฐกิจ 6 ตำบล

Published by Idear Sutthida, 2021-04-10 02:48:30

Description: สรุปผลการจัดกิจกรรมเศรษฐกิจ 6 ตำบล

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลการจดั กิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้และฝกึ ปฏบิ ตั ิการ “โคก หนอง นา โมเดล” ก กศน.ตำบล สงั กัด กศน.อำเภอพนัสนิคม

สรุปผลการจัดกจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามรแู้ ละฝกึ ปฏบิ ตั กิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” ก คานา กศน.ตําบลบ้านช้าง กศน.ตําบลบ้านเซิด กศน.ตําบลหมอนนาง กศน.ตําบลกุฎโง้ง กศน.ตําบลทุ่งขวาง และ กศน.ตําบลนามะตูม สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพนัสนิคม ได้จัดทํา โครงการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม รู้จักการใช้พื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด พร้อมท้ังส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ตลอดจน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงมีการสรุปผลการจัดกิจกรรม โครงการดังกล่าวเพื่อต้องการทราบว่าการดําเนินโครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์ท่ีกําหนดไว้หรือไม่ บรรลุในระดับ ใดและได้จัดทําเอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเสนอต่อผู้บริหาร ผเู้ กยี่ วขอ้ งเพ่อื นาํ ข้อมูลไปใชใ้ นการปรับปรงุ และพฒั นาการดาํ เนนิ โครงการใหด้ ยี ิ่งข้นึ คณะผจู้ ัดทํา ขอขอบคุณผอู้ ํานวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาํ เภอ พนัสนิคม ที่ให้คําแนะนํา คําปรึกษา ในการจัดทําสรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในครง้ั น้ี หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงานโครงการและหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการนําไปใช้ในการจัดกิจกรรม การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตอ่ ไป คณะผู้จัดทาํ ครู กศน.ตาํ บล มนี าคม 2564 กศน.ตำบล สงั กดั กศน.อำเภอพนสั นิคม

สรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรแู้ ละฝึกปฏบิ ัตกิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” ข สารบัญ หนา้ ก หัวเรือ่ ง ข คาํ นาํ ค สารบญั 1 สารบญั ตาราง 1 บทท่ี 1 บทนาํ 1 1 - หลักการและเหตผุ ล 2 - วัตถปุ ระสงค์ 2 - เปาู หมายการดําเนินงาน 3 - ผลลพั ธ์ 3 - ตัวชีว้ ัดผลสําเร็จของโครงการ 3 บทที่ 2 เอกสารการศึกษาและงานวิจยั ท่เี กยี่ วข้อง 10 - กรอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 13 - เอกสาร/งานท่ีเกย่ี วข้อง 18 บทท่ี 3 วธิ ดี ําเนนิ งาน บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล บทท่ี 5 อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ ภาคผนวก - แผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - โครงการอบรมให้ความร้แู ละฝึกปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” - แบบประเมนิ ผู้รับบรกิ าร - ภาพประกอบการจัดกจิ กรรม - หนงั สือเชิญวทิ ยากร คณะผู้จดั ทํา กศน.ตำบล สงั กดั กศน.อำเภอพนัสนิคม

สรปุ ผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรแู้ ละฝึกปฏบิ ัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” ค สารบัญตาราง ตารางท่ี รายละเอยี ด หนา้ 1 ผู้เข้าร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามได้นาํ มาจําแนกตามเพศ 13 2 ผู้เข้าร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดน้ ํามาจาํ แนกตามอายุ 13 3 ผู้เข้าร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดน้ ํามาจําแนกตามอาชพี 14 4 ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดน้ าํ มาจาํ แนกตามระดับการศึกษา 14 5 แสดงคา่ ร้อยละเฉลีย่ ความสาํ เร็จของตัวชวี้ ดั ผลผลติ ประชาชนทัว่ ไป 14 6 ค่าเฉล่ยี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ในภาพรวม 15 7 ค่าเฉลย่ี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ 15 ดา้ นการบริหารจัดการ 8 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ 16 ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้/การอบรม 9 ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ 16 ดา้ นประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับ กศน.ตำบล สงั กัด กศน.อำเภอพนัสนิคม

สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามร้แู ละฝกึ ปฏบิ ตั กิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” 1 บทท่ี 1 บทนา หลักการและเหตผุ ล สถานการณ์ของประเทศไทยในปัจจุบันต้องเผชิญกับผลกระทบจากวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซ่ึงส่งผลกระทบไปถึงวิกฤตทางด้านเศรษฐกิจ ด้านการสาธารณสุข ด้านการ คมนาคมและอน่ื ๆ ส่งผลให้เกิดวิกฤตทางสงั คมขนาดหนกั ไปทว่ั ท้งั โลก ซง่ึ ส่งผลใหโ้ ลกมผี ลผลติ ลดลงถึง 30% ซึ่งหมายถึง โลกจะขาดอาหารและเศรษฐกิจจะมีการเติบโตลดลง 1.5% อีกทั้งวิกฤตด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ทั้งเรื่องภัยแล้งและน้ําท่วม ที่คาดว่าจะมีความรุนแรงขึ้นท้ังในเชิงผันผวน ความถ่ีและขอบเขตท่ีกว้าง มากขึ้น ซ่ึงจะสร้างความเสียหายต่อชีวิตและโครงสร้างพื้นฐานท่ีจําเป็น ทําให้เศรษฐกิจฐานรากของประเทศเกิด ความเสียหาย เพ่ือปัญหาความยากเจนและความเหล่ือมล้ําทางสังคม ตลอดจนระบบการผลิตทางการเกษตรท่ีมี ความสัมพันธ์ต่อเนื่องกับความม่ันคงด้านอาหารและนํ้า ขณะที่ระบบนิเวศต่าง ๆ มีแนวโน้มเส่ือมโทรมลง และมี แนวโนม้ ท่ีจะสญู เสียความสามารถในการรองรบั ความตอ้ งการของมนุษย์ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ทางออกของประเทศไทยในการรอดพ้นวิกฤตและเกดิ การพัฒนาท่ยี ัง่ ยืน ได้ถูกกําหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 และนโยบายรัฐบาลท่ีจะสืบสาน รักษา ต่อยอดและพัฒนาประเทศตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงได้มีการน้อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักทฤษฎีใหม่มาเป็นหลัก ในการ ส่งเสรมิ กระบวนการเรียนร้แู ละการมสี ่วนร่วมของประชาชน ซ่ึงเน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยการพัฒนาคนให้ พ่งึ ตนเอง มีความเปน็ เจ้าของและบริหารจัดการโดยชุมชน พัฒนาหมู่บ้านหรือชุมชนให้มีวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง และเปน็ สังคม “อยูเ่ ยน็ เปน็ สุข” ดังน้ัน กศน.ตําบลบ้านช้าง พร้อมด้วย กศน.ตําบล รวมทั้งส้ิน 6 แห่ง จึงได้จัดโครงการอบรมให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล”ข้ึนให้แก่ประชาชน เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรู้จักการใช้พ้ืนที่อย่างมี ประสิทธิภาพสูงสุด พร้อมทั้งส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดล้อมตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ส่งเสริมให้ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมรู้จกั การใช้พนื้ ที่อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพสูงสุด 2. เพื่อส่งเสริมและพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมตาม แนวทางปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เป้าหมาย ด้านปริมาณ ประชาชน 6 ตาํ บล ๆ ละ 5 คน ได้แก่ ตําบลบา้ นช้าง ตาํ บลบา้ นเซดิ ตาํ บลหมอนนาง ตาํ บลกุฎโงง้ ตําบลท่งุ ขวางและตําบลนามะตูม รวมท้งั สิน้ 30 คน กศน.ตำบล สงั กดั กศน.อำเภอพนสั นิคม

สรุปผลการจดั กิจกรรมโครงการอบรมให้ความรแู้ ละฝกึ ปฏิบัตกิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” 2 ดา้ นคุณภาพ - ผูเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมรู้จักการใช้พ้ืนที่อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพสูงสุด - ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมมีการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมตาม แนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ผลลพั ธ์ ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมรูจ้ ักการใชพ้ ื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพสงู สุด อกี ทงั้ มกี ารพฒั นาคุณภาพชีวติ ตลอดจน ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดชั นีชี้วดั ผลสาเรจ็ ของโครงการ ตัวชว้ี ดั ผลผลติ รอ้ ยละ 80 ผเู้ ขา้ รบั การอบรมรู้จักการใช้พืน้ ท่ีอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สุด ตัวชีว้ ดั ผลลัพธ์ รอ้ ยละ 80 ผู้เข้ารบั การอบรมมีการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตท่ดี ี ตลอดจนใชท้ รัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ้ มตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไดอ้ ยา่ งเหมาะสม กศน.ตำบล สังกัด กศน.อำเภอพนัสนิคม

สรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้และฝกึ ปฏบิ ัตกิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” 3 บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและงานวิจัยทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ในการจัดทําสรุปผลโครงการอบรมให้ความรแู้ ละฝึกปฏิบตั ิการ “โคก หนอง นา โมเดล” ครง้ั นี้ คณะ ผจู้ ดั ทาํ โครงการได้ทาํ การค้นควา้ เน้ือหาเอกสารการศกึ ษาและงานวิจยั ท่เี กี่ยวขอ้ ง ดังน้ี 1. กรอบการจัดกจิ กรรมการเรียนรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. เอกสาร/งานวจิ ัยที่เกี่ยวขอ้ ง 1. กรอบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จุดเนน้ การดาเนนิ งานประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1. น้อมนาํ พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาสู่การปฏบิ ัติ 1.1 สืบสานศาสตรพ์ ระราชา โดยการสรา้ งและพัฒนาศนู ย์สาธิตและเรยี นรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” เพ่ือเป็นแนวทางในการจัดการบรหิ ารทรพั ยากรรูปแบบตา่ ง ๆ ท้ังดิน น้า ลม แดด รวมถึงพชื พันธุ์ต่าง ๆ และสง่ เสรมิ การใช้พลงั งานทดแทนอย่างมีประสทิ ธิภาพ ภารกจิ ตอ่ เนือ่ ง 1. ด้านการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ 1.3 การศกึ ษาต่อเน่ือง 4) การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งผ่านกระบวนการเรียนรู้ ตลอดชีวิตในรูปแบบต่าง ๆ ใหก้ ับประชาชน เพื่อเสริมสรา้ งภมู ิคุ้มกนั สามารถยืนหยัดอย่ไู ดอ้ ยา่ งม่ันคง และมีการ บรหิ ารจดั การความเสยี่ งอย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและย่ังยืน 2. เอกสาร/งานวิจัยทีเ่ ก่ียวขอ้ ง เกษตรทฤษฎีใหม่ หลกั การออกแบบดว้ ยพ้นื ท่ดี ้วย ภูมิสงั คม หลุมขนมครก ก็คือเกษตรทฤษฎีใหม่ของพระองค์ท่านนี่แหละ ถ้าจะให้นิยาม เรามาใช้คํา ให้เป็นภาษา ชาวบ้านแคน่ ั้นเอง 1. โคก หนอง นาโมเดล ก็ถือเป็น 1 หลุม พื้นท่ีลุ่มน้ําน้ันเปรียบเหมือนถาดขนมครก ถาด 1 ถาด ถ้าไม่มี หลุมเลย ก็จะเป็นถาดเรียบ ๆ ที่น้ําลากมาก็จะไหลผ่านหมด การทําหลุมขนมครกก็คือการทํา โคก หนอง นา เป็น หลุมๆ อยู่ในถาดนั้น ให้เป็นจุด ๆ ให้เต็มถาด เพ่ือให้แทนที่นํ้าท่ีอาจจะไหลผ่านทั้งหมดทีเดียว น้ําก็จะได้ขังอยู่ใน หลุมขนมครก เพราะนาํ้ ฝนทง้ั หมดทีต่ กมา แทนทจ่ี ะทะลักล้นทําให้เกดิ น้าํ ทว่ มแบบนมี้ นั ก็จะโดนเก็บไว้กอ่ นแล้ว อย่างเช่น ท่ีน่านถ้าเราไปทําอย่างน้ี ทุกภูเขาที่กําลังหัวโล้นอยู่ ไปทําท้ังระบบเก็บน้ําบนภูเขา มีปลูกปุาเพ่ิมเพ่ือจะ เก็บน้ําไว้ในดิน เช่นการขุดหนองบนเขา ทํานาบนเขา เป็นนาข้ันบันได ก็จะสามารถชะลอน้ําไม่ให้ลากลงมาได้ เพราะวา่ ระบบนํ้าท่ีฝนตก นํ้าจากน้ําฝนน้ีเวลาตกจะโดนชะลออยู่ในพื้นท่ีก่อนไม่ใช่ตกแล้วหลากด่ิงมาเลย เพราะถ้า ดงิ่ ลงมารวมกันหมด ก็จะทําให้เกดิ การทะลักกลายเป็นน้ําปุา แต่ถา้ ทําอย่างนีม้ นั จะชะลออยู่เป็นจุด ๆ หลุมขนมครก น้ี นอกจากจะช่วยชะลอน้ําทว่ มแล้ว ก็ยังทาํ ใหม้ ีนํ้าเกบ็ อยใู่ นทดี่ นิ ซึ่งสามารถนํามาใช้ตลอดทัง้ ปีได้ ซึง่ หลักการออกแบบ คือต้องคํานวณว่า ใน 1 ปี จะใช้น้ําอยู่กี่ลูกบาศก์เมตร แล้วจะต้องเก็บน้ําให้พอใช้ใน 1 ปี โดยท่ีไม่ต้องรอน้ําจากระบบชลประทาน และต้องพ่ึงตนเองเร่ืองนํ้าให้ได้ 100% หรือ 120% เพ่ือจะเผ่ือ ชาวบ้านที่เขาไมม่ พี อ หลักสาคัญที่สุดในการออกแบบพ้ืนที่จริง ๆ เราจะใช้คําว่าการออกแบบเชิงภูมิสังคมไทย ซ่ึงคําว่าภูมิ สงั คมนี้ เปน็ คําทใี่ นหลวงทา่ นพระราชทานให้ และคําน้ีก็เป็นคําที่ทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้ นําไปเปิดเป็นหลักสูตร ชื่อ ว่าหลักสูตรการพัฒนาภูมิสังคมอย่างย่ังยืน ซึ่งสามารถนํามาเช่ือมโยงกับ ความเข้าใจของสิ่งท่ีพระองค์ท่านทรงคิด กศน.ตำบล สังกดั กศน.อำเภอพนสั นิคม

สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามร้แู ละฝกึ ปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” 4 และปรัชญาของพระองค์ท่าน ว่าพระองค์ท่านอยากจะทําอย่างไร ที่สําคัญจริง ๆ นั้น มีปัจจัยคือเร่ืองของคําว่าภูมิ สังคมนน้ั ภูมิ คือ กายภาพ สภาพดิน นํ้า ลม ไฟ และสังคม คือ วัฒนธรรม ความเชื่อ ภูมิปัญญาดั่งเดิมท่ีอยู่ในพ้ืนท่ี นั้น เพราะฉะน้ันปัจจัย 2 ตัวนี้คอื ปจั จยั หลักท่ีสําคัญ ซึ่งการออกแบบจริง ๆ นัน้ สงั คมจะสําคัญกว่าภูมิ เพราะต้องออกแบบตามคนที่อยู่ เปรียบเสมือนศัพท์ทาง สถาปนกิ ท่เี รามกั จะใชค้ อื ปลูกเรอื นตามใจผู้อยู่ เชน่ การออกแบบพื้นที่หน่ึงใน จังหวัดลําปาง ถึงแม้จะเป็นภูเขาด้าน เดียวกนั แต่คนท่ีอยู่อาศัยนน้ั เป็นคนเผ่ากระเหรยี่ งและเผา่ อาข่า ซ่ึงเป็นคนละชนเผ่า ฉะนัน้ การออกแบบกจ็ ะใชค้ นละรูปแบบ เพราะวัฒนธรรมการกินอยู่ของท้ัง 2 เผ่า นั้น ไม่เหมือนกัน พืชผัก ท่ีเขาปลูกก็ไม่เหมือนกัน เพราะฉะน้ันความต้องการน้ําของพืชผักแต่ละชนิด จึงไม่เหมือนกัน ฉะน้ันภูมิประเทศ เหมือนกันกจ็ รงิ แต่ถ้าสงั คมไมเ่ หมือนกนั การออกแบบก็จะเปลี่ยนไปทนั ที ดงั นัน้ สังคมจึงจะมากอ่ นภมู ิ ภมู ิ จะเป็นบรรทัดฐานที่ง่าย ๆ คือ หลักของภูมิน้ีจะใช้หลักเดียวกันท้ังประเทศ เช่น ปริมาณนํ้าฝนในพื้นท่ี แต่ละพน้ื ทน่ี นั้ ตกตา่ งกนั เทา่ ไหร่ ก็เอาปริมาณนา้ํ ฝนมาเปน็ ตวั คาํ นวณ ทศิ ทางลมของพ้ืนที่ ส่วนใหญ่ในประเทศไทย จะเป็นลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้อยู่แล้ว แต่ถ้าในพื้นที่ท่ีเป็นร่องเขาก็อาจจะต้องดูว่าลมมาจากร่องเขาไหน ทิศทาง แดด แดดช่วงหน้าหนาวตะวันอ้อมใต้ แดดก็คือความร้อน การวางผังอะไรก็ตาม จึงต้องคิดถึงเรื่องอะไรพวกนี้ ทัง้ หมด การออกแบบหลุมขนมครก หรือก็คือ โคก หนอง นา ในพ้ืนที่ของเรา จะต้องคํานึงถึงตัวแปลสําคัญนั่นคือ “ดิน น้ํา ลม ไฟ และคน” ลักษณะความอุ้มน้ําของดินที่ต่างกันมีผลต่อการออกแบบพ้ืนท่ี เพราะจะต้องมีการ วางแผนเพื่อขดุ หนองนํ้าและส่งิ สาํ คัญอีกอย่างหนึ่งคือ การปรับปรุงดินโดยใช้หลักการฟ้ืนฟู รักษาความสมบูรณ์ของ หน้าดินโดยการห่มดินด้วยฟาง ใบไม้ หรือหญ้า แล้วใช้ปุ๋ยอินทรีย์ให้เหมาะสม กับคุณลักษณะของดินจะช่วย แกป้ ญั หาดินได้ มองให้เห็นคุณค่าของนํ้าฝนที่ตกลงมาโดยการเก็บไว้ให้ได้มากท่ีสุด การขุดหนองน้ํา โดยดู ทางไหลของนํ้า เข้าและออกจากพ้ืนทเ่ี ป็นส่วนสาํ คญั สว่ นหนงึ่ หากวางตําแหน่องของหนองนํ้าในทิศทางท่ีให้ ลมร้อนพัดผ่านก็จะทํา ให้บา้ นเยน็ ขึ้น การขุดหนองน้าํ ตอ้ งขุดให้คดเค้ยี ว ใหม้ ีระดบั ความสูงในหนองน้ํา ไม่เท่ากันแล้วปลูกพืชนํ้าเพื่อให้ปลา อาศัยและวางไข่ได้ รวมทงั้ การทาแซนวชิ ด์ปลา คือการนําหญ้าและฟางกองสลบั กบั ปุ๋ยหมกั ไวท้ ตี่ น้ นาํ้ เพื่อสร้างแพลงตอนเพิ่ม อาหารใหก้ บั สตั ว์นํา้ น่นั เอง ตัวแปลสาคัญของการออกแบบหลุมขนมครก หรือก็คือ โคก หนอง นา ในพื้นท่ีของเรา คือ “ดิน น้ํา ลม ไฟ และคน” ลมจะหอบทั้งความร้อนและฝนเขา้ มาในพ้ืนที่ จงึ ตอ้ งรู้วา่ ลมพดั เข้ามาทางไหน ตามปกติแล้วลมฝนจะพัดมา ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ส่วนลมหนาวจะพัดมาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ดังน้ันจึงควรวางตําแหน่งบ้านและลาน ตากขา้ วไมใ่ ห้ขวางทศิ ทางลมหนาว การออกแบบบ้านก็ควรให้มีช่องลมสอดรับกับทิศทางลมท่ีพัดมาในแต่ละฤดูกาล เพือ่ ทําให้บ้านเยน็ ลดการใชพ้ ลังงานได้ ไฟก็คือแสงจากดวงอาทิตย์ซ่ึงก่อให้เกิดความร้อนไปด้วย เราจะต้องสํารวจทิศทางขึ้นและ ตกของดวง อาทติ ยโ์ ดยควรจะสงั เกตหลายๆ คร้ังในทุกฤดู เพราะในแต่ละฤดูมีทิศทาง และช่วงเวลาที่ไม่เหมือนกัน หัวใจสําคัญ ของการออกแบบก็คือ ความต้องการของคน คนคิดอย่างไร คนอยู่อย่างไร ออกแบบให้เหมาะสมกับการดํารงชีวิต ของผูอ้ ยูท่ นี่ ่ันจึงจะเรียกวา่ ดที ่ีสุด อ.ยักษ์ จะสอนเสมอว่า ทํางานให้ได้ 3 อย่าง ในการทํางานของพวกเรา โคก หนอง นา ก็เหมือนกัน เวลา ออกแบบ เราก็ตอ้ งคิดให้เขาทาํ ให้ได้ 3 อย่างเหมอื นกัน คอื 1. ทาํ งานตอ้ งไดง้ าน โคก หนอง นา เวลาเราทําเราต้องไดแ้ บบของโคก หนอง นา 2. ทํางานต้องไดเ้ พอื่ น คือ ได้เพอ่ื นมาช่วยกนั ทํางาน กศน.ตำบล สงั กัด กศน.อำเภอพนสั นิคม

สรุปผลการจัดกจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามรูแ้ ละฝกึ ปฏบิ ัตกิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” 5 3. เร่ืองน้ีเป็นเรื่องใหญ่เลยและคนมักจะลืมกันไปก็คือ ทํางานต้องได้พัฒนาตนเอง ท้ังจิตใจ และกําลังกาย ทง้ั สขุ ภาพ เพราะฉะนั้นหลักในการออกแบบโคก หนอง นา ส่วนใหญ่จะเน้นในเรื่องของการออกแบบอย่างไรให้เกิด กิจกรรม 3 กิจกรรมน้ี เพราะ 3 กิจกรรมน้ี จะเป็นตัวทําให้งานสําเร็จ สําเร็จและมันย่ังยืนต่อไปและเขาก็จะแบบมี ความภมู ใิ จคือหลกั ๆในการออกแบบ เกษตรทฤษฎีใหม่ การขนึ้ รปู แปลงนา เวลาเราจะกินข้าวมีทางเลือกเยอะแยะเลย ไปซื้อเอาก็ได้ เพราะมันถูกข้าวมันราคาถูก แต่ว่า ปลูกกินเองนี้ กับไปซื้อเขาอนั ไหนมันจะอร่อยกวา่ กัน การยกคันนา บ้านเรานี้มีปริมาณน้ําฝนตกลงมาใส่ไร่หนึ่ง 2,000 ตันข้ึนไป 2,000 ตัน ก็คือ 2,000 คิว น่ันเอง เพราะฉะน้ันเกินกับปริมาณท่ีข้าวต้องการ วิธีที่จะเก็บน้ําไว้ดีท่ีสุด คือ ชาวนา ต้องทําเข่ือนของตัวเองขนาด ใหญ่หรือท่ีเรียกว่าคันนา อีสานเรียกว่าคันแคนา คันนาขนาดใหญ่ 1 - 2 เมตร บางบ้านทําถึง 5 – 6 เมตร คันนานี้ เร่ิมต้นกต็ อ้ งยกคนั นา เช็คระดบั แล้วกย็ กคนั นา ยกคนั นาให้สามารถ เก็บนํ้าไว้ในนาได้แล้วปรับพ้ืนนาให้เสมอกัน ถ้า ปริมาณนํ้าไม่แน่ใจวา่ มันจะเกบ็ ไดม้ ากกข็ ดุ ร่องรมิ คันนา การขดุ รอ่ ง กเ็ พอ่ื ทจ่ี ะเอาดนิ น้นั ยกขึ้นมาปน้ั คนั นาเมอ่ื ไดค้ นั นาใหญ่ๆ สูงๆ ก็ทําให้ต้องการ ดินมาก ดินตรง นั้นกจ็ ะกลายเปน็ ร่องไป รอ่ งนั่นกจ็ ะกลายเป็นท่ีอย่ขู องปลาอยา่ งดี เพราะปลาชอบอยู่ทงั้ ในนาํ้ ลึกและหากินในนํ้าตื้น จึงต้องมีร่องให้ ปลาอยู่อย่างมีความสุขในน้ําลึก ขณะเดียวกันปลาก็จะข้ึนไปหากินในท่ีแดดส่องถึง ซึ่งก็จะ มีแพลงตอนพืช แพลง ตอนสัตว์ มีสงิ่ มีชีวติ ต่าง ๆ เยอะ เป็นอาหารของปลา ปลากจ็ ะอยู่ได้อย่างมีความสุข นอกจากน้ีการขุดคันนาแบบไล่ระดับหรือท่ีเรียกว่าทําเป็นตะพัก ยังช่วยไม่ให้ดินจากบนคันนาไหลลงสู่พ้ืน นาด้านล่าง โดยจะถูกดกั ไวบ้ นตะพกั น้กี อ่ น และยงั สามารถปลูกพชื บนจะพกั ไดอ้ ีกด้วย ก่อนจะหวา่ นเมลด็ ไมว่ า่ จะตกกล้าเพอ่ื จะถอนเอาไปดําหรอื หว่านสําหรับทจ่ี ะเป็นนาหว่าน ก็ควรจะทําเทือก กอ่ น การทาเทือก ก็คือทําเลนให้มันเรียบสนิทให้เสมอกันน่ันเอง เขามักจะให้คนลงไปทุบไปยํ้า หรือใช้เคร่ืองลง ไปย้ําหรือเครื่องลงไปทุบ แล้วก็จะเอาไม้กระดานหรือเหล็กหรืออะไรก็ได้ปาดมันให้มันเรียบ เป็นเทือกก็คือให้เป็น เลนเปน็ เทือกเลย เรียบเพ่อื ใหน้ ํ้ามันขังเทา่ กัน ข้าวก็จะโตในลักษณะเท่าเทียมกัน ฉะนั้นจําเป็นต้องปรับให้เสมอกัน เพื่อให้นํ้าขังความลึกของนํ้าเท่ากันตลอดท้ังแปลง ถ้าสมมติแปรงถัดไปมีพื้นที่ต่ํากว่า เราก็ต้องกดปรับขึ้นอีกแปลง เพ่ือที่จะยกคันนาเป็น ข้ัน ข้ัน ถ้าเป็นภูเขาก็ปรับเป็นข้ัน ขั้น ท้องหรือพ้ืนต้องเสมอกัน เพื่อให้ในท้องนามีความลึก เท่ากนั นน่ั เอง นอกจากนน้ั จะต้องบาํ รุงดินในพืน้ นาดว้ ยการดองเอาไว้เราจะต้องไปจัดการพ้ืนนาที่จะเป็น ที่อยู่ของรากคือ ทัง้ หมกั ท้งั ดอง ถกู ไหมทําได้ทั้ง 2 แบบ โดยมีวัตถุประสงคอ์ ะไร ใหจ้ ลุ ินทรีย์มนั เพิม่ ปรมิ าณหรอื ชกั ชวนแม่ธรณีมาอยู่ กบั เราจาํ นวนมาก ๆ เมือ่ เราหมกั เม่ือเราดองจลุ นิ ทรีย์จะบูมมีมหาศาล วธิ หี มกั กค็ อื เอาพชื ไม่วา่ จะตอซังของมนั เอง รากของมันเอง หญา้ หรือถั่ว เราต้องรู้ว่าดินที่ดีเหมาะสําหรับ ข้าวมากทส่ี ุดคือดินทีม่ ีอินทรยี วัตถปุ ระมาณ 5% สมัยโบราณ เขาก็ไถหมักพลิกหญ้า จะได้ ทั้งต้นหญ้า ดอกหญ้า ใบ หญา้ รากหญ้า หมัก ก็จะไดจ้ ลุ ินทรียข์ น้ึ มา แลว้ เอาน้าํ ใส่ เอาป๋ยุ ชวี ภาพ ทั้งปุ๋ยแหง้ ทั้งปุ๋ยนํ้าใส่ลงไป หรือไม่อาจใช้ ปุ๋ยชวี ภาพธรรมดาเลย กค็ ือเอาขี้ววั นีแ่ หละใสล่ งไปง่าย ๆ กศน.ตำบล สงั กัด กศน.อำเภอพนสั นิคม

สรุปผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามรูแ้ ละฝกึ ปฏบิ ัตกิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” 6 แล้วก็ปยุ๋ นาํ้ หมกั ชีวภาพใส่ลงไปไร่ละลิตร ใจรอ้ นบางคนใสท่ ่ีเดียวต้ัง 20 ลิตร ก็ได้ ข้าวก็จะ งามมาก แล้วก็ ย้ําลงไป ทุบแล้วก็หมกั ทิง้ เอาไว้ 7 วัน มนั กจ็ ะยอ่ ยสลาย ถา้ มเี มลด็ ตกค้างมนั ก็จะแตกออกมาเลย แล้วย้ําทําอีกซํ้าลง ไปอีกรอบหนงึ่ ก็จะใชเ้ ครื่องก็ไดก้ ท็ ุบลงไป จากน้นั ก็หมักทิง้ เอาไว้ วิธีดองดิน หมายถึงว่าเอาน้ําขังให้มันแช่นํ้า แล้วก็ดองทิ้งเอาไว้ให้ได้สัก 7 วัน รวมเป็น 2 ครั้ง ก็ 14 วัน โดยประมาณ แลว้ หลงั จากนนั้ ก็ดําไดเ้ ลย หรือจะโยนกลา้ ก็ได้ หรือจะดาํ ก็ได้ ข้าวก็จะงามโตเรว็ ให้ผลผลติ ดี ขี้วัวผสมฟางที่ใช้หมักดองดิน สามารถนํามาฉาบไปบนขอบตล่ิง บนตะพัก รวมทั้งบนคันนา เพราะจะได้ ประโยชน์ทัง้ การบํารุงดนิ และเปน็ การทําให้ผนงั คนั นาแข็งแรงขน้ึ ดว้ ย การห่มดินบนคันนา คือธรรมชาติของบ้านเราเป็นเขตร้อนชื้น สังเกตจากในปุาจะมีใบไม้สลัดห่มดินไว้หนา บางทเี ดินลงไปยบุ ลงไปหนาถงึ เขา่ ฉะนัน้ จะทําใหด้ ินเกิดความอุดมสมบูรณ์เหมือนดินปุาตามธรรมชาติ ก็ไปหาใบไม้ หญา้ หรือฟางก็ได้ เอามาหม่ เอาไวใ้ ห้หนา อยา่ งน้อยสักฝุามอื โดยวัตถุประสงค์ของการห่มดิน ก็คือ ต้องการให้ดินเกิดท้ังความร้อนทั้งความช้ืน สภาวะบ้านเราเป็นเขต รอ้ นช้ืน ถา้ เราไปกวาดใบไม้ออกหมดปล่อยให้ดินเปลือย ดินก็จะไม่ช้ืน และก็ไม่ร้อน อยากทําให้ดินมีสภาพเป็นร้อน ช้ืนก็ไปหามาห่มเอาไว้ ก็จะได้ความชื้นอยู่ในดินพอเหมาะ อย่างน้อยประมาณสัก 25% และก็มีความร้อนในสภาวะ ความร้อนความช้ืน จลุ นิ ทรยี จ์ ะทาํ งานเร็วมาก นัน่ ก็แปลว่ารากก็จะทํางานเร็วมาก จึงทําให้รากยาวและก็จะปริมาณ มาก ทําให้หาอาหารไดเ้ กง่ ตน้ ไม้ก็จะโตให้ผลผลติ ดี เทคนิคการหม่ ดิน มีดังน้ี 1. อยา่ ใหแ้ สงสอ่ งถึงพืน้ 2. ให้ความร้อนชัดเจน เม่ือความร้อนนี้ถูกจุลินทรีย์บวกกับความชื้น จะย่อยสลายใบไม้กลายเป็นฮิวมัส ซึ่ง เปน็ ปยุ๋ ที่ดที ีส่ ดุ สาํ หรับพืชทกุ ชนดิ ทบทวนการข้นึ รูปแปลงนา เร่ิมจากการทําคันนาสูงประมาณ 1 เมตร กว้างประมาณ 2 เมตร จากนั้นขุดร่องนํ้าโดยรอบรวมทั้งขุดไล่ ระดับคันนาเป็นตะพัก แล้วนําดินท่ีขุดไปเพิ่มความสูง ของคันนาได้อกี ด้านบนคันนาให้ขุดคลองไส้ไก่ไว้ด้วยจะดีมาก ต่อไปเปน็ การปรบั ระดบั พืน้ นา โดยอาจนํานํ้าเข้าแปลง นาเล็กน้อย เพื่อให้การปรับระดับง่ายข้ึนแล้วทําการยํ้า โดยคน หรอื ใช้รถไถปรับระดบั เพื่อให้พื้นนาเรียบเท่ากัน ทงั้ แปลง หรอื ปุ๋ยชวี ภาพ นํานา้ํ เข้าแปลงนาพอท่วม แล้ว ย่าํ ใหผ้ สมกนั จากนั้นนําข้ีผสมฟางบางส่วนข้ึนมาฉาบไว้ตามคันนา หมักดองไว้ประมาณ 7 วัน ช่วงเวลาน้ี ถ้ามีเมล็ดพืช ตกคา้ งก็อาจจะงอกข้ึนมาได้ เมอ่ื ครบ 7 วนั ก็ให้ยาํ้ ลงไปอีกคร้งั และทิ้งไว้อีก 7 วัน รวมเปน็ 14 วัน จากนน้ั ห่มดินเพมิ่ โดยใช้ฟาง แล้วกส็ ามารถปลกู ข้าวและพืชผกั ต่าง ๆ ตามคันนาได้เลย กศน.ตำบล สังกดั กศน.อำเภอพนัสนิคม

สรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความร้แู ละฝึกปฏบิ ัตกิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” 7 เกษตรทฤษฎใี หม่ การบริหารจดั การน้าดว้ ย โคก หนอง นา โมเดล บรรดาศาสตร์ต่าง ๆ ในโลก ส่วนใหญ่จะเกิดจากปัญญาชน เกิดจากพระ หรือเกิดจากเกษตรกร น้อยนักท่ี จะเกิดจากคนท่เี ป็นพระราชา แต่บ้านเราโชคดีท่ีเรามีพระราชาที่นอกจากจะทรงธรรม และยังเป็นนักวิทยาศาสตร์ เปน็ นักสรา้ งนวัตกรรม เป็นนักเกษตร เป็นผู้เชีย่ วชาญมากมาย ศาสตร์คือองค์ความรู้ที่ถูกพัฒนา ถูกทดลองมาแล้วอย่างเป็นระบบ เรียกว่า science หรือ ศาสตร์ ซ่ึงได้ ทดลองทํามา 4,000 กวา่ แหง่ เรียกวา่ ทฤษฎใี หม่ ส่วนทฤษฎีเก่า คือ การสูบน้ําจากคลองชลประทาน การเก็บนํ้าไว้ในอ่างเก็บน้ําแล้วก็ปล่อยนํ้ามาในคลอง ชลประทานหรือปลอ่ ยมาจากท่อ และสูบใสน่ า แลว้ ก็ทาํ นา เมื่อน้ําหมดก็จะนําน้าํ จากคลองชลประทานมาเติม อย่าง น้เี รยี กวา่ ทฤษฎีเก่า . สว่ นทฤษฎีใหมน่ ัน้ นอกจากเขอื่ นทส่ี ร้างไว้แลว้ ควรสรา้ งเขื่อนขนาดกลาง เช่น เข่ือนปุาสัก ซึ่งพระองค์ท่าน ได้สร้างไว้ให้ และท่านได้สร้างเพิ่มข้ึนอีก เช่น อ่างห้วยหินขาว ซึ่งสามารถจุนํ้าได้ 1,000,000 ลูกบาศก์เมตร จาก ห้วยหนิ ขาวกต็ อ่ มาทชี่ าวบ้าน ซึ่งชาวบ้านแทนที่จะรอน้ําจากอ่างห้วยหินขาว หรือจากอ่างเก็บน้ําปุาสัก ก็มาทําอ่าง ของตัวเองไว้ในบ้านของตนเอง ชาวบ้านก็จะมีหนองนํ้า สระน้ํา อ่างนํ้า ฝาย เพ่ือจะเก็บนํ้าไว้ในท่ีของตนเอง น่ีเป็น ทฤษฎใี หม่ วิธีการเก็บน้าเหล่านี้ คือที่ใหญ่ก็เก็บ ท่ีขนาดกลางก็เก็บ ที่บ้านใครบ้านมันก็เก็บ รวม 3 ระดับอย่างน้ี จะ สามารถเก็บนา้ํ ได้มากกวา่ เดิมถงึ 5 เทา่ และหากชาวบา้ นยอมเสียทนี่ าของตัวเองลงไปสัก 20 – 30 เปอร์เซ็นต์ ก็จะ มีนํา้ ไว้ประจาํ บ้านตนเอง ระบบจดั การอยา่ งนี้ ทรงเรียกว่าทฤษฎใี หม่ การจัดประชุมกันในเครือข่ายชาวบ้าน ชาวบ้านก็เห็นว่าต้องใช้ภาษาชาวบ้าน เมื่อขุดหนองจะเอาดินไป ไหน ก็เอาไปทําโคก ปลูกโคกก็ปลูกปุา ส่วนตรงไหนที่มีคลอง ก็ขุดคลองไส้ไก่ ตรงไหนที่มีระดับต่างกัน ก็ก้ันฝาย แล้วในนาก็ปั้นคันนาให้มีขนาดใหญ่ เหมือนคนโบราณ ซึ่งบนหัวคันนาของ คนโบราณเขามักจะปลูกพริก ปลูกผัก ปลูกกล้วย ปลูกโน่นปลูกน่ีไว้กิน เพราะบนคันนามีขนาดสูง ใหญ่ เมื่อน้ําหลากมาก็จะไม่ท่วม ฉะนั้นต้นไม้ที่ปลูกไว้ อยู่บนคนั นากไ็ มต่ าย เราเรียกวา่ คันนาทองคาํ เพราะบนคันนาจะมีผลผลิตมั่งค่ังยิ่งกว่าทองคํา ในนาก็มีปลาด้วยเพราะถ้าคันนามีขนาดใหญ่ เก็บนํ้าได้ เยอะ นํ้าสูงก็จะมีความลึก ปลาก็จะมาอยู่ มาวางไข่ ปลาจะมาอยู่เอง เพราะนํ้ามีความลึก มีความปลอดภัย ปลาก็ มาอยู่ ข้าวกไ็ ด้ดี เพราะมขี ี้ปลา ขกี้ ุง้ จงึ ไมต่ อ้ งไปซอื้ ปุ๋ย พอมีปลามีกุ้งอยู่ หญ้าก็ไม่ข้ึน นํ้าขังมากหญ้าก็ไม่ขึ้น ก็ทําให้ประหยัดท้ังยาฆ่าหญ้า ปุ๋ยไม่ต้องใส่ แมลงไม่ ต้องฉีด มีกุ้ง หอย ปู ปลาอยู่ ทําให้ไม่ปุวย โรคแมลงมาปลาก็โดดจับกิน มันเป็นธรรมชาติ อยู่ ๆ กันมาอย่างน้ีเป็น พัน ๆ ปีแล้ว จึงเป็นภาษาง่ายๆ ท่ีเรียกว่า โคก หนอง นาโมเดล ซ่ึงได้ประยุกต์มาจากทฤษฎีใหม่ที่พระองค์ท่าน คํานวณ น่ีคือศาสตร์ของพระราชา ของรัชกาลที่ 9 ซ่ึงท่านสรุปไว้ง่ายๆ ท่านจะบอกว่าได้พัฒนามาจากบรรพบุรุษ ของเรา ซึ่งเราอยู่ที่นี่กันมา 5,000 กว่าปี บรรพบุรุษท่านพัฒนากันมาทีละนิด ทําแบบอะลุ่มอล่วยกันมา ไม่ได้ติด ตําราว่าต้องไปลอกประเทศโน่นประเทศน้ีมา พัฒนาจากฐาน จากดิน จากอารยธรรมของเราเองเรื่อย ๆ 5,000 ปี ทา่ นบอกตาํ ราแบบนีไ้ มจ่ บ ทฤษฎีบันได 9 ขั้น สูค่ วามยัง่ ยนื ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จากทฤษฎีน้ีแปลไปสู่การปฏิบัติเป็น 3 ระดับ ปรัชญา แปลงมาเป็นทฤษฎีบันได 9 ข้ัน จากทฤษฎีแปลง ไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ ทฤษฎีบันได 9 ข้ัน สู่ความย่ังยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เริ่มต้นจากข้ันพื้นฐาน 4 ขั้นแรก น่ันคือ พอกิน พอใช้ พออยู่ พอรม่ เย็น ซึ่งสร้างได้ด้วยการปลกู ปาุ 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อย่าง กศน.ตำบล สังกัด กศน.อำเภอพนัสนิคม

สรุปผลการจดั กิจกรรมโครงการอบรมใหค้ วามรแู้ ละฝกึ ปฏบิ ตั ิการ “โคก หนอง นา โมเดล” 8 บันไดข้ันที่ 1 พอกิน “เงินทองเป็นของมายา ข้าวปลาสิของจริง” ต้องเร่ิมจากการอยู่ให้ได้ โดยให้ ความสําคญั กบั ข้าวปลาอาหารทสี่ รา้ งไดจ้ ากพื้นท่ขี องตัวเอง พอมพี อกนิ ด้วยการปลกู พชื ผัก ผลไม้ ให้พอกนิ กอ่ น ส่วนบันไดขั้นท่ี 2 3 และ 4 พอใช้ พออยู่ พอร่มเย็น ปลูกไม้ให้พอใช้ ท้ังทําเครื่องนุ่งห่ม มีสมุนไพร เพื่อ รักษาโรค ปลูกไม้ให้พออยู่ คือมีไม้สําหรับสร้างที่อยู่อาศัย ให้ร่มเงา ประโยชน์ของปุาเหล่านี้ทําให้เกิดบันไดขั้นที่ 4 พอร่มเย็น แนวทางน้ีสามารถแก้ไขปัญหาความยากจนของเกษตรกรไทย และปัญหาหนี้สินท่ีพอกพูนจากการทํา เกษตรเชิงเดย่ี ว ปญั หาความเสอ่ื มโทรมของทรัพยากร ปัญหา ความขาดแคลนนํา้ และภัยแล้ง ไดด้ ้วย บันไดข้ันท่ี 5 และ 6 บุญและทาน “ยิ่งทําย่ิงได้ ย่ิงให้ยิ่งมี” เมื่อทําในข้ันท่ี 1 ถึง 4 ได้ คนเรามีพอแล้วท่ี เหลือก็นํามาแบ่งปันเป็นการฝึกจิตใจให้ละซ่ึงความโลภ เช่ือมั่นในฤทธ์ิของทานคือการให้ ดั่งที่พระเจ้าอยู่หัวสอนไว้ ว่า Our Loss is Our Gain การขาดทุนนนั่ คอื กําไร บันไดขนั้ ท่ี 7 เก็บรักษา เมื่อเรามีพอและได้แบ่งปันแล้ว ข้ันต่อไปคือการรู้จักเก็บรักษา ใช้ภูมิปัญญาในการ แปลรูปอาหารท่ยี งั มอี ยู่ เพอ่ื ให้มอี าหารกินทง้ั ปหี รอื ว่าข้ามปี และยงั เปน็ การสรา้ งมลู คา่ เพ่มิ ใหส้ ่ิงท่ีเราปลูกเอง บันได ขัน้ ท่ี 7 นี้ยังเปน็ สง่ิ ทเ่ี กษตรกรจะต้องทาํ ใหไ้ ด้ก่อนจะไปสูข่ ัน้ ท่ี 8 ต่อไป บันไดขั้นท่ี 8 ขาย เนื่องจากเศรษฐกิจพอเพียงไม่ใช่เศรษฐกิจการค้า แต่ไม่ใช่เศรษฐกิจหลังเขา การค้าขาย สามารถทาํ ได้แตท่ าํ ภายใตก้ ารรจู้ กั พอประมาณ และทําไปตามลาํ ดบั โดยของท่ีขายคือของท่ีเหลือจากทุกข้ัน แล้วจึง นํามาขาย ขายด้วยความรูส้ ึกของการให้ เพอ่ื อุ้มชู เผื่อแผ่ แบ่งปนั ไปดว้ ยกัน สดุ ท้ายบันไดขั้นที่ 9 กองกําลังเกษตรโยธินหรือการสร้างเครือข่ายเช่ือมโยงท้ังประเทศ เพื่อขยายผลสําเร็จ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี งส่กู ารปฏวิ ตั แิ นวคดิ และวิธกี ารดาํ เนินชีวิตของคนในสังคมในชมุ ชน ประเทศเราเป็นประเทศยากจนมาก่อน แล้วพัฒนามาเป็นประเทศปานกลาง ก็อยากไปเป็นประเทศร่ํารวย เหมือนประเทศอื่น ท่านก็บอกไม่เอาแบบนั้น เพราะว่าถ้าติดตําราเดี๋ยวพอถึงหน้าสุดท้ายไปต่อไม่ได้ ก็ต้องเปิดหน้า หนึ่งใหม่ เพราะว่าถึงหน้าสุดท้ายแล้วพอติดเพดานบินแล้ว สุดท้ายก็ตกหัวปักลงมาอย่างเช่นปี 40 เศรษฐกิจเรามัน หัวปักลงมา ทา่ นบอก เราไม่อยากก้าวหน้าอย่างมากแบบประเทศเหล่าน้นั แบบประเทศก้าวหนา้ อย่างมาก เราก็เป็น ประเทศก้าวหนา้ เหมอื นกัน แตเ่ ราไมใ่ ช่กา้ วหน้าอย่างมาก เราไม่อยากเป็นอย่างน้ัน เราก็เป็นประเทศท่ีม่ังคั่ง ร่ํารวย เหมือนกนั เรามีนํ้า มีดิน มีอากาศ มีน้ําใจท่ีย่ิงกว่าน้ัน คือสังคมเราเป็นสังคมมีน้ําใจท่ีมั่งค่ังที่สุดในโลก เราเป็นเมือง ยม้ิ ทว่ั โลกกร็ ู้จักเรา คราวนกี้ ็พัฒนากนั มาอยา่ งนี้ อยา่ งอะลุ่มอล่วยกันมา เป็นพันปีอย่างนี้ เรียกว่าตําราแบบนี้ไม่จบ แล้วก็จะพัฒนาไปเร่ือย ๆ เราก็จะค่อย ๆ ก้าวหน้าไป อย่างไร ท่านก็รับส่ังว่า ต้องมีพอกิน พออยู่ พอใช้ ต้องมี สภาพแวดล้อมทด่ี ี ต้องอย่าทาํ ลายปุา ต้องฟนื้ ฟปู าุ ตอ้ งจัดการนา้ํ จดั การดิน ฝนตกมาให้เก็บน้ําเอาไว้ อย่าปล่อยให้ นํ้าไปชะ พังทลายหน้าดินลงมา มีวิธีเก็บ และท่านก็บอกว่าบรรพบุรุษท่านรู้ว่าทําอย่างไง พื้นที่ไหนควรทําอะไร พ้ืนท่ไี หนไมค่ วรทําอะไร เวลาไหนควรทําอะไร เวลาไหนไม่ควรทําอะไร เค้ารู้กันมาดีอยู่แล้ว นี่คือส่ิงท่ีพระเจ้าอยู่หัว เลา่ ใหฟ้ ัง อนั น้ที รงเรยี กว่าพอเพยี ง เราก็จะเรยี กง่าย ๆ ว่าศาสตรข์ องพระราชาองคน์ ี้ เกษตรทฤษฎีใหม่ โคก หนอง นา โมเดล เพอื่ การจัดการน้าอยา่ งยงั่ ยืน ถา้ เราสนใจ เรามีที่ดิน และสนใจอยากจะทําเป็นการประยุกต์ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาเป็น โคก หนอง นา โมเดลแบบชาวบา้ นนน้ั วธิ ีทต่ี ้องทาํ ครง้ั แรกคอื การสารวจที่ดินของตนเองว่าเราอยู่ในท่ีท่ี ต้ืน ลึกขนาดไหน ปริมาณน้ําฝนที่ตกลงแต่ละปีเท่าไหร่ ต้อง เร่มิ ทําการสาํ รวจรอบ ๆ นั้น วา่ อะไรบ้าง ลมพดั ทางไหน แสงขึ้นทางไหน ทิศเป็นอย่างไง ต้องศึกษาภูมิประเทศ ดิน น้ํา ลม ไฟ ก่อน เราก็ต้องเข้าใจสังคมของคนที่จะเป็นเจ้าของที่ดิน คุยกับเจ้าของที่ดินว่าชอบอะไร ไม่ชอบอะไร อยา่ งนี้เรยี กว่าสงั คม คอื นาํ ทั้งภมู ศิ าสตร์ ดิน นํ้า ลม ไฟ ทั้งสังคม มาคํานวณภายใต้เง่ือนไข น้ําก่อน สมมติว่ามีที่อยู่ 4 ไร่ ฝนตกลงมาในไร่ ไร่หนึ่งปริมาณ 2,500 คิว สมมติ 4 ไร่ ก็หมื่นคิว คิวละตัน หม่ืนตันนี่จะเก็บอย่างไรบ้าง จะ กศน.ตำบล สังกดั กศน.อำเภอพนัสนิคม

สรุปผลการจัดกจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามรแู้ ละฝกึ ปฏบิ ตั ิการ “โคก หนอง นา โมเดล” 9 เก็บซับลงใต้ดินด้วยวธิ อี ะไร จะใชต้ น้ ไมอ้ ะไรปลูกบนโคก ซ่ึงโคกน้ันอุ้มน้ําไม่ได้ ก็ต้องซับบนโคกลงดิน วางแผนให้ได้ สกั ครึง่ หนึ่งซบั ลงมาในโคก การขุดหนองจะเกบ็ ได้สกั เท่าไหร่ ต้องลึกเท่าไหร่ ต้องใช้พ้ืนที่เท่าไหร่ ก็ต้องคํานวณออกมา เสร็จและจะขุด คลอง คลองเก็บได้เท่าไหร่ จะมีอะไรอีกบ้างก็ต้องวางผังการใช้ที่ดิน เสร็จแล้วดูทิศทาง จะวางบ้านอยู่ตรงไหน ถ้า เพื่อความไม่เส่ียงภัยต้องมียุ้งข้าว สต๊อกเอาไว้ ต้องมีเคร่ืองสีข้าวเองบนโคก จึงต้องออกแบบก่อนแล้วค่อยลงมือขุด ลงมือทํา ถ้าไม่ได้คิด ไม่ได้คํานวณเลยตั้งไปส่งเดช พอถึงหน้าน้ันก็เกิดปัญหา หน้าน้ีก็เกิดปัญหา เพราะฉะน้ันการ วางแผนลว่ งหน้า ออกแบบบนทด่ี นิ ของเราเองจงึ เปน็ เร่อื งทจี่ ําเปน็ ซ่ึงก็ทําไดง้ า่ ย และยนื ยัน โคก หนอง นา โมเดล เปน็ วธิ ีบรหิ ารนํ้าอย่างยง่ั ยนื ในพ้ืนท่ีของตนเอง เริ่มต้นด้วยการขุดหนอง เพื่อเก็บกัก นํ้าไว้ใช้ในยามแล้ง โดยจะขุดแบบ Free Form ให้มีส่วนเว้า ส่วนโค้ง เลียนแบบธรรมชาติ ความลึกของหนองควร มากกวา่ 3.65 เมตร ตามองคค์ วามรู้ท่ีพระเจ้าอยหู่ ัวพระราชทานไวว้ า่ ในแต่ละวันน้ําจะละเหยไป 1 เซนติเมตร หาก เราขดุ บอ่ ลกึ มากกวา่ 3.65 เมตร ใน 1 ปี ตอ่ ใหฝ้ นทิ้งช่วงไปกย็ ังมีนาํ้ ใชอ้ ยู่น่ันเอง การขุดหนอง จะต้องขุดเป็นข้ัน หรือเป็นตะพักๆ เพื่อให้แสงแดดส่องถึงพ้ืนหนองบางส่วนช่วยให้พืชน้ํา เจริญเติบโตเป็นที่อยู่อาศัยของแพลนตอนพืช และเป็นแหล่งอาหารของเหล่าสัตว์นํ้า ดินจากการขุดหนองเอามาถม เป็นโคก บนโคกปลูกท่ีอยู่อาศัย เล้ียงสัตว์ และปลูกปุา 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง นั่นคือ ปลูกไม้กิน ไม้ใช้สอย ไม้ สําหรับสร้างท่ีอยู่อาศัย ซึ่งจะให้ประโยชน์เป็นความพอกิน พอใช้ พออยู่ และพอร่มเย็น ต้นไม้ที่ปลูกมีท้ังหมด 5 ระดับ ไดแ้ ก่ ไม้สงู ไม้กลาง ไมเ้ ตย้ี ไมเ้ รยี่ ดนิ และพชื หัว เพ่อื รกั ษาความชุม่ ชืน้ ในดนิ การเก็บกักนาํ้ อีกวิธีหนึ่ง คือขดุ คลองไสไ้ ก่ให้ทั่วพื้นที่ ขุดใหค้ ดเคย้ี วเพอ่ื ใหใ้ ชเ้ ป็นทางนํ้าบนดิน เพิ่มความชุ่ม ช้นื โดยไมต่ อ้ งวางท่อหรือสปรงิ เกอร์ สร้างฝายชะลอนาํ้ กนั้ เพื่อลดความเร็วของน้ําท่ีไหลไปตามคลอง ปลูกหญ้าแฝก โดยรอบหนองและคลองไส้ไก่ ปั้นหัวคันนาให้มีความสูงอย่างน้อย 1 เมตร บนคันนา กว้าง 1 เมตร และฐานกว้าง 2 เมตร ปลูกพืชผัก โดยรอบ ท้ังไม้ผล พืชผักสวนครัว พืชสมุนไพร จนกลายเป็นหัวคันนาทองคํา เพราะปั้นหัวคันนาสูง ในคันนาจึง เปรียบเสมือนเขื่อนขนาดย่อม สามารถเก็บกักนํ้าไว้ใช้ในช่วงปลูกข้าว และยังเป็นที่อยู่อาศัยเหล่าบรรดาสัตว์นํ้า อีก ดว้ ย เรื่องนวัตกรรมเรื่องอะไรใหม่ๆ ที่ทรงทําให้ดู ก็ทรงบอกกับพวกเรา ให้กําลังใจเสมอว่า ทําตัวอย่างของ ความสําเร็จไปเร่ือย ๆ เถอะ 10 ปี 20 ปี 30 ปี น่ันแหละ กว่าคนเขาจะมาเห็น มาจํา มาเข้าใจ และเขาก็จะเอาไป เปน็ ประโยชน์ โดยเฉพาะเมื่อเขาถึงทางตนั แล้ว เมอื่ ถึงวันน้ัน 20 ปี 30 ปี ข้างหน้า มันก็จะเป็นตัวอย่าง เป็นท่ีพ่ึงให้ ชาวบ้านได้ ใครท่ีทําใหม่ๆ นี่มักจะเจอคนมองด้วยหางตา หาว่าเพี้ยน และก็มักจะต่อต้าน สุดท้ายก็เร่ิมจํานน เพราะไดเ้ พิง่ จรงิ ๆ หลายคนพอทํา อดทนไปจนถึงท่ีสุดก็จะได้รับ การยอมรับ ยิ่งแนวโน้มโลกกําลังวิกฤตขึ้นเรื่อย ๆ เรื่อง โคก หนอง นา โมเดล นแ้ี หละท่ีจะเป็นท่ีพ่ึงใหก้ บั คน ได้ กล็ องมาศึกษากันดูก่อน จากศาสตรพ์ ระราชาสู่การปฏบิ ัติอยา่ งเป็นรปู ธรรม วิกฤตน้ําของไทย จะถูกแก้ไขได้ด้วย การบริหารจัดการ นาํ้ อย่างย่งั ยืนในรปู แบบของ โคก หนอง นา กศน.ตำบล สงั กัด กศน.อำเภอพนสั นิคม

สรุปผลการจดั กิจกรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้และฝึกปฏบิ ัตกิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” 10 บทท่ี 3 วิธดี าเนนิ งาน การดําเนินโครงการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล”ได้ดําเนินการตามขั้นตอน ตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1. ข้นั เตรียมการ  การศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับโครงการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” ผู้รับผิดชอบโครงการได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารท่ีเกี่ยวข้องเพื่อเป็นข้อมูลและแนวทางในการดําเนินการ โครงการอบรมใหค้ วามรแู้ ละฝกึ ปฏบิ ัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” ดงั น้ี 1. ศึกษาเอกสาร / คมู่ ือ ขอ้ มลู จากหนงั สอื เก่ียวกับการดาํ เนนิ ชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพอื่ เป็นแนวทางเกย่ี วกับการจดั โครงการอบรมให้ความรแู้ ละฝกึ ปฏบิ ัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” 2. ศึกษาข้ันตอนการดําเนินโครงการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล”เพ่ือเป็น แนวทางในการจดั เตรียมงาน วัสดอุ ุปกรณ์ และบคุ ลากรใหเ้ หมาะสม  การสารวจความต้องการของประชาชนในพน้ื ท่ี (ตามนโยบายของรัฐบาล) กลุ่มภารกิจ การจัดการศึกษานอกระบบ มอบหมายให้ ครู กศน.ตําบล สํารวจความต้องการของ กลุม่ เปูาหมายเพ่ือทราบความต้องการที่แท้จริงของประชาชนในตําบล และมีข้อมูลในการจัดกิจกรรมที่ตรงกับความ ตอ้ งการของชุมชน  การประสานงานผนู้ าชุมชน / ประชาชน /วิทยากร 1. ครู กศน.ตําบล ได้ประสานงานกับหัวหน้า/ผู้นําชุมชนและประชาชนในตําบลเพ่ือร่วมกัน ปรึกษาหารอื ในกล่มุ เกยี่ วกับการดําเนินการจดั โครงการให้ตรงกบั ความต้องการของชมุ ชน 2. ครู กศน.ตาํ บล ไดป้ ระสานงานกบั หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพ่ือจดั หาวิทยากร  การประชาสัมพนั ธโ์ ครงการฯ ครู กศน.ตําบล ได้ดําเนินการประชาสัมพันธ์การจัดโครงการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” เพ่ือให้ประชาชนทราบขอ้ มูลการจดั กจิ กรรมดังกลา่ วผ่านผนู้ าํ ชมุ ชน  ประชุมเตรยี มการ / วางแผน 1) ประชุมปรึกษาหารือผู้ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 2) เขียนโครงการ วางแผนมอบหมายงานใหฝ้ าุ ยตา่ ง ๆ เตรียมดําเนินการ 3) มอบหมายหนา้ ท่ี แตง่ ตงั้ คณะทํางาน  การรบั สมคั รผเู้ ข้าร่วมโครงการฯ ครู กศน.ตําบล ได้รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล”โดยให้ประชาชนท่ัวไปท่ีอาศัยอยู่ในพ้ืนท่ี 6 ตําบล ๆ ละ 5-6 คน ได้แก่ ตําบลบ้านช้าง ตําบลบ้านเซิด ตําบลหมอนนาง ตําบลกุฎโงง้ ตาํ บลทุง่ ขวางและตําบลนามะตมู รวมทั้งส้ิน 35 คน  การกาหนดสถานทแี่ ละระยะเวลาดาเนินการ ครู กศน.ตาํ บล ได้กําหนดสถานทใี่ นการจัดอบรมคอื ศูนย์การเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” ม.8 ต.หนองเหียง อ.พนสั นคิ ม จ.ชลบุรี ในวันที่ 23 มีนาคม 2564 จํานวน 1 วนั เวลา 09.00-15.00 น. กศน.ตำบล สังกดั กศน.อำเภอพนสั นิคม

สรุปผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏบิ ัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” 11 2. ข้ันดาเนนิ งาน  กลุ่มเป้าหมาย กลุม่ เปาู หมายของโครงการอบรมใหค้ วามรแู้ ละฝกึ ปฏิบัตกิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” ประชาชนตําบลบา้ นชา้ ง จาํ นวน 6 คน ประชาชนตําบลบ้านเซิด จาํ นวน 6 คน ประชาชนตาํ บลหมอนนาง จาํ นวน 6 คน ประชาชนตาํ บลกฎุ โงง้ จาํ นวน 6 คน ประชาชนตําบลทงุ่ ขวาง จํานวน 5 คน ประชาชนตําบลนามะตูม จํานวน 6 คน รวมท้งั สิน้ จํานวน 35 คน  สถานทดี่ าเนินงาน ครู กศน.ตําบลบ้านช้างครู กศน.ตําบลบ้านเซิดและครู กศน.ตําบลหัวถนน จัดกิจกรรมโครงการ อบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” โดยจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ ในวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 09.00-15.00 น. ณ ศูนย์การเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” ม.8 ต.หนองเหียง อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี  การขออนมุ ตั ิแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กศน.ตําบลบ้านช้าง ได้ดําเนินการขออนุมัติแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง โครงการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล”ต่อสํานักงาน กศน.จังหวัด ชลบุรี เพ่ือให้ต้นสงั กัดอนุมตั ิแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง  การจัดทาเคร่อื งมือการวดั ความพงึ พอใจของผู้ร่วมกจิ กรรม เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการติดตามประเมินผลโครงการ ได้แก่ แบบประเมนิ ความพึงพอใจ  ขั้นดาเนนิ การ / ปฏบิ ตั ิ 1. เสนอโครงการเพอ่ื ขอความเหน็ ชอบ/อนมุ ตั ิจากตน้ สังกัด 2. วางแผนการจัดกิจกรรมในโครงการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” โดยกาํ หนดตารางกจิ กรรมทีก่ าํ หนดการ 3. มอบหมายงานให้แก่ผูร้ ับผดิ ชอบฝุายตา่ ง ๆ 4. แต่งต้ังคณะกรมการดาํ เนินงาน 5. ประชาสัมพันธ์โครงการอบรมใหค้ วามรู้และฝกึ ปฏิบตั ิการ “โคก หนอง นา โมเดล” 6. จดั กจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามร้แู ละฝึกปฏบิ ตั ิการ “โคก หนอง นา โมเดล” ตามตาราง กจิ กรรมทก่ี ําหนดการ 7. ติดตามและประเมนิ ผลโครงการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” กศน.ตำบล สังกดั กศน.อำเภอพนัสนิคม

สรปุ ผลการจดั กิจกรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้และฝกึ ปฏบิ ัตกิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” 12 3. การประเมินผล  วเิ คราะห์ข้อมูล 1. บนั ทกึ ผลการสงั เกตจากผู้เข้ารว่ มกิจกรรม 2. วเิ คราะห์ผลจากการประเมินในแบบประเมินความพึงพอใจ 3. รายงานผลการปฏิบัตงิ าน รวบรวมสรุปผลการปฏิบัติงานของโครงการนําเสนอตอ่ ผู้บริหาร นาํ ปัญหา ข้อบกพร่องไปแก้ไขครง้ั ต่อไป  ค่าสถติ ทิ ี่ใช้ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าสถิติร้อยละในการประมวลผลข้อมูลส่วนตัวและตัวชี้วัดความสําเร็จของ โครงการตามแบบสอบถามคิดเปน็ รายข้อ โดยแปลความหมายค่าสถิติรอ้ ยละออกมาได้ดังนี้ คา่ สถติ ริ ้อยละ 90 ขึน้ ไป ดมี าก ค่าสถติ ิร้อยละ 75 – 89.99 ดี ค่าสถติ ริ ้อยละ 60 – 74.99 พอใช้ คา่ สถิตริ อ้ ยละ 50 – 59.99 ปรับปรงุ คา่ สถติ ริ อ้ ยละ 0 – 49.99 ปรับปรงุ เร่งดว่ น ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นรายข้อซึ่งมีลักษณะเป็นค่าน้ําหนักคะแนน และนํามาเปรยี บเทียบ ได้ระดับคณุ ภาพตามเกณฑก์ ารประเมิน ดังนี้ เกณฑก์ ารประเมิน (X) ค่านาํ้ หนกั คะแนน 4.50 – 5.00 ระดับคณุ ภาพ คอื ดีมาก คา่ นาํ้ หนกั คะแนน 3.75 – 4.49 ระดับคณุ ภาพ คือ ดี ค่านํา้ หนักคะแนน 3.00 – 3.74 ระดับคณุ ภาพ คือ พอใช้ ค่าน้ําหนักคะแนน 2.50 – 2.99 ระดับคณุ ภาพ คอื ตอ้ งปรับปรงุ ค่านา้ํ หนกั คะแนน 0.00 – 2.49 ระดบั คณุ ภาพ คือ ต้องปรับปรุงเรง่ ด่วน กศน.ตำบล สังกัด กศน.อำเภอพนัสนิคม

สรปุ ผลการจัดกจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามรแู้ ละฝกึ ปฏิบัตกิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” 13 บทท่ี 4 ผลการดาเนินงานและการวิเคราะห์ขอ้ มลู ตอนท่ี 1 รายงานผลการจัดกจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามรแู้ ละฝึกปฏบิ ัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” การจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” สรุปรายงานผลการ จดั กจิ กรรมได้ดังนี้ ในการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ตามโครงการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” เป็นการอบรมให้ความรู้ โดยมี นางรัชนีกร ด้วงเงิน เป็นวิทยากรในการบรรยายให้ความรู้ เรื่อง ศาสตร์พระราชา หลักการสร้าง โคก หนอง นา โมเดล ปาุ ใหอ้ ะไรมากกว่าที่คิด เครื่องมือการเกษตรน่ารู้ การเพ่ิมมูลค่าผลผลิตทาง การเกษตรและรบั ฟงั การบรรยายและฝึกปฏิบตั กิ าร “การทาํ สบู่” ตอนท่ี 2 รายงานผลความพึงพอใจของโครงการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบตั ิการ “โคก หนอง นา โมเดล” การจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้และฝกึ ปฏิบตั ิการ “โคก หนอง นา โมเดล” ซ่ึงสรุปรายงานผลจาก แบบสอบถามความคดิ เหน็ ขอ้ มลู ทไ่ี ดส้ ามารถวิเคราะหแ์ ละแสดงคา่ สถิติ ดงั นี้ ตารางท่ี 1 ผเู้ ข้าร่วมโครงการทีต่ อบแบบสอบถามไดน้ าํ มาจําแนกตามเพศ รอ้ ยละ เพศ จํานวน ชาย 2 5.71 หญิง 33 94.29 รวม 35 100.00 จากตารางที่ 1 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามทเี่ ข้ารว่ มกิจกรรมการเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โครงการอบรมใหค้ วามรู้และฝึกปฏิบัตกิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” จํานวน 35 คน สว่ นใหญเ่ ป็นเพศ หญิง จํานวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 94.29 และเพศชาย จํานวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 5.71 ตารางท่ี 2 ผู้เขา้ ร่วมโครงการท่ีตอบแบบสอบถามได้นาํ มาจําแนกตามอายุ อายุ จํานวน รอ้ ยละ 15 – 25 ปี - - - 26 - 39 ปี - 2.86 37.14 40 – 49 ปี 1 60.00 50 - 59 ปี 13 100.00 60 ปขี ึน้ ไป 21 รวม 35 จากตารางท่ี 2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามที่เขา้ ร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง โครงการอบรมใหค้ วามรแู้ ละฝกึ ปฏิบตั กิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” จํานวน 35 คน ส่วนใหญ่มอี ายุ 60 ปขี ้นึ ไป จาํ นวน 21 คน คิดเปน็ ร้อยละ 60.00 รองลงมาคืออายรุ ะหวา่ ง 50-59 ปี จาํ นวน 13 คน คิดเป็นรอ้ ย ละ 37.14 และสดุ ท้ายคืออายรุ ะหวา่ ง 40-49 ปี จาํ นวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 2.86 กศน.ตำบล สังกดั กศน.อำเภอพนสั นิคม

สรปุ ผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมใหค้ วามรแู้ ละฝึกปฏบิ ัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” 14 ตารางท่ี 3 ผู้เข้ารว่ มโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดน้ ํามาจําแนกตามอาชีพ ประกอบอาชีพ จาํ นวน รอ้ ยละ รับจ้าง 11 31.43 11.43 คา้ ขาย 4 20.00 เกษตรกร 7 - 37.14 ลกู จา้ ง/ขา้ ราชการหน่วยงานภาครฐั หรือเอกชน - 100.00 อื่น ๆ 13 รวม 35 จากตารางที่ 3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง โครงการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” จํานวน 35 คน ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพอื่น ๆ จํานวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 37.14 รองลงมาคืออาชีพรับจ้าง จํานวน 11 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 31.43 อาชีพเกษตรกร จาํ นวน 7 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20.00 และสุดท้ายประกอบอาชพี ค้าขาย จํานวน 4 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 11.43 ตารางที่ 4 ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการทีต่ อบแบบสอบถามได้นาํ มาจําแนกตามระดบั การศึกษา ระดบั การศกึ ษา จํานวน รอ้ ยละ ตํ่ากว่า ป.4 4 11.43 8.57 ป.4 3 14.29 11.43 ประถมศึกษา 5 31.43 มธั ยมศึกษาตอนตน้ 4 - 22.86 มัธยมศึกษาตอนปลาย 11 - อนุปริญญา - 100.00 ปรญิ ญาตรี 8 สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี - รวม 35 จากตารางที่ 4 พบว่าผตู้ อบแบบสอบถามทีเ่ ขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โครงการอบรมใหค้ วามรูแ้ ละฝกึ ปฏิบัตกิ าร “โคก หนอง นา โมเดล”จาํ นวน 35 คน สว่ นใหญ่มีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 31.43 รองลงมาคือระดับปริญญาตรี จํานวน 8 คน คดิ เป็นร้อยละ 22.86 ระดบั ประถมศกึ ษา จํานวน 5 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 14.29 ระดับต่ํากว่า ป.4 จํานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 11.43 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จํานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 11.43 สุดท้ายคือระดับ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 จํานวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 8.57 ตารางท่ี 5 แสดงค่าร้อยละเฉลี่ยความสําเรจ็ ของตัวชีว้ ัด ผลผลติ ประชาชนทวั่ ไปเขา้ ร่วมโครงการจํานวน 35 คน ผลสาํ เรจ็ ของโครงการ จาํ นวน รอ้ ยละ เปูาหมายโครงการ 30 100.00 ผู้เข้าร่วมโครงการ 35 100.00 กศน.ตำบล สงั กดั กศน.อำเภอพนสั นิคม

สรุปผลการจัดกจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามรแู้ ละฝกึ ปฏบิ ตั กิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” 15 จากตารางที่ 5 พบว่าผลสาํ เร็จของตวั ชวี้ ัดผลผลิตกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการอบรมใหค้ วามรู้และฝกึ ปฏิบตั ิการ “โคก หนอง นา โมเดล” มีผูเ้ ข้าร่วมโครงการ จํานวน 35 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 ซง่ึ บรรลเุ ปาู หมายดา้ นตัวช้วี ัด ผลผลติ ตารางท่ี 6 ค่าเฉลี่ยและสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมท่ีมีความพงึ พอใจต่อโครงการ อบรมให้ความรูแ้ ละฝึกปฏบิ ัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” ในภาพรวม รายการ คา่ เฉลยี่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ระดับ () ความพงึ พอใจ ดา้ นการบริหารจดั การ 4.65 () ความพงึ พอใจด้านกระบวน 4.67 0.50 ดมี าก การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้/การอบรม 0.50 ดีมาก ดา้ นประโยชน์ทีไ่ ดร้ ับ 4.69 รวมทุกด้าน 4.67 0.53 ดมี าก 0.51 ดีมาก จากตารางที่ 6 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามทมี่ คี วามพงึ พอใจต่อโครงการอบรมให้ความรแู้ ละฝึกปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” ในภาพรวม จํานวน 35 คน อยู่ในระดับดีมาก (=4.67) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านประโยชน์ท่ีได้รับ อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (= 4.69) รองลงมาคือ ความพึงพอใจด้าน กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้/การอบรม มีอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉล่ีย (= 4.67) และสุดท้ายด้านการ บริหารจัดการ อยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉล่ีย (= 4.65) ตามลําดับ โดยมีส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.50 - 0.53 แสดงวา่ ผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมมคี วามพงึ พอใจสอดคล้องกัน ตารางที่ 7 คา่ เฉลยี่ และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมทม่ี ีความพึงพอใจต่อ โครงการอบรมใหค้ วามรู้และฝึกปฏิบตั กิ าร “โคก หนอง นา โมเดล”ดา้ นการบรหิ ารจดั การ รายการ คา่ เฉลีย่ สว่ นเบ่ยี งเบน ระดับ มาตรฐาน () ความพึงพอใจ 1. อาคารสถานที่ () 2. สงิ่ อํานวยความสะดวก 4.63 0.55 ดมี าก 3. กําหนดการและระยะเวลาในการดาํ เนินโครงการ 4.69 0.47 ดี 4. เอกสารการอบรม 4.66 0.54 ดมี าก 5. วทิ ยากรผู้ใหก้ ารอบรม 4.51 0.51 ดมี าก 4.74 0.44 ดี รวม 4.65 0.50 ดมี าก จากตารางที่ 7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมให้ความรู้และฝึก ปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” ด้านการบริหารจัดการ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย (= 4.65) เม่อื พิจารณาเปน็ รายขอ้ พบวา่ วทิ ยากรผู้ใหก้ ารอบรม มคี ่าเฉลย่ี (= 4.74) รองลงมา คือ สิ่งอํานวยความสะดวก มีค่าเฉล่ีย (= 4.69) กําหนดการและระยะเวลาในการดําเนินโครงการ ค่าเฉลี่ย (= 4.66) อาคารสถานท่ี ค่าเฉล่ีย (= 4.63) และสุดท้าย เอกสารการอบรม มีค่าเฉลี่ย (= 4.51) ตามลําดับ โดยมีส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.44 - 0.55 แสดงวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามมคี วามคิดเห็นไปในทศิ ทางเดยี วกนั กศน.ตำบล สังกัด กศน.อำเภอพนัสนิคม

สรุปผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมให้ความร้แู ละฝึกปฏิบัตกิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” 16 ตารางท่ี 8 ค่าเฉล่ยี และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมท่ีมีความพึงพอใจต่อโครงการ อบรมให้ความรูแ้ ละฝึกปฏบิ ตั ิการ “โคก หนอง นา โมเดล” ดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้/การอบรม รายการ ค่าเฉลยี่ ส่วนเบ่ยี งเบน ระดบั () มาตรฐาน () ความพงึ พอใจ 6. การจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรแู้ ละฝึก 4.60 0.55 ดีมาก ปฏิบตั กิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” 7. การให้ความร้เู รื่อง “โคก หนอง นา โมเดล” 4.57 0.56 ดีมาก 8. การตอบข้อซักถามของวิทยากร 4.83 0.38 ดีมาก 4.80 0.41 ดีมาก 9. การแลกเปลีย่ นเรยี นรูข้ องผเู้ ขา้ รบั การอบรม 4.66 0.54 ดีมาก 10. การสรปุ องค์ความร้รู ว่ มกัน 4.54 0.51 ดีมาก 11. การวัดผล ประเมินผล การฝกึ อบรม 4.67 0.50 ดีมาก รวม จากตารางท่ี 8 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” ด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้/การอบรม ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย (= 4.79) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การตอบข้อซักถามของวิทยากร มีค่าเฉล่ีย (= 4.83) รองลงมาคือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้เข้ารับการอบรม มีค่าเฉลี่ย (= 4.80) การสรุปองค์ความรู้ร่วมกัน มีค่าเฉลี่ย (= 4.66) การจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” มีค่าเฉลี่ย (= 4.60) การให้ความรู้เร่ือง “โคก หนอง นา โมเดล” มีค่าเฉล่ีย (= 4.57) และสุดท้ายการวัดผล ประเมินผล การฝึกอบรม มคี ่าเฉลี่ย (= 4.54) ตามลําดบั โดยมีสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.38 - 0.56 แสดงว่า ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคดิ เห็นสอดคลอ้ งกนั ตารางท่ี 9 คา่ เฉล่ยี และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมท่ีมีความพงึ พอใจต่อโครงการ อบรมให้ความรู้และฝึกปฏบิ ัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” ดา้ นประโยชน์ที่ได้รับ รายการ คา่ เฉลยี่ สว่ นเบี่ยงเบน ระดับความ () มาตรฐาน () พงึ พอใจ 12. การเรียนรู้และฝกึ ตนเองเก่ยี วกบั “โคก หนอง นา 4.63 ดมี าก โมเดล” 0.60 13. การนาํ ความร้ทู ่ีได้รบั มาปรับใชใ้ นชวี ิตประจาํ วัน 4.74 ดมี าก 4.69 0.44 ดมี าก รวม 0.53 จากตารางท่ี 9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมให้ความรู้และฝึก ปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” ด้านประโยชน์ท่ีได้รับ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉล่ีย (= 4.69) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การนําความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจําวัน มีค่าเฉล่ีย (= 4.74) และการ เรียนรู้และฝึกตนเองเกย่ี วกับ “โคก หนอง นา โมเดล”ยง มีคา่ เฉล่ีย (= 4.63) โดยมีสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน () อยรู่ ะหวา่ ง 0.44 - 0.60 แสดงวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามมีความคดิ เหน็ ไปในทศิ ทางเดียวกนั กศน.ตำบล สังกัด กศน.อำเภอพนัสนิคม

สรุปผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรู้และฝกึ ปฏบิ ัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” 17 สรุปในภาพรวมของกจิ กรรมคิดเปน็ รอ้ ยละ 93.40 มีคา่ นา้ หนกั คะแนน 4.67 ถือวา่ ผู้รบั บริการ มคี วามพงึ พอใจทางดา้ นต่าง ๆ อยูใ่ นระดับดมี าก โดยเรียงลาดบั ดังน้ี  อันดับแรก ด้านประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั คิดเป็นร้อยละ 93.80 มีค่านํา้ หนักคะแนน 4.69 อยใู่ นระดับ คุณภาพดีมาก  อันดบั สอง ด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้/การอบรม คดิ เปน็ ร้อยละ 93.40 มีค่านา้ํ หนกั คะแนน 4.67 อย่ใู นระดบั คุณภาพดี  อันดบั สาม ดา้ นการบริหารจดั การ คดิ เป็นรอ้ ยละ 93.00 มีค่าน้ําหนักคะแนน 4.65 อยใู่ นระดับ คุณภาพดี กศน.ตำบล สงั กดั กศน.อำเภอพนสั นิคม

สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรแู้ ละฝกึ ปฏิบตั ิการ “โคก หนอง นา โมเดล” 18 บทท่ี 5 อภปิ รายและข้อเสนอแนะ ผลการจดั กิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัตกิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” ไดผ้ ลสรปุ ดังน้ี วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อส่งเสรมิ ให้ผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรมรู้จกั การใชพ้ ืน้ ที่อยา่ งมปี ระสิทธิภาพสูงสดุ 2. เพือ่ สง่ เสรมิ และพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตาม แนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เปา้ หมาย (Outputs) เปา้ หมายเชิงปริมาณ ประชาชน 6 ตําบล ๆ ละ 5 คน ไดแ้ ก่ ตาํ บลบ้านชา้ ง ตําบลบา้ นเซดิ ตําบลหมอนนาง ตําบลกุฎโงง้ ตําบลทุ่งขวางและตาํ บลนามะตมู รวมท้งั สนิ้ 30 คน เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ - ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมร้จู ักการใช้พื้นท่ีอย่างมปี ระสิทธิภาพสูงสุด - ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมมีการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตาม แนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูลในครงั้ นี้ คือ แบบประเมินความพึงพอใจ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ไดม้ อบหมายให้ ครู กศน.ตําบลท่ีรบั ผิดชอบกจิ กรรมแจกแบบสอบถามความ พึงพอใจให้กับผรู้ ่วมกิจกรรม โดยให้ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามโครงการอบรมให้ ความรแู้ ละฝกึ ปฏบิ ัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” สรุปผลการดาเนนิ งาน กศน.ตาํ บลบา้ นชา้ ง กศน.ตาํ บลบ้านเซิด กศน.ตําบลหมอนนาง กศน.ตําบลกุฎโงง้ กศน.ตําบลทงุ่ ขวาง และกศน.ตาํ บลนามะตมู ได้ดําเนนิ การจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรแู้ ละฝึกปฏบิ ัตกิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” โดยดําเนนิ การเสรจ็ สิ้นลงแลว้ และสรุปรายงานผลการดาํ เนนิ งานได้ดงั นี้ 1. ผู้ร่วมกิจกรรมจํานวน 35 คน รูจ้ ักการใช้พืน้ ท่ีอย่างมปี ระสิทธิภาพสงู สุด อีกทัง้ มีการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ทดี่ ีขึน้ ตลอดจนสามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมของตนเองได้อยา่ งเหมาะสมตาม แนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. ผูร้ ว่ มกจิ กรรมร้อยละ 93.80 นาํ ความรทู้ ไี่ ด้รบั มาปรับใช้ในชวี ิตประจาํ วนั 3. จากการดาํ เนนิ กจิ กรรมตามโครงการดังกล่าว สรุปโดยภาพรวมพบว่า ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมสว่ นใหญม่ ีความ พึงพอใจต่อโครงการ อย่ใู นระดับ “ดีมาก ” และบรรลุความสําเรจ็ ตามเปาู หมายตวั ชี้วดั ผลลพั ธ์ทต่ี ั้งไว้ โดยมี คา่ เฉล่ยี รอ้ ยละภาพรวมของกิจกรรม 93.40 และคา่ การบรรลเุ ปูาหมายค่าเฉลยี่ 4.67 กศน.ตำบล สงั กัด กศน.อำเภอพนสั นิคม

สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรูแ้ ละฝกึ ปฏบิ ัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” 19 ข้อเสนอแนะ - อยากใหม้ ีการจดั กจิ กรรมนี้อีก ประชาชนสามารถนําความรูท้ ่ไี ด้รับไปปรับใชใ้ นชีวิตประจาํ วัน รวมทัง้ สามารถพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของตนเองให้ดียง่ิ ขึน้ ตลอดจนใช้ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมทต่ี นเองมีไดอ้ ย่าง เหมาะสมตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กศน.ตำบล สังกดั กศน.อำเภอพนสั นิคม

สรปุ ผลการจดั กิจกรรมโครงการอบรมใหค้ วามร้แู ละฝกึ ปฏิบัติการ “โคก หนอง นา โมเดล” 20 แบบประเมนิ ผ้รู ับบรกิ าร โครงการอบรมให้ความรูแ้ ละฝกึ ปฏบิ ตั ิการ “โคก หนอง นา โมเดล” สถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอพนสั นิคม กจิ กรรม การศึกษาเพือ่ พัฒนาอาชพี การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาทกั ษะชีวิต การศึกษาเพ่อื พฒั นาสังคมและชมุ ชน เศรษฐกิจพอเพยี ง ************************************************************************************** สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ทัว่ ไป คําชี้แจง ใสเ่ ครอ่ื งหมาย  ลงในช่องท่ีตรงกบั ขอ้ มูลของท่านเพยี งชอ่ งเดยี ว เพศ  ชาย  หญิง อายุ  15 - 25 ปี  26 – 39 ปี  40 – 49 ปี  50 – 59 ปี  60 ปีขนึ้ ไป อาชพี  รบั จา้ ง  คา้ ขาย  เกษตรกรรม  ลูกจ้าง/ขา้ ราชการหน่วยงาน อนื่ ๆ ระบุ การศกึ ษา  ตาํ่ กวา่ ป.4  ป.4  ประถมศกึ ษา  ม.ตน้  ม.ปลาย  อนุปริญญา  ปรญิ ญาตรี  สงู กวา่ ปริญญาตรี สว่ นที่ 2 ด้านความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ าร คําช้ีแจง ใส่เครื่องหมาย  ลงในชอ่ งท่ีตรงกบั ข้อมูลของท่านเพยี งช่องเดียว ระดบั ความพงึ พอใจ หมาย เหตุ ข้อ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ทีส่ ุด กลาง ที่สุด ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจด้านการบริหารจัดการ 1 อาคารสถานท่ี 2 สงิ่ อํานวยความสะดวก 3 กาํ หนดการและระยะเวลาในการดําเนินโครงการ 4 เอกสารประกอบการอบรม 5 วิทยากรผใู้ หก้ ารอบรม ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนร/ู้ การอบรม 6 การจัดกิจกรรมโครงการอบรมใหค้ วามร้แู ละฝกึ ปฏิบตั ิการ “โคก หนอง นา โมเดล” 7 การใหค้ วามรเู้ รือ่ ง “โคก หนอง นา โมเดล” 8 การตอบข้อซักถามของวทิ ยากร 9 การแลกเปล่ยี นเรียนรูข้ องผเู้ ข้ารบั การอบรม 10 การสรปุ องค์ความรรู้ ว่ มกัน 11 การวดั ผลและประเมนิ ผลการฝกึ อบรม ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจดา้ นประโยชนท์ ่ีไดร้ บั 12 การเรยี นรู้และฝึกตนเองเกย่ี วกบั “โคก หนอง นา โมเดล” 13 การนําความรูท้ ่ีไดร้ ับมาปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจําวนั ผผู้ า่ นการฝึกอบรมได้นําความรไู้ ปใชจ้ รงิ เพม่ิ รายได้ ลดรายจ่าย นาํ ไปประกอบอาชพี พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ใช้เวลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ อ่ืนๆ ระบุ………………………. ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะอื่นๆ ............................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................ ขอขอบคุณทุกทา่ นท่ีกรณุ าตอบแบบประเมนิ : จาก กศน.ตําบล กศน.ตำบล สงั กัด กศน.อำเภอพนัสนิคม

สรปุ ผลการจัดกจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้และฝึกปฏบิ ตั กิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” 21 ภาคผนวก กศน.ตำบล สงั กัด กศน.อำเภอพนัสนิคม

สรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรแู้ ละฝึกปฏิบัตกิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” 22 ภาพประกอบการจัดกิจกรรม โครงการอบรมให้ความรู้และฝกึ ปฏบิ ัตกิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” วนั ท่ี 23 มีนาคม 2564 ณ ศูนยก์ ารเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” ม.8 ต.หนองเหยี ง อ.พนัสนคิ ม จ.ชลบรุ ี วิทยากรคือนางรชั นีกร ดว้ งเงิน ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมจํานวน 35 คน กศน.ตำบล สังกดั กศน.อำเภอพนัสนิคม

สรุปผลการจัดกจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรแู้ ละฝึกปฏบิ ตั ิการ “โคก หนอง นา โมเดล” 23 คณะผู้จดั ทา ที่ปรึกษา หมื่นสา ผู้อํานวยการ กศน.อาํ เภอพนัสนิคม 1. นางณชั ธกญั การงานดี ครู 2. นางสาวมุทกิ า ครู กศน.ตําบลบ้านช้าง คณะทางาน นอ้ ยประเสรฐิ ครู กศน.ตาํ บลบ้านเซดิ 1. นางสาวเบญจมาศ เพชรประเสรฐิ ครู กศน.ตําบลหมอนนาง 2. นางสาวสุนทรี บรรดาศกั ด์ิ ครู กศน.ตาํ บลกุฎโงง้ 3. นางสาวจนั ทรท์ ิพย์ ฮกโก้ ครู กศน.ตําบลทุง่ ขวาง 4. นางสาวกนกกร นาํ้ ฟูา ครู กศน.ตําบลนามะตมู 5. นางสาวนิตยา มาละเงนิ 6. นางสาวสุทธดิ า ครผู ู้ชว่ ย ครูอาสาสมัครฯ บรรณาธกิ าร ศรีบุณยะแก้ว 1. นางสาวณภษร คลงั สินธ์ 2. นางสาวเฟอ่ื งฟาู กศน.ตำบล สงั กดั กศน.อำเภอพนสั นิคม

สรปุ ผลการจดั กิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้และฝกึ ปฏบิ ตั ิการ “โคก หนอง นา โมเดล” 24 กศน.ตำบล สังกดั กศน.อำเภอพนสั นิคม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook