Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่ม 6 (4) เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว

เล่ม 6 (4) เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว

Published by agenda.ebook, 2021-11-05 11:24:11

Description: (4) เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 4 ครั้งที่ 16 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่สอง) วันที่ 22 ธันวาคม 2565

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการพิจารณา ตามระเบียบวาระการประชมุ เร่อื งที่คณะกรรมาธกิ าร พิจารณาเสร็จแลว้ เล่มท่ี 6 กลุ่มงานระเบยี บวาระ สานกั การประชุม





รายงาน เรื่อง การศึกษา TELEMEDICINE ในประเทศไทย ของคณะกรรมาธิการการสื่อสารโทรคมนาคม และดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม สภาผู้แทนราษฎร สานักกรรมาธิการ ๑ สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

รายงาน เรื่อง การศึกษา TELEMEDICINE ในประเทศไทย ของคณะกรรมาธิการการสื่อสารโทรคมนาคม และดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม สภาผู้แทนราษฎร สานักกรรมาธิการ ๑ สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

,. m0 un ~'°J9Jl'l~~ flru~ m'Jm5m'Jm'J~mn'J 1 'Vl'Jfl:wt11 fl:w ~ m:.J ooC9Jf1V.C9JC9J/rJ. ~\\~ bbfi~~~VJ(;l b~e:i b~'j~~n\"'\"-;u ua ~~-:ifl:w 61[11~ u'Vl'U'J1~~.J'J tl'U'U611:Wb61'U b6U~WI~~ fl1\\lb'Vlr\"li C9JObnOO qq ?1m~ll'Vlm1~!P m1rn1tJt1 'lh~51'U61m~lb'Vl'U'J1~!P 1~\\lVi~\\lmJl1 tJ 'J1 CJ\\l1'Ufl1'J~fl~1 b~e:J\\l fl1'J~fl~1 T elemedici ne uilse b'Vl~1'Vl tJ \"il1t11'U C9J 61.!~ q ~1:w~~tlw~:w?1m~lb'Vlt1'J1~~'J ~~~ ~er tJ~ (9) fl~\\l~ ~C9J. \"'1~tJ611~~tl'J~\"il1tJ fl~\\l~Vl~\\l) 1't1Y'l'B~ (9)(9) nt1tJ1CJ'U ~ctb~ ~tl'J~\"t!:qw61m~lb'\\J'Vl'U'J1~f1'Jd-.J 1Jlr;'l\\l:W~~\\lflru~m'Jm5m'Jfl1'J~e:J?l1'J 1'Vl'Jfl:W'U1fl:W q 1ua ~~~VJ(;'] b~B bf1'J~'5~n'1 ua ~61\\l fl:w 61.n1 ~~ bb'Vl'U'J1~1d1J'j b~B Vfijvti!1~ ua ~ el'1t11-;u ~ 1:w-if Bu\\l ~'\\.J m'Jtl 'j ~61.!~:l..J b b~?I i11 ~ bb 'Vl'U'J1~!) 'J Y'l. ~. ~ctb~ -ife:J ~o 'U fl1'Jfl';}~vl1 n-;u fl1'J fl1'J61B'\\.Jvt1-if m Vi-;u-;u1 \\l vt'1B~ fl~1 b~e:J\\l 1 n 611 8~ b ~ CJ 1 '\\.J fl 1 'J ~ \\l b :w bb a ~ fl 1'J~w.J'U1JI1'Ufl1 'J ~ e:i ?11 'J 1'Vl'jfl:w'U1 fl :w u a ~ b 'Vl fl1t11 a ~~VJ(;'] b ~ e:i b ~ 'j ~ \"~'\" n -;u bbr;'l~~\\lfl:WJ'U zj\\lm'J:W1Bfl1'Jflru~t1' tl'J~fle:iLJJi'1tJ (9). 'U1\\l?l11tl(;'JCJ1 1\\ll~~'JitJ tl'J~51'Uflru~m'Jm5m'J q 'Je:J\\ltl'J~51'Uflru~m'Jm5m'J fl'U~vt~\\l h 'U1tJ61tJ1:W Vl~tl?l\\lbfl'J1~~ en. ~'UbBfl b~'J~~Y'l\\lrl :W~~?l1'J'JD.I 'Je:J\\ltl'J~51'Uflru~m'Jm5m'J fl'U~?le:J\\l 'Je:i\\ltl'J~51'Uflru~m'Jm5m'J fl'U~?ll:w \"'\" q 'Je:J\\ltl'J~51'Uflru~m'Jm5m'J flt!~~ 'Je:J\\ltl'J~51'Uflru~m'Jm5m'J flt1~Vl1 tJ 'J~o1t1~tl~fl~1fl ru~ m'Jm5m'J ~tl1fl~1flru~m'Jm5m'J ~tl1fl~1flru~m'Jm5m'J (9)0. 'U1CJ'UY'l ~11'Llt1v1 ~tl1fl~1f1ru~m'Jm5m'J (9)(9). 'U1CJflt]~~1 ~'Ub'Vle:J~Y1~tl ~tl1fl~1flru~m'Jm5m'J C9Jh 'U1tJJ11fll~ ~1?1'JY'lfi ~tl1fl~1f1ru~m'Jm5m'J q 1~~flflru~m'Jm6m'J «« (9)bn. 'U1\\l6111[11~1'Vl 1'Jfl1'U'U'Vl C9><9'.'.. t!1tJ61mntJ'J~ Cl'UB:W~'UB 1~~flflru~m'Jm6m'J q lr;'l6U1'Ufl1'Jflru~m'Jm5m'J q /l'Ufl'J11 ...

-~ - 1t1fl111'\\J1~-ql.l~m~1,1,'Vlt111~~1 ~~~ ~cr lJ~ (9) fl~\\l~ ~ (m!CJ~1~qJ'\\J1~'i\\11lJfl~\\l~~B\\l) lJl 'U 'VHl ~ ~ 'U ~ ~ ~ ~ 'V'Hl I\"!~ tl1 CJ 'U ~ ct'.b ~ ~ '\\J 1~~lJ1 ~fl \\l lJ &i ~ \\l 'U 1 CJ~ fl t, Vl \\911 ~ Q fl t, 'U fl 11lJ1Bfl11 1t1flru~m1m6m1m1~Bm11'Vl1fllJt11fllJ1,1,fl~~~Vlm~ml\"l1~:on'1llfl~~\\lfllJ bL'Vlt1t11CJ6irCJ1~ nt11flmt1~1ru dJI q q zj\\l1~6VBfl1BBfl'11flfl11lll'Um1mBfl11~1~qj L~Bl'U~ ~@) 'V'ltll\"l~fl1CJ'U ~ct'.D~ cLJ'~d fltw~fl11lJ1Bfl111~~1LU'Ufl11~'111tw1~fl~1 L~B\\l fl11~fl~1 Telemedicine b'U'lJWL'Vll\"l1'VlCJ t,~~'1L1CJ'U1BmL~1 ~\\ln11'UL1CJ'UlJ1L~€JbD1~tJ 1L~'UB~'\\J1~611lJ~.fl1~LL 'Vl'U11~d1.J11 L~B~\\111fW1 q \\J '\\J1~n1t1flru~m1m6m1m1~B~i;b'Vl1fllJ'U1fllJ LLfl~~~VlflLcWB Ll\"l1~\":\"0n'1LLG'l~~\\lfllJ 611i1flm1m6m1 (9) fl~m1t1flru~m1m6m1m1~B~111 'Vl1fllJ'U1fllJ q lbG'l~~~Vlflt,cWB Ll\"l1~\":\"0n'1ua ~~\\lfllJ b'Vl1~'V'l'Yi o ~~~ ct'.~oo ~B b~(9)(9) 1LJ1~ru~~l~fl'Vl1BUfl~ : telecornraparllarnent.go.th (t11\\l~11'\\J'1CJ1n1ru lLn11CJt1) ~rl1t11CJfl11611i1flfl11ii16fl11 (9) \\J 'U1CJflt1611 tl'Vl51/~1\\l 'U1\\l~11UCJ'U1 LL~'Ul61J1/~m~ 'U1CJ~l\"lruq 'V'lflcW61JcU/\\9111'1 ., ' fli'\\l'Vi (9) 'U1CJ~l\"!ru 'V'lflcW611tl q !1J I I fS' fli'\\l'Vi ~ l1'Yi~BCJ\\911 LBfl~fl~ b61J&i~CJ

ก รายนามคณะกรรมาธกิ ารการส่อื สาร โทรคมนาคม และดจิ ิทลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสังคม นางสาวกัลยา รุ่งวิจิตรชัย ประธานคณะกรรมาธิการ นายสยาม หัตถสงเคราะห์ พนั เอก เศรษฐพงค์ มะลสิ ุวรรณ นายนคิ ม บญุ วิเศษ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทห่ี นึง่ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทสี่ อง รองประธานคณะกรรมาธิการ คนทสี่ าม นายปกรณ์วุฒิ อดุ มพิพัฒนส์ กลุ นายดล เหตระกลู นายสรอรรถ กลน่ิ ประทุม รองประธานคณะกรรมาธิการ คนทส่ี ี่ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนทหี่ า้ ประธานท่ีปรกึ ษาคณะกรรมาธิการ นายสราวุธ อ่อนละมัย นายชาญวทิ ย์ วิภูศิริ นายนพ ชีวานันท์ นายกฤษฎา ตันเทอดทติ ย์ ทปี่ รกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร ทป่ี รกึ ษาคณะกรรมาธิการ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ ทีป่ รึกษาคณะกรรมาธกิ าร นายภาควตั ศรีสุรพล นางสาวภาดาท์ วรกานนท์ นายสมเกียรติ ถนอมสินธุ์ นายเสมอกนั เที่ยงธรรม ทป่ี รึกษาคณะกรรมาธกิ าร โฆษกคณะกรรมาธกิ าร โฆษกคณะกรรมาธกิ าร เลขานุการคณะกรรมาธิการ

ข รายนามที่ปรึกษา ผชู้ านาญการ นกั วิชาการ และเลขานุการประจาคณะกรรมาธิการ (ปัจจบุ ัน) ๑. นายศักดิ์ สมบุญโต ทปี่ รึกษาประจาคณะกรรมาธิการ ๒. นางสาวอารีรตั น์ เลาพหล ทีป่ รึกษาประจาคณะกรรมาธิการ ๓. นายสทิ ธา สุวิรัชวิทยกิจ ผู้ชานาญการประจาคณะกรรมาธิการ ๔. นางสาวอัจจิมา ศริ ิอ่อน นักวชิ าการประจาคณะกรรมาธกิ าร ๕. นายธาดา โอฬารกิ เลขานุการประจาคณะกรรมาธิการ ๖. นายธรี ชาติ ก่อตระกลู เลขานุการประจาคณะกรรมาธกิ าร ๗. นายศิลปว์ ชิ ญ์ นอ้ ยสมมิตร เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธกิ าร ๘. นางสุดนภา เจริญเวชชการ เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธกิ าร ๙. นายธนบดี มณีสวา่ งวงศ์ เลขานุการประจาคณะกรรมาธกิ าร ๑๐. นายพนั ธสร กฤษฎาธิวฒุ ิ เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธิการ ๑๑. นายอัฎฐพร ดารงกลุ เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธกิ าร ๑๒. นายฐาคณิษฐ์ พรทองประเสรฐิ เลขานุการประจาคณะกรรมาธิการ ๑๓. นายพริ ณุ ไพรพี า่ ยฤทธิ์ เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธิการ ๑๔. นายพศิ ฐศ์ ักดิ์ เครอื ไชย เลขานุการประจาคณะกรรมาธกิ าร ๑๕. นายยอดยิง่ ชุมแสง ณ อยุธยา เลขานุการประจาคณะกรรมาธิการ ๑๖. นายกิตตนิ นั ท์ พจน์ประสาท เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธกิ าร ๑๗. นายธรี ะพจน์ ผดุงธรรม เลขานุการประจาคณะกรรมาธิการ ๑๘. นายชัยยะวฒั น์ พงึ จิตตสิ านต์ิ เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธิการ ๑๙. นายอภิวงษ์ วนะไชยเกยี รติ เลขานุการประจาคณะกรรมาธิการ ๒๐. นายปกรณ์ เกยานนท์ เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธกิ าร ๒๑. นางสาวกมลชนก วรรณวิจิตร เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธิการ ๒๒. นางสาวสดุ ารตั น์ พิทกั ษพ์ รพัลลภ เลขานุการประจาคณะกรรมาธิการ ๒๓. นายนาคร วรกานนท์ เลขานุการประจาคณะกรรมาธกิ าร ๒๔. นายณัฐวธุ จลุ กะเศียน เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธิการ ๒๕. นางสาวรินนภา คุณะวัฒนส์ ถิต เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธกิ าร ๒๖. นายธนกฤต แก้วนยุ้ เลขานุการประจาคณะกรรมาธกิ าร ๒๗. นายวีรชน วังกาวี เลขานุการประจาคณะกรรมาธกิ าร ๒๘. นางสาวชนัญชิดา ศิริโภคพฒั น์ เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธกิ าร ๒๙. นางสาวธนัชพร พงษโ์ ภคา เลขานุการประจาคณะกรรมาธกิ าร

ค รายนามทปี่ รกึ ษา ผชู้ านาญการ นักวิชาการ และเลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธกิ าร (ในอดีต) ๑. นายปกรณ์เกยี รติ ไพรวลั ย์ นกั วิชาการประจาคณะกรรมาธกิ าร ๒. นางทพิ วรรณ ซาซูดนิ นักวิชาการประจาคณะกรรมาธิการ ๓. นายนิปัจกร กรรณสูต นักวิชาการประจาคณะกรรมาธกิ าร ๔. นายวฒุ ริ กั ษ์ เดชะพงษ์พันธ์ นกั วชิ าการประจาคณะกรรมาธิการ ๕. นายศลิ ปชยั บญุ ราย เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธกิ าร ๖. นายวรฐ สนุ ทรนนท์ เลขานุการประจาคณะกรรมาธกิ าร ๗. นายธนกฤต สายเครื่อง เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธิการ ๘. นายกติ ตโิ ชค จิตต์สดศรี เลขานุการประจาคณะกรรมาธิการ ๙. นายณฐั พงษ์ มงคลนาวิน เลขานุการประจาคณะกรรมาธิการ ๑๐. นายปกรณ์ พรรณเชษฐ์ เลขานุการประจาคณะกรรมาธิการ ๑๑. นายธนพนั ธ์ วงษช์ ินศรี เลขานุการประจาคณะกรรมาธกิ าร ๑๒. นายธรรมธ์ ีร์ สกุ โชตริ ตั น์ เลขานุการประจาคณะกรรมาธิการ ๑๓. นางสาวภรณิ ธนบญุ ญากิตต์ิ เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธกิ าร ๑๔. นายชษิ ณุพงศ์ ปานอาพนั ธ์ เลขานุการประจาคณะกรรมาธิการ ๑๕. ผูช้ ่วยศาสตราจารยอ์ ภญิ ญา กลิน่ ประทมุ เลขานุการประจาคณะกรรมาธกิ าร ๑๖. นายสหทศั น์ สถาพรวรศกั ด์ิ เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธกิ าร ๑๗. นายสุรวุติ อิทธโิ รจนกุล เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธกิ าร ๑๘. นายชยั ยศ จิรบวรกลุ เลขานุการประจาคณะกรรมาธกิ าร ๑๙. นายสปุ ระวีณ์ อนรรฆพันธ์ เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธิการ ๒๐. นายธวชั ชัย กลุ าตี เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธกิ าร ๒๑. นายเจษฎา วิรยิ ะสนุ ทรพันธ์ เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธกิ าร ๒๒. นายประยทุ ธ์ ศภุ วราพงษ์ เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธิการ ๒๓. นางสาวจันทรเ์ พญ็ ใจกล้า เลขานุการประจาคณะกรรมาธกิ าร ๒๔. นายทิพย์ธนวฒั น์ พงษ์วัฒนา เลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธิการ ๒๕. นายศริ วิ ัฒน์ วงศจ์ ารุกร เลขานุการประจาคณะกรรมาธกิ าร ๒๖. นายนริ ฬุ วรกานนท์ เลขานุการประจาคณะกรรมาธิการ

ง รายนามท่ีปรกึ ษาประจาคณะกรรมาธกิ าร (ไม่มีค่าตอบแทน) รายนามทป่ี รกึ ษาประจาคณะกรรมาธกิ าร (ปัจจุบัน) ๑. นางทรงพร โกมลสรุ เดช ๒. นายเฉลมิ ชัย วริ ณุ สาร ๓. นายยอด ชินสภุ ัคกุล ๔. รอ้ ยโท เจษฎา ศิวรกั ษ์ ๕. นายกัญจนาภา ประสิทธลิ าโภ ๖. นายไพศาล อิทธิธรรม ๗. พลโท ปรัญชา เฉลิมวัฒน์ ๘. นายอภจิ ติ เจริญเวชชการ ๙. นายชัยทัต แซ่ต้ัง ๑๐. นายปรญิ ญา จารวิจติ ๑๒. นายศริ ชิ ยั สขุ สันติชยั ๑๓. นายสรร กอ่ นันทวัฒน์ ๑๔. นายเจษฎา วริ ิยะสนุ ทรพันธ์ รายนามทีป่ รกึ ษาประจาคณะกรรมาธิการ (อดตี ) ๑. นายจารสั บตุ รดี ๒. นายไพรัช บญุ ประกอบวงศ์ ๓. นายสุรวุต อิทธิโรจนกลุ ๔. นายวศิ ัลย์ วนะศกั ดิ์ศรีสกุล ๕. นายธชั กร แต้ศริ ิเวช ๖. นายธนกร ภัทรบญุ สริ ิ ๗. นายภัทร ภมรมนตรี

จ รายนามคณะอนกุ รรมาธิการติดตามและตรวจสอบการพัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐาน ทางดิจิทลั และความมั่นคงปลอดภยั ไซเบอร์ พนั เอก เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ ประธานคณะอนกุ รรมาธิการ นายสมเกยี รติ ถนอมสนิ ธุ์ นางสาวภาดาท์ วรกานนท์ รองประธานคณะอนกุ รรมาธิการ คนทีห่ นงึ่ รองประธานคณะอนกุ รรมาธิการ คนท่ีสอง นายชยั ชนะ มิตรพันธ์ นายปรัชญา อนตั เมฆ นายธเนศ กิตตนิ เรศวร อนุกรรมาธกิ าร อนกุ รรมาธิการ อนกุ รรมาธกิ าร นางสาวภคั ธภา ฉัตรโกเมศ นางสาวนวพร สอดศรี นายรัฐภูมิ โตคงทรัพย์ นายนพดล เทียมนรา เลขานุการ อนุกรรมาธิการ อนกุ รรมาธิการ อนุกรรมาธกิ าร คณะอนุกรรมาธิการ

ฉ รายนามท่ีปรกึ ษาประจาคณะอนุกรรมาธิการ ๑. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์จริ ศิลป์ จยาวรรณ ๒. ร้อยโท เจษฎา ศิวรกั ษ์ ๓. นายสทุ ธิศักด์ิ ตนั ตะโยธิน ๔. นายกติ ตินันท์ พจน์ประสาท ๕. นายจักรกฤษณ์ อุไรรตั น์ ๖. นางสวุ รรณา หรรษาจารพุ ันธ์ ๗. นายเชาวนว์ ศั วณิชพันธุ์ ๘. นายชติพจน์ ศรเี มอื ง ๙. นางสมจิตต์ ธีระชตุ ิกลุ ๑๐. นายรชั กฤต ภชู ัชวณิชกุล ๑๑. นายชยั ทัต แซต่ ั้ง ๑๒. นายเศกสิทธิ์ เสง่ยี มศักด์ิ ๑๓. นายศลิ ป์วชิ ญ์ นอ้ ยสมมิตร ๑๔. นายศิลปชัย บญุ ราย ๑๕. นายแสงเทียน เชิดชดิ ๑๖. นายแสงชยั ธรี กุลวาณชิ ๑๗. พันเอก ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ทวิวัชร วีระแกล้ว ๑๘. รองศาสตราจารยอ์ ุดมเกียรติ นนทแก้ว ๑๙. ผู้ชว่ ยศาสตราจารยน์ รศิ หนหู อม ๒๐. นายปรญิ ญา หอมอเนก ๒๑. นายเลิศรัตน์ รตะนานกุ ูล ๒๒. นายวุฒิรักษ์ เดชะพงษ์พนั ธุ์ ๒๓. นายพงศธร สายสุจรติ ๒๔. นายชชั วาล กาญจนะหุต ๒๕. นางสุดนภา เจรญิ เวชชการ

ช รายงานการศึกษา ของคณะกรรมาธิการการส่อื สาร โทรคมนาคม และดจิ ิทลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม สภาผแู้ ทนราษฎร ---------------------------------------- ตามที่ท่ีประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดท่ี ๒๕ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๒๑ (สมัยสามัญประจาปี ครั้งท่ีหนึ่ง) วันพุธท่ี ๑๑ กันยายน ๒๕๖๒ ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ได้ลงมติตั้งคณะกรรมาธิการ การสื่อสาร โทรคมนาคม และดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม สภาผู้แทนราษฎร เพื่อให้มีหน้าที่ และอานาจตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๐ ในการกระทากิจการ การสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเร่ืองใด ๆ ที่เก่ียวกับการส่งเสริมและการพัฒนาด้านการส่ือสาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพอื่ เศรษฐกิจและสังคม กรรมาธกิ ารคณะนี้ ประกอบดว้ ย ๑. นางสาวกลั ยา รุ่งวิจิตรชัย ประธานคณะกรรมาธกิ าร ๒. นายสยาม หตั ถสงเคราะห์ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทีห่ นง่ึ ๓. พนั เอก เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สอง ๔. นายนิคม บญุ วิเศษ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทส่ี าม ๕. นายปกรณ์วุฒิ อุดมพิพฒั น์สกุล รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สี่ ๖. นายดล เหตระกูล รองประธานคณะกรรมาธิการ คนทหี่ ้า ๗. นายสรอรรถ กลิน่ ประทมุ ประธานทปี่ รึกษาคณะกรรมาธกิ าร ๘. นายสราวธุ อ่อนละมัย ท่ปี รกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร ๙. นายชาญวทิ ย์ วภิ ศู ิริ ทป่ี รกึ ษาคณะกรรมาธิการ ๑๐. นายนพ ชวี านันท์ ทป่ี รึกษาคณะกรรมาธกิ าร ๑๑. นายกฤษฎา ตนั เทอดทติ ย์ ทป่ี รกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร ๑๒. นายภาควัต ศรสี ุรพล ทป่ี รึกษาคณะกรรมาธกิ าร ๑๓. นางสาวภาดาท์ วรกานนท์ โฆษกคณะกรรมาธกิ าร ๑๔. นายสมเกียรติ ถนอมสินธุ์ โฆษกคณะกรรมาธกิ าร ๑๕. นายเสมอกัน เท่ียงธรรม เลขานุการคณะกรรมาธกิ าร อน่ึง เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ ได้ลาออก จากตาแหน่งกรรมาธิการ และในคราวการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดท่ี ๒๕ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญประจาปีคร้ังที่สอง) วันพฤหัสบดีที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ที่ประชุมเห็นชอบให้ตั้ง นายดล เหตระกูล เป็นกรรมาธิการในคณะกรรมาธิการการส่ือสาร โทรคมนาคม และดิจิทัล เพ่อื เศรษฐกิจและสังคม แทนตาแหนง่ ที่วา่ ง บัดน้ี คณะกรรมาธิการได้ดาเนินการพิจารณาศึกษาเร่ือง การศึกษา TELEMEDICINE ในประเทศไทย เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอรายงานผลการพิจารณาศึกษาเร่ืองดังกล่าวต่อ สภาผูแ้ ทนราษฎร ตามข้อบงั คับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ้ ๑๐๔

ซ ๑. การดาเนนิ งาน ๑.๑ คณะกรรมาธิการได้มีมติแต่งตั้ง นายพิศณุ พลพืชน์ ผู้บังคับบัญชากลุ่มงาน คณะกรรมาธิการ การส่ือสาร โทรคมนาคม และดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม สานักกรรมาธิการ ๑ ส า นั กง า น เ ล ขา ธิ กา ร ส ภ า ผู้ แ ทน ร า ษฎ ร ท า ห น้ า ที่ เ ป็ น ผู้ ช่ ว ย เ ล ข า นุ ก า ร ป ร ะจ า คณ ะกร ร มา ธิ ก า ร การสื่อสาร โทรคมนาคม และดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ตามข้อบังคับการประชุม สภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๓ วรรคสี่ ๑.๒ คณะกรรมาธิการได้มีมติต้ังคณะอนุกรรมาธิการขึ้นคณะหนึ่ง เพ่ือทาหน้าท่ีติดตาม และตรวจสอบการพัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐานทางดิจิทลั และความม่ันคงปลอดภยั ไซเบอร์ หรือกจิ การอ่ืน ท่ีคณะกรรมาธิการมอบหมาย ทั้งนี้ ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๖ ซง่ึ คณะอนกุ รรมาธิการคณะนี้ ประกอบด้วย ๑. พนั เอก เศรษฐพงค์ มะลสิ ุวรรณ ประธานคณะอนุกรรมาธกิ าร ๒. นายสมเกียรติ ถนอมสินธ์ุ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนทหี่ นึง่ ๓. นางสาวภาดาท์ วรกานนท์ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนทีห่ นง่ึ ๔. นายชยั ชนะ มติ รพนั ธ์ อนุกรรมาธิการ ๕. นายปรชั ญา อนนั ตเมฆ อนุกรรมาธิการ ๖. นายธเนศ กติ ติธเนศวร อนุกรรมาธิการ ๗. นางสาวภคั ธภา ฉัตรโกเมศ อนกุ รรมาธิการ ๘. นางสาวนวพร สอดศรี อนุกรรมาธิการ ๙. นายรฐั ภมู ิ โตคงทรัพย์ อนกุ รรมาธิการ ๑๐. นายนพดล เทียมนรา อนกุ รรมาธิการและเลขานุการ อน่ึง เม่ือวันท่ี นางสาวชลิดา อภิบาลภูธร ได้ลาออกตาแหน่งอนุกรรมาธิการ และในคราวการประชมุ คณะกรรมาธกิ ารการสื่อสาร โทรคมนาคม และดจิ ิทลั เพื่อเศรษฐกจิ และสังคม ครั้งท่ี ๓๑ เมื่อวันพฤหัสบดีท่ี ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ที่ประชุมเห็นชอบให้ต้ังนางสาวนวพร สอดศรี เป็นอนุกรรมาธิการติดตามและตรวจสอบการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางดิจิทัลและความมั่นคง ปลอดภัยไซเบอร์ ในคณะกรรมาธิการการสื่อสาร โทรคมนาคม และดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม แทนตาแหนง่ ทว่ี า่ ง ๒. วิธกี ารพจิ ารณาศกึ ษา ๒.๑ คณะกรรมาธิการได้จดั ให้มกี ารประชุม จานวน ๓ ครง้ั ๒.๒ คณะกรรมาธิการได้ดาเนินการโดยเชิญหน่วยงานมาให้ข้อมูลข้อเท็จจริงและ ประกอบการพจิ ารณา ดังน้ี สานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทยอ์ นันต์ กนกศลิ ป์ ผูอ้ านวยการศูนยเ์ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสอื่ สาร

ฌ สานกั งานส่งเสรมิ เศรษฐกิจดจิ ิทัล ผูอ้ านวยการสถาบันส่งเสริม รองศาสตราจารยธ์ ีรณี อจลากุล การวิเคราะห์และบริหารขอ้ มลู ขนาดใหญภ่ าครัฐ ๓. ผลการพิจารณาศกึ ษา คณะกรรมาธิการขอรายงานผลการพิจารณาศึกษาเรื่อง การศึกษา TELEMEDICINE ในประเทศไทย โดยคณะกรรมาธิการได้มอบหมายให้คณะอนุกรรมาธิการติดตาม และตรวจสอบ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางดิจิทัลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ดาเนินการพิจารณาศึกษา กรณีดังกล่าว ซ่ึงคณะกรรมาธิการได้พิจารณารายงานของคณะอนุกรรมาธิการด้วยความละเอียด รอบคอบแล้ว และได้มีมติให้ความเห็นชอบกับรายงานดังกล่าว โดยถือเป็นรายงานการศึกษาของ คณะกรรมาธิการ จากการพิจารณาศึกษาเร่ืองดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมาธิการจึงขอเสนอรายงาน การพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการ โดยมีรายละเอียดตามรายงานท้ายนี้ เพ่ือให้สภาผู้แทนราษฎร ได้พิจารณา หากสภาผู้แทนราษฎรให้ความเห็นชอบด้วยกับผลการพิจารณาศึกษาของ คณะกรรมาธิการ ขอให้โปรดดาเนินการตามแต่จะเห็นสมควรต่อไป ท้ังน้ี เพ่ือประโยชน์ของ ประเทศชาตแิ ละประชาชนสบื ไป

ญ บทสรุปผ้บู ริหาร American Telecommunication Association พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้ให้ความหมายของ การรักษาผ่านระบบทางไกล (Telemedicine) ว่าเป็นการใช้ข้อมูลทางการแพทย์ผ่านการสื่อสาร ทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้การดูแลสุขภาพของผู้ป่วย รวมถึงความสามารถท่ีหลากหลายในการใช้งาน และการให้บริการ โดยใช้วิดีโอ สมาร์ทโฟนท์ (Smart Phone) เครื่องมือไร้สายและรูปแบบอื่น ๆ ของเทคโนโลยี โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ตลาด Telemedicine โลกมีมลู คา่ ประมาณ ๒๑,๔๔๖.๓๓ ลา้ น ดอลลารส์ หรฐั (USD) และคาดว่าในปี พ.ศ. ๒๕๖๗ จะมีมูลคา่ สงู ถงึ ๖๐,๔๔๘.๔๗ ล้านดอลลารส์ หรัฐ (USD) โดยมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยร้อยละ ๑๘.๕๐ ต่อปี ปัจจัยหลักที่ทาให้ตลาดเติบโตคือ ค่าใช้จ่าย การรักษาที่นับวันจะเพ่ิมสูงขึ้น ความก้าวหน้าของนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทาให้การใช้ Telemedicine ทาได้ง่ายข้ึนมีต้นทุนการใช้งานลดลง และจานวนผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคท่ีจาเป็นต้อง ติดตามอาการเป็นระยะมีมากขึ้น รวมไปถึงการระบาดของ Covid - 19 ก็เป็นส่วนสาคัญ ในการผลักดันให้มีการใช้บริการ Telemedicine อีกด้วย วิกฤติแพร่ระบาดไวรัส Covid - 19 ทาให้ธุรกิจส่วนใหญ่ไม่สามารถทางานได้แบบเดิม การแพร่ระบาดของไวรัสทาให้ต้องทาการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ผู้คนไม่ สามารถออกมาพบปะสังสรรค์กันแบบเดิมได้ พนักงานไม่สามารถออกไปทางานได้ปกติ ทาให้เกิดการ ทางานจากที่บ้าน (Work from Home) ท่ีต้องพึ่งพาเทคโนโลยีดิจิทัลในการทางาน เมื่อวิถีชีวิต เปล่ียนไปก็จะส่งผลให้เกิดการสร้างธุรกิจใหม่รองรับ เพื่อความอยู่รอดจากรูปแบบเดิม ซึ่งสังคมก็มี การปรับตัวของธุรกิจแนวใหม่ขึ้น ที่ต้องใช้การสื่อออนไลน์มาใช้กับธุรกิจ การลดการสัมผัสทาให้ เปลย่ี นการจา่ ยคา่ สินค้าจากเงินสดเป็นชาระเงินออนไลน์มากข้ึน แม้กระทั่งรูปแบบการเรียนออนไลน์ รวมถึงบริการทางการแพทย์ด้วย การเกิดวิกฤติคร้ังน้ีเป็นการบังคับให้ต้องหันมาใช้เทคโนโลยีดิจิทัล อย่างจรงิ จังมากข้ึน Telemedicine เป็นเทคโนโลยีท่ีจะช่วยกาหนดอนาคตของอุตสาหกรรมการดูแลสุขภาพ และจะยังคงเติบโตต่อไปอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะในยุคที่การส่งผ่านข้อมูลสารสนเทศดาเนินการ ได้อย่างรวดเร็วในปจั จุบัน เนือ่ งจาก Telemedicine จะชว่ ยลดชอ่ งวา่ งระหว่างผู้ปว่ ยและผู้ให้บริการ ด้านการแพทย์ลงได้ การศึกษาของ Tractica พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้คาดการณ์ว่าภายในระยะเวลาห้าปี การให้คาปรึกษาทางการแพทย์ผ่านวิดีโอ จะมีจานวนมากกว่าการเข้าพบแพทย์ในโรงพยาบาล โดยเฉพาะในประเทศชั้นนาที่มีการใช้เทคโนโลยี 5G แล้วนั้น เทคโนโลยี 5G จะเป็นเทคโนโลยีท่ีมา ชว่ ยเสรมิ ให้ Telemedicine มีความสาคญั ต่อการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแพทย์ โดยเฉพาะในเขต พ้ืนที่ชนบทห่างไกล ท่ีประชาชนส่วนใหญ่ประสบปัญหาการเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข และเป็น ช่องทางในการลดการสัมผัสระหว่าบุคคล ซึ่งจะเป็นผลดีในช่วงของการระบาดของ Covid - 19 รวมถึงโรคระบาดอื่น ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตด้วย ทาให้ผู้ป่วยสามารถได้รับการดูแลจาก ผู้เชี่ยวชาญถึงสถานพยาบาลใกล้บ้าน หรือถึงตัวผู้ป่วยผ่านแอปพลิเคชัน (Application) ในมือถือได้

ฎ ทาให้การติดตามการรกั ษาและการดแู ลสุขภาพในชว่ งการพักฟื้นเป็นไปได้งา่ ยขึ้น ซงึ่ แพทยส์ ามารถให้ คาแนะนาผ่านวิดีโอแบบเรียลไทม์ (Real Time) หรือแม้แต่การสั่งยาจากแพทย์ คนไข้สามารถสแกน QR Code ซึ่งระบบจะส่งข้อมูลไปยังบริษัทรับส่งสินค้าให้ไปรับยาจากคลังยากลางของรัฐ หรือผู้ดาเนินการแทนรัฐ แล้วนาส่งยาถึงบ้านคนไข้ (Logistic and Supply Chain) ส่วนการจ่ายเงิน ระบบจะดาเนินการตัดจากสวัสดิการท่ีผู้ป่วยมี หรือสามารถมารถเบิกจ่ายได้ หรือตัดจากบัตรเครดิต หากผู้ป่วยต้องจ่ายเอง ซ่ึงเป็นการบูรณาการระบบฐานข้อมูลสุขภาพให้เช่ือมต่อกับเทคโนโลยี และ ระบบที่เก่ียวข้องท้ังองคาพยพ โดยการบริการทางการแพทย์น้ีจะเรียกว่า “การแพทย์แม่นยา (Precision Medicine)” ซ่ึงฐานข้อมูลสุขภาพที่มีข้อมูลยีนของคนไข้จะถูกนามาประมวลผลร่วมกับ ข้อมูลจากอุปกรณ์เก็บข้อมูลสุขภาพท่ีติดตามตัวของบุคคลนั้น ร่วมกับเคร่ืองใช้ในบ้านท่ีสามารถเก็บ ข้อมูลสุขภาพบุคคลได้ต้ังแต่ตื่นจนเข้านอน และประกอบกั บอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ทาง ห้องปฏิบัตกิ ารแบบงา่ ย เชน่ Test Kit ทใ่ี ช้ตรวจปัสสาวะ หรอื การตรวจขอ้ มลู ของเม็ดเลือด ค่าเคมีใน เลือด ข้อมูลเหล่านี้ของแต่ละบุคคลจะถูกรวบรวม ประมวลผล และส่งไปยังแพทย์ผู้ดูแล ครอบครัว และบุคคลน้ัน หากมีข้อมูลบางอย่างแสดงถึงความเปล่ียนแปลงในทางที่อาจทาให้เกิดปัญหาสุขภาพ แพทยผ์ ู้เชี่ยวชาญจะทาการหาวิธีแก้ไข เชน่ สง่ ขอ้ มลู การรักษาให้กับห้องปฏบิ ัติการเพ่ือเตรยี มยาหรือ เคร่ืองมือแพทย์ที่ต้องใช้ หรือสั่งยาไปยังระบบคลงั ยากลาง จากนั้นผู้ป่วย หรือบุคคลน้ันสามารถตอบ รับการรักษา และข้อมูลจะส่งไปยังบริษัทขนส่ง (Logistic and Supply Chain) ในการรับยาแล้ว นาส่งให้ผู้ป่วยถึงบ้าน กระบวนการเหล่าน้ีบริษัท Deloitte ซ่ึงเป็นบริษัทผู้นาด้านการวิจัยธุรกิจ อุตสาหกรรมทางการแพทย์ของโลกได้คาดการณ์ว่าในอนาคตอันใกล้ จะเกิด Digital Transformation ทาให้เกิดบริการด้านการดูแลสุขภาพในรูปแบบนี้ข้ึนแน่นอน หากระบบฐานข้อมูล สุขภาพบคุ คลสามารถเช่อื มต่อเขา้ กับเทคโนโลยสี ารสนเทศ และธรุ กจิ ระบบอ่ืนไดส้ มบูรณ์ จากการศึกษาข้อมูล Telemedicine ในต่างประเทศ พบว่าต้นปี พ.ศ. ๒๕๖๓ บริษัท Teladoc ซ่ึงเป็นหนึ่งในผู้ให้บริการ Telemedicine ท่ีมีช่ือเสียง ท่ีมีสานักงานใหญ่อยู่ที่นิวยอร์ค ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ให้ข้อมูลจานวนผู้ใช้งาน Telemedicine ที่เพ่ิมมากขึ้นอย่างต่อเนื่องและ รวดเรว็ เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ ๔๗ ในชว่ งธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ถงึ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๓ นับตั้งแต่เกิด สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Covid - 19 และบริษัท Ping An Good Doctor บริษัทท่ี ใหบ้ ริการให้คาปรึกษารายใหญ่จากประเทศจีนท่ีดาเนนิ ธรุ กิจน้ีในประเทศสหรฐั อเมริกา ได้ให้ข้อมูลไป ในแนวทางเดียวกันว่า ยอดการใช้บริการปรึกษาทางการแพทย์ที่ดาเนินการผ่านระบบ Telemedicine ของบริษัทมีปริมาณเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ ๙๐๐ เม่ือเทียบกับยอดผู้ใช้บริการในช่วงเวลา เดียวกัน และบริษัท Cleveland Clinic ซ่ึงเป็นผู้ให้บริการ Telemedicine โดยโรงพยาบาลในคลีฟ แลนด์ รฐั โอไฮโอ ประเทศสหรัฐอเมริกา รายงานว่ายอดการใช้บริการปรึกษาทางการแพทย์ของบริษัท ในช่วงน้ีมีลูกค้าเข้ารับบริการเกินกว่าศักยภาพที่ระบบบริการของบริษัทที่จะรับได้ ส่งผลให้ระบบล่ม (System Crashes) ซึง่ เกดิ จากผู้คนท่กี ังวลตอ่ การระบาดของเชื้อไวรัส Covid - 19 น่ันเอง

ฏ ในส่วนของบริการด้าน Telemedicine ในประเทศไทยนั้น ไม่ใช่แนวคิดใหม่เพราะในอดีต เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๘ - ๒๕๔๑ รัฐบาลไทยได้พัฒนาระบบเพื่อช่วยเหลือโรงพยาบาลในชนบทท่ีมี บุคลากรทางการแพทย์ที่จากัด อย่างไรก็ตามหลังจากผ่านไประยะหน่ึงโครงการก็ถูกยกเลิกไป และ ในช่วง ๕ ปีที่ผ่านมามีความร่วมมือของภาครัฐหลายภาคส่วนได้ร่วมกันผลักดันบริการ Telemedicine ข้นึ มาอีกครัง้ อาทิ ความร่วมมือระหว่าง กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงสาธารณสุข และ สานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สรอ. ได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความ รว่ มมือ “การดาเนนิ การเพิ่มคุณภาพการบริการด้านสุขภาพผา่ นเทคโนโลยีดิจิทัล” เมื่อเดอื นมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เพ่ือบูรณาการด้านข้อมูลการแพทย์และสุขภาพ เชื่อมเครือข่ายส่ือสารข้อมูลเชื่อมโยง หน่วยงานภาครัฐให้ครอบคลุมโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไป เป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพ Telemedicine ตลอดจนพัฒนาขีดความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ซึ่งจะ เร่งการพฒั นา Telemedicine ครอบคลมุ โรงพยาบาล ๑๑๖ แหง่ ภายใน ๕ ปี ดว้ ยงบประมาณ ๑๐๐ ล้านบาท เช่ือมเครือข่ายสื่อสารข้อมูลครอบคลมุ โรงพยาบาลรัฐท่ัวประเทศ ทาให้สามารถส่ือสารภาพ และเสียงแบบความละเอียดสูง (High Definition) สอดคล้องกับแผนการให้บริการของกระทรวง สาธารณสุข โดยเช่ือมระบบส่งต่อจากโรงพยาบาลชุมชนไปยังโรงพยาบาลท่ัวไป โดยมีแพทย์ รบั ผดิ ชอบทกุ ขั้นตอน ความรว่ มมือระหวา่ งกระทรวงสาธารณสุข และสานักงานคณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ในช่วงเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นความร่วมมือในการพัฒนาและการประยุกต์ใช้งานบริการทางการแพทย์ ผ่านระบบ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในพ้ืนที่ห่างไกล โดยใช้นวัตกรรมและอุปกรณ์ทางการแพทย์ รวมถึง ซอฟท์แวร์ต่าง ๆ และเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามาให้บริการสุขภาพแก่ประชาชนในพ้ืนที่ ห่างไกล ผ่านทางแอปพลิเคชัน (Application) ต่าง ๆ โดยเฉพาะกับผู้ป่วยโรคไม่เร้ือรังที่จะสามารถ ลดการเดินทางไปโรงพยาบาล ลดความแออัดของโรงพยาบาลได้ โครงการได้เร่ิมดาเนินการนาร่อง ใน ๘ จังหวัด ได้แก่ เชียงราย เพชรบูรณ์ กาแพงเพชร กาฬสินธ์ุ กาญจนบุรี สุรินทร์ สงขลา สุราษฎร์ ธานี รวม ๓๔ โรงพยาบาล และความรว่ มมือของ ๓ หน่วยงาน ไดแ้ ก่ กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) กรม ราชทัณฑ์ และ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒ รว่ มมอื เพ่ือพัฒนาระบบบรกิ ารสาธารณสขุ สาหรบั ผตู้ อ้ งขงั ในเรือนจา นอกจากนี้ยังมีความก้าวหน้าของการดาเนินธุรกิจนขี้ องเอกชน และองค์กรไม่แสวงหากาไร ทใี่ ห้บริการ Telemedicine ในประเทศไทยดว้ ย เช่น โรงพยาบาลบารงุ ราษฎรร์ ว่ มกับบรษิ ัท iDoctor จากประเทศสิงคโปร์ เปิดบริการ “Doctor Raksa” ให้บริการให้คาปรึกษาทางการแพทย์กับผู้ป่วย และบุคคลท่วั ไป ท้ังนี้ โรงพยาบาลในเครือโรงพยาบาลกรงุ เทพร่วมกับบริษทั Ping An Good Doctor จากประเทศจีนให้บริการเพื่อรองรับบริการทางการแพทย์คุณภาพสูงแก่คนจีนที่ต้องการเข้ารับรักษา ในสถานพยาบาลคุณภาพสูง รวมถึงโรงพยาบาลสมิตติเวชให้บริการ “Samitivej Virtual Hospital” ท่ีรับให้การปรึกษาด้านสุขภาพและบริการเก่ียวเน่ืองกับสุขภาพ นอกจากน้ียังมีแอปพลิเคชัน

ฐ (Application) ที่ให้บริการรับให้การปรึกษาทางการแพทย์ เช่น“Ring MD” เป็นบริษัทจากสิงคโปร์ ซ่ึงได้รับเงินทุนสนับสนุนจากรัฐบาลสิงคโปร์ดาเนินธุรกิจน้ีในหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทยด้วย และทีม่ ีชอื่ เสียงมาก เชน่ แอปพลิเคชนั “SOS Specialist” ทีด่ าเนนิ การโดยกล่มุ แพทย์ในโรงพยาบาล ศิริราช และแอปพลิเคชัน “เป็ดไทยสู้ภัย”จากกลุ่มสตาร์ทอัพไทย (Startup) ซึ่งเป็นอาสาสมัคร ร่วมกันดาเนินการเพื่อเป็นสื่อกลางในการคัดกรอง Covid - 19 และการให้คาแนะนาด้านสุขภาพท่ี ถูกต้องแก่ประชาชน ซ่ึงแพทย์และบุคลากรทั้งหมดเป็นอาสาสมัครซ่ึงให้บริการโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย นอกจากนี้ยังมีกลุ่มโรงพยาบาล และโรงเรียนแพทย์ที่เป็นสมาชิก Telemedicine Development Center of Asia (TEMDEC) ที่ใช้บริการ Telemedicine ในวัตถุประสงค์ทางด้านการศึกษา เช่น โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รวมถึงโรงเรียนแพทย์ต่าง ๆ ก็มีการใช้ Telemedicine มาอย่าง ยาวนาน ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘ ที่เป็นการดาเนินการแลกเปล่ียนองค์ความรู้ทางการแพทย์ระหว่าง สมาชกิ อย่างไรก็ตาม การที่จะทาให้ประเทศไทยก้าวสู่เป้าหมายการพัฒนาระบบ Telemedicine ให้เข้าถึงประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพเฉกเช่นอารยประเทศน้ัน ส่ิงสาคัญที่จาเป็นท่ีจะต้อง ดาเนนิ การ มีดงั นี้ ข้อเสนอดา้ นการปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบยี บ ทางด้านกฎหมาย กฎระเบียบ ของไทยในปัจจุบัน ระบบการระบุอัตลักษณ์บุคคล (Digital Biometrics) ท้ังของคนไข้และแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ท่ีจะยืนยันได้ว่าบุคคลน้ันคือคนท่ีป่วยและ เปน็ ผู้เข้ารบั การรักษา ไมใ่ ชบ่ ุคคลอืน่ และในดา้ นแพทย์ผู้เช่ยี วชาญ ตอ้ งระบุไดว้ ่าเป็นแพทย์ผู้ที่คนไข้ ต้องการรับการปรึกษาหรือรับการรักษา รวมไปถึงเป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านนั้นจริง เพ่ือรองรับ บริการ Telemedicine ในประเทศ ควรมีกฎระเบียบและการจัดการไว้เป็นการเฉพาะ แม้จะมี ประกาศแพทยสภา ที่ 54/2563. เรื่อง แนวทางปฏิบัติการแพทย์ทางไกลหรือโทรเวช (Telemedicine) และคลินิกออนไลน์ ให้แพทย์เรียนรู้เทคนิค Telemedicine โดยดาเนินการตาม มาตรฐานวิชาชีพ การรักษาการให้การปรึกษาต้องมีการยืนยันตัวตนแพทย์และคนไข้ผ่านระบบ อิเล็กทรอนิกส์ ต้องดาเนินการในสถานพยาบาลตามกฎหมาย ทั้งนี้แพทย์และคนไข้ต้องรับทราบถึง ข้อจากัดของการส่ือสารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสามารถปฏิเสธการรับบริการได้ นอกจากนี้ ประกาศข้างตน้ ยงั บังคับใช้ไดก้ ับแพทย์เทา่ นนั้ ไม่ไดค้ รอบคลุมบุคลากรทางการแพทย์อื่น พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ แพทย์ที่จะทาการตรวจรักษาผู้ป่วยจะต้อง ดาเนินการอยู่ในสถานพยาบาลท่ีได้รับอนุญาตเท่านั้น ซ่ึงหากต้องการส่งเสริมให้มีบริการทาง การแพทย์แบบ Telemedicine อาจต้องเปล่ียนให้มีระบบการรับรองความเช่ียวชาญของแพทย์ และ การระบุตัวตนผ่าระบบการให้บริการผ่านระบบเทคโนโลยีสื่อสาร ทาให้ผู้รับบริการมั่นใจว่าได้รับ บริการจากแพทย์ผู้เช่ียวชาญคนน้ันจริง และจะเป็นการดาเนินการเพ่ือทาให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ สามารถใหค้ าปรึกษา ตรวจรกั ษาหรือทาการตรวจวนิ ิจฉยั ผา่ นทางระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ ณ สถานท่ีใด

ฑ ก็ได้ ท่ีมีความปลอดภัยท้ังตัวบุคคลผู้ทาการรักษา ผู้รับการรักษา รวมถึงความปลอดภยั ข้อมูลสขุ ภาพ ดังกล่าวด้วย น่ันหมายถึง กฎหมายควบคุมที่เก่ียวข้องกับวิชาชีพแพทย์ ทันตกรรม เภสัชกรรม พยาบาลและผดุงครรภ์ ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส์ ก่อนดาเนินกิจกรรมทาง การแพทย์เพื่อระบุตัวตนผู้ประกอบวิชาชีพได้ รวมถึงจาเป็นต้องทาการรักษาในและนอกสถานท่ีท่ี ไดร้ บั อนญุ าต เปน็ ลักษณะใบประกอบวิชาชีพทางการแพทย์มคี วามเป็นความเชย่ี วชาญทางการแพทย์ จะทาให้รัฐสามารถบริหารจัดการได้ท้ังระบบ การวางแผนงบประมาณด้านบุคลากรทางการแพทย์ การพัฒนาศักยภาพในสายงานบุคคลากรให้ตรงกับความขาดแคลน รวมไปถึงการจ่ายคืนค่าใช้จ่าย รกั ษาพยาบาลแก่ผ้ใู หบ้ รกิ ารแทนรฐั ได้ด้วย ประกาศจากคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติว่าด้วยแนวทางการใช้ส่ือสังคมออนไลน์ สาหรับบุคลากรทางการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๙ พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคล พ.ศ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ การ วิจัย และนวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๒ ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการคุ้มครองและจัดการข้อมูล ด้านสุขภาพของบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๑ ทั้งหมดน้ีเป็นการจัดการข้อมูลสุขภาพ (Big Data) ท่ีมีอยู่แล้ว ในประเทศ มีแนวทางปฏิบัติเก่ียวกับการเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพไว้อยู่แล้วหากใช้เพ่ือประโยชน์ สาธารณะและการวิจัย สามารถเปิดเผยได้ ซ่ึงหากต้องปรับแก้ไข อาจต้องคานึงถึงประเด็นการ นาไปใช้ประโยชน์เชิงพานิชย์ท่ีทุกภาคส่วนเข้าถึงและนาไปใช้ได้ การคานึงถึงผลประโยชน์ในส่วนคืน กลบั ให้แกเ่ จ้าของข้อมลู กเ็ ปน็ สง่ิ ที่ตอ้ งคานงึ ถึงด้วย พระราชบัญญัตยิ า พ.ศ. ๒๕๓๕ ด้วยวทิ ยาการทีเ่ ปลี่ยนไปอย่างรวดเรว็ ยาทใี่ ช้จะถูกพัฒนา เป็นไปตามยีนของบุคคลเป็นชีววัตถุที่เจาะจงให้ตรงตามโรคท่ีซ่ึงสอดคล้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เขา้ มามสี ว่ นสาคัญในชวี ติ ประจาวันของประชาชนท่วั ไปแลว้ ทาให้กฎหมายดา้ นนี้ควรตอ้ งปรับเปล่ียน วธิ ีการใหส้ อดรบั กับการใชช้ วี ติ ของประชาชน รวมถงึ สถานการการระบาดของโรคในปจั จบุ นั สง่ ผลทา ให้พฤติกรรมของประชาชนมีการเปลี่ยนแปลงไป ดังน้ันระบบการซื้อยา อุปกรณ์การแพทย์ ตาม แพทย์ส่ัง การส่ังยาในรูปแบบต่าง ๆ รวมถึงระบบการจัดเก็บและการส่งยา อาจต้องมีการทบทวน เนื่องจากปัจจุบันเทคโนโลยี 5G ระบบการขนส่งสินค้า (Supply Chain) มีส่วนในการสนับสนุน บริการสุขภาพผ่านระบบออนไลน์ได้มากขึ้น รวมท้ังมีความสอดคล้องของเทคโนโลยีการการจัดการ คลังสินค้า และระบบการจ่ายยา การส่งยา ควรทาเป็นศูนย์จ่ายยากลางของรัฐ โดยภาคเอกชนอาจ เข้ามาร่วมให้บริการแทนรัฐได้ ซึ่งเทคโนโลยีสามารถตอบสนองต่อระบบการรักษาพยาบาลที่มีการ ระบุเลขท่ีเฉพาะผู้ป่วยแต่ละรายด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ป่วยสามารถสแกน QR Code ใบส่ังยา หลังการรับการรักษาเพ่ือระบุชนิดของยาที่ต้องใช้ โดยให้ผู้บริการขนส่งสินค้าไปรับยามาจากคลังยา กลาง แลว้ นายามาสง่ ที่บ้าน หรืออาจเลอื กการบรกิ ารอน่ื เชน่ Drone รบั ขนส่งสินค้า ทาการสง่ รับยา น้ันมาส่งถึงบ้านของผู้ป่วยในเวลาท่ีรวดเร็ว ซึ่งแพทย์ผู้ทาการรักษาก็สามารถติดตามการรักษาผ่าน ระบบได้อย่างใกล้ชิด จนกว่าผู้ป่วยจะหายและยังติดตามการดูแลสุขภาพผู้ป่วยให้มีสุขภาพดีไม่ เจ็บป่วย ซึ่งจะช่วยลดงบประมาณในการรักษาพยาบาลของประเทศไดอ้ ีกทาง ทั้งยังจะช่วยลดปัญหา

ฒ การจัดการคลังยาของโรงพยาบาล ซ่ึงรัฐบาลสามารถบริหารจดั การได้ท้ังระบบ รวมทั้งการจ่ายคืนค่า ยาและอปุ กรณ์ทางการแพทย์ให้แก่ผใู้ หบ้ ริการแทนรัฐได้อย่างเสมอภาคตรวจสอบได้ท้ังระบบ ลดการ จ่ายยานอกบัญชี การเบิกยาและใช้ยาท่ีเกินความจาเป็น รวมถึงติดตามการรับยาของคนไข้และ ติดตามการรักษาได้อย่างต่อเนื่อง สรุปในประเด็นทางกฎหมาย แม้ประเทศไทยจะมีข้อมูลที่เป็น Big data ด้านสุขภาพอยู่ แล้ว แต่ประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายใด ให้อานาจหน่วยงานใดเข้ามาจัดการรวบรวม จัดเก็บ และ วิเคราะห์ให้เป็นฐานข้อมูลกลางด้านสุขภาพของประเทศ แต่ละหน่วยงานท่ีมีข้อมูลด้านสุขภาพก็ ดาเนินการรวบรวม จัดเก็บ ข้อมูลสุขภาพของผปู้ ่วยทีม่ าใช้บริการในหน่วยงานของตัวเองด้วย ซึ่งการ ใช้ Platform Technology ในการจัดเก็บ และการจัดการก็มีความแตกต่างกัน ซ่ึงจะมีปัญหาการ วิเคราะห์ และนามาใช้ประโยชน์ในภาพรวมของประเทศ แม้ทางด้านเทคนิคในปัจจุบัน เทคโนโลยี สารสนเทศ 5G จะเข้ามาเสริมระบบการบริการสุขภาพได้เร็วและดีข้ึน แต่ด้านการจัดการ Big data ขอ้ มูลด้านสขุ ภาพของคนในประเทศ ยงั ไมม่ ีแนวทางการปฏบิ ัติในตา่ งประเทศ ท่ีรฐั เป็นผจู้ ดั เกบ็ ข้อมูล ด้านสุขภาพของประชาชนในประเทศแต่ผู้เดียว และด้วยรูปแบบการจัดเก็บแบบเดียวกันทั้งประเทศ ซึ่งง่ายต่อการบริหารจัดการและการนามาใช้ประโยชน์ และปรับเปลี่ยนระบบการจา่ ยยาของประเทศ ให้ทนั และใช้ประโยชน์สูงสดุ จากเทคโนโลยี ดังนั้น ประเทศไทยควรมีกฎหมายเฉพาะให้อานาจหน่วยงานใดหน่วยงานหน่ึง แห่งเดียว ของประเทศในการจัดการศูนย์ข้อมูลกลางด้านการแพทย์สขุ ภาพของประเทศไทย เพ่ือเป็นศูนย์กลาง เก็บรวมรวม วิเคราะห์ ส่งชุดข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพของประชาชนแต่ละบุคคลอย่าง เป็นระบบ จึงจะทาให้ระบบบริการด้านน้ีเกิดได้จริงและได้ประโยชน์มากเกินกว่าขอบเขตการบริการ ของ Telemedicine แต่จะช่วยให้คุณภาพชีวิตและรูปแบบการบริการสุขภาพของประเทศไทยจะถูก ยกระดบั ข้ึนไปตามเทคโนโลยีทีท่ ดั เทยี มกบั สากล ข้อสังเกตหรือเสนอแนะดา้ นการพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐาน นอกจากการนาเทคโนโลยี 5G มาใช้ในประเทศไทยแลว้ ส่งิ สาคัญสาหรบั การพัฒนาบริการ Telemedicine สาหรับประเทศไทยคือ การจัดต้ังศูนย์ข้อมูลด้านการแพทย์ของประเทศไทย เพ่ือเป็นศูนย์กลางเก็บรวมรวม จัดเก็บ วิเคราะห์ และส่งชุดข้อมูลสุขภาพของประชาชนแต่ละบุคคล อย่างเป็นระบบท่ีเหมือนกันทั้งประเทศ จะทาให้การเกิดขึ้นของชุดข้อมูลดังกล่าวสามารถนามา วิเคราะห์ ต่อยอดให้เกิดธุรกิจสุขภาพ เกิดนักพัฒนาสารสนเทศรองรับอุตสาหกรรมและผู้ประกอบ ธุรกิจด้านการแพทย์ ทาให้เกิดทางเลือกของบริการทางการแพทย์ใหม่ ๆ ขอ้ สงั เกตหรือเสนอแนะด้านการนา Telemedicine มาประยุกตใ์ ช้ และการวัดผล การนา Telemedicine กับการบริการทางการแพทย์รูปแบบต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ใน ประเทศไทยน้ันควรที่จะมุ่งเน้นให้เกิดผลในมิติท่ีสาคัญที่สามารถวัดผลได้ ซ่ึงจากการศึกษาของ ต่างประเทศบริการ Telemedicine ทาให้เกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ (Economics Impact) โดยการดาเนินการควรมุ่งเน้นการใช้อุปกรณ์เป็นหลัก เปล่ียนมุมมอง

ณ Telemedicine จากการใช้ในรูปแบบ Place 2 Place เป็น Device 2 Device ท่ีง่ายต่อการใช้งาน สามารถอธิบายและใช้งานได้โดยง่าย มีราคาถูก โดยอาจจะพิจารณาต้นทุนต่อหน่วยเทียบเคียง การใช้เทคโนโลยีใหม่กับงานเดิมทเ่ี คยใช้อย่จู ะต้องเกิดการประหยดั ต่อขนาดในการใชง้ าน โดยสรปุ แลว้ หากเกดิ ชดุ ขอ้ มูลด้านสุขภาพของประชาชนท่ีสมบูรณ์ รวมถึงการแก้ไขปัญหา ด้านกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการประยุกต์ใช้ Telemedicine ในประเทศ จะเกิดการนาเทคโนโลยี การสื่อสารมาสนับสนุนส่งเสริมให้ประชาชานมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น สุขภาพของประชาชนดีข้ึน มีการติดตามสุขภาพแบบ Real Time เป็นการดูแลสุขภาพเฉพาะบุคคล จากการบูรณาการการเก็บ ข้อมูลสุขภาพด้วยเครื่องมือติดตามตัวและเคร่ืองใช้ในครัวเรือน ประกอบกับเทคโนโลยีสาระสนเทศ การแพทย์ท่ีเชื่อมต่อข้อมูลสุขภาพ เช่น ค่าความดัน ค่าเคมีในเลือด ข้อมูลจากการตรวจปัสสาวะ ประกอบกับอัตราการเตน้ ของหวั ใจ การวดั การหายใจ ข้อมลู การนอนหลับ ขอ้ มูลเหลา่ น้ีจะถกู ส่งผ่าน ไปยังแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ที่เก่ียวข้อง ที่ดูแลสุขภาพประชาชนคนน้ัน รวมไปถึง ประชาชนในชุมชนนั้น จะทาให้ทราบข้อมูลสุขภาพเชิงลึกของคนในประเทศ ทาให้การวางแผนการ วางโครงสร้างพื้นฐานด้านการแพทย์ตามยีนที่เรียกว่าการแพทย์แม่นยา (Precision Medicine) จะ เป็นโครงสร้างพื้นฐานทีต่ อบสนองการดแู ลรักษาสขุ ภาพประชาชนในระดบั ประเทศ ระดับชมุ ชนจนถึง ระดับบุคคลแบบเจาะจง ซ่ึงข้อมูลสุขภาพที่มีข้อมูลยีนของคนไข้ ยาและการแพ้ยาท่ียีนตอบสนอง และข้อมูลจากเคร่อื งมือติดตามสุขภาพบคุ คลเหล่าน้ัน จะผา่ นการวินิจฉัยจากแพทย์และช่วยออกแบบ การรักษาเฉพาะบุคคล ซ่ึงสามารถวางแผนป้องกันการเกิดโรค การวินิจฉัย การรักษา และภาพ กระบวนการดูแลสุขภาพคนไทยจะเปล่ียนไป เทคโนโลยีจะช่วยให้เปล่ียนจากการรักษาปัจจุบันที่ ตัวชี้วัดที่สาคัญหน่ึงคืออัตราส่วนของแพทย์กับคนไข้ ท่ีเดิมแพทย์หน่ึงคนต่อประชาชนหลายคน จะกลายเป็นประชาชนหนึ่งคนจะสามารถรับการดูแลสุขภาพและการรักษาจากแพทย์ที่เชี่ยวชาญได้ หลายคน กระทรวงสาธารณสุขไทยมีนโยบายและแผนการที่จะพัฒนาระบบสุขภาพดิจิทัล (Digital Health) ซ่ึงจะเห็นว่ามีแนวคิดเร่ืองการบริการสุขภาพกว้างไปกว่าบริการ Telemedicine ไปมาก ก็ สอดคล้องกับทิศทางของการพัฒนาของเทคโนโลยีของประเทศด้วย แผนท่ีจะพัฒนา Nation Healthcare Platform ที่มีการจัดการข้อมูลสุขภาพทั้งระบบนิเวศการบริการสุขภาพ ทร่ี วมไปถึงการ พัฒนากฎหมาย การกากับดูแล ระบบการเงิน ระบบบริการสนับสนุน เช่น Logistic and Supply Chain ของ Healthcare Sector จะไม่จากัดอยู่เพียงเฉพาะในภาครัฐอีกต่อไป และจะไม่มีข้อจากัด แบบแนวคิดของ Telemedicine ที่มุ่งเป้าหมายไปท่ีเรื่องพื้นท่ีห่างไกล สถานท่ีขาดแคลนทรัพยากร และเข้าถึงยากอีกต่อไป ซึ่งตราบท่ีสัญญาณโทรศัพท์ไปถึงและประชาชนจะสามารถเข้าระบบ อินเทอร์เนต็ ได้ การรับบรกิ ารดา้ น Digital Health กส็ ามารถทาได้ ซึ่ง Telemedicine ในอนาคตจะเป็น Service Platform ทางการแพทย์รูปแบบหนึ่ง เท่านัน้ เปน็ ระบบที่บรู ณาการข้อมลู สขุ ภาพมาจาก National Healthcare Platform จะเปล่ยี นแปลง รปู แบบการบริการและกลไกจาก Hospital Base ไปเป็น Professional Base ประกอบกบั การบูรณา

ด การระบบต่าง ๆ เข้าด้วยกันด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เช่นระบบการเงิน ระบบการ เบิกจ่ายยาและเคร่ืองมือแพทย์ท่ีจาเป็น ระบบ Logistic and Supply Chain ระบบการตรวจรักษา และการติดตามการรักษา ซึ่งบูรณาการสอดคล้องให้รัฐบริหารจัดการองค์รวมได้ท่ีเดียว และจะ กลายเป็นกลไกการขับเคล่ือนที่สาคัญสาหรับสุขภาพประชาชน ลดกระบวนการและค่าใช้จ่าย ไม่ ซ้าซอ้ น โปรง่ ใสตรวจสอบได้ รวมไปถงึ การสร้างสงั คมไทยสขุ ภาพดี มีความสุขมากข้นึ ในอนาคต สรปุ สถานะการดาเนนิ งานในปจั จบุ ัน และการพัฒนาระบบ Telemedicine ระยะ ๓ ปี แผนในการดาเนินงานกรอบระยะเวลา ๓ – ๕ ปี สรุปไดว้ า่ ส่งิ ทปี่ ระเทศไทยจะต้องดาเนนิ การในระยะส้นั (ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕) และใน ระยะถดั ไป (ปพี .ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๖๘) ดังรายละเอยี ดตามนี้ สง่ิ ที่ตอ้ งดาเนนิ การเร่งดว่ น ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ๑. มกี ฎหมายใหอ้ านาจในการจัดการ Healthcare Data แห่งเดยี วของประเทศ ๒. จัดตั้งหน่วยงานใหม่/หรือให้อานาจหน่วยงานท่ีมีอยู่แล้ว ให้มีอานาจในการบริหาร จดั การ Healthcare Data ของประเทศ (ตามที่กาหนดใน กฎหมายใหม่นี)้ ๓. ให้อานาจหน่วยงานนี้ ดาเนินการจัดการ Healthcare Data จากทุกภาคส่วนของ ประเทศให้อยู่ใน Platform เดียวกัน เพื่อให้สามารถเพ่ิมมูลค่าข้อมูลเป็น Big Healthcare Information ทจ่ี ะนาไปสร้างประโยชน์ไดอ้ ย่างมหาศาล ๔. ให้อานาจในการปรับระบบบุคลากรทางการแพทย์ท่ีทาการรักษาให้อยู่ในฐานะความ เป็น Professional สว่ นบุคคลได้ ตามมาตรฐานการรักษาระดบั สากล ๕. พฒั นาระบบการสรา้ งความน่าเชอ่ื ถือของผปู้ ว่ ย และผู้ทาการรกั ษา สามารถยืนยนั ตวั ตน ได้ท้ังสองด้าน (e-Certificate) และการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานการนาส่งข้อมูลความละเอียดสูง ทั้งภาพ เสียง และสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงความปลอดภัยของข้อมูลสุขภาพเหล่านั้น รวมถึง e-Claim และ e-Payment ให้สามารถดาเนนิ การสง่ ขอ้ มูลไดท้ กุ ท่ีทุกเวลาท่วั ประเทศ ๖. ส่งเสริมธุรกิจแวดล้อม ที่เก่ียวข้องเพ่ือสร้าง Ecosystem รวมไปถึง Tax Incentive และ Non Tax Incentive ที่จูงใจให้มีประกอบการเข้าสู่ธุรกิจมากขึ้นและนาร่องบริการการแพทย์ ทางไกล (Telemedicine) ให้เชื่อมโยงกับระบบอื่น ๆ เช่นระบบให้การปรึกษาจากผู้เช่ียวชาญเฉพาะ ทาง ระบบการติดตามการรักษา ระบบการจ่ายยาหรือเคร่ืองมือแพทย์และนาส่งยาหรือเครื่องมือ แพทย์ ระบบการจา่ ยคืนเงนิ ให้กบั หน่วยงานท่ีดาเนินการรักษาแทนรัฐ เป็นต้น ๗. พัฒนาบุคลากรรองรับงานด้านน้ีในทุกมิติ ท้ังบุคลากรทางการแพทย์ การส่ือสาร การขนส่งและโลจิสติก บุคลากรการพัฒนาเคร่ืองมือ อุปกรณ์เก็บข้อมูลและเฝ้าติตามสุขภาพส่วน บุคคล เปน็ ตน้ ซึ่งสามารถสรุปส่งิ ทตี่ ้องดาเนินการแต่ละกจิ กรรมในช่วงเวลา ๓ ปี

ต ส่ิงท่ีดาเนนิ การในปี ๒๕๖๖ - ๒๕๖๙ เป็นการคอยตดิ ตามการใช้ระบบ โดยอาจใช้หลกั การ PDCA ; Plan (วางแผน) Do (ปฏบิ ตั ิ) Check (ตรวจสอบ) และ Act (การดาเนนิ การให้เหมาะสม) มาประยกุ ต์ใช้ โดยตอ้ งดาเนินการในส่วน ที่เกี่ยวข้องกบั ๑. ใช้ Healthcare Data Platform Technology เดยี วกนั ท้ังประเทศ ๒. เช่อื มโยงระบบลงสหู่ นว่ ยให้บริการสุขภาพประชาชนในทกุ ระดับ ๓. เริ่ม Implement ระบบการรักษาทางไกลครบวงจรในกลุ่มจงั หวดั นาร่อง ๔. ประเมินคุณภาพ และปรับปรุงแก้ไขขยายจังหวัดที่ดาเนินการใช้ Telemedicine (จนทั่วประเทศในระยะต่อไป)

ถ หน้า สารบญั ก รายนามคณะกรรมาธิการ จ รายนามคณะอนกุ รรมาธิการ รายงาน ช บทสรุปผู้บรหิ าร สารบญั ญ สารบญั ภาพ สารบญั ตาราง ถ บทที่ ๑ บทนา น ๑.๑ ความเปน็ มา ๑.๒ วัตถุประสงค์ บ ๑.๓ วธิ ีการพจิ ารณา/วิธกี ารดาเนินงาน ๑.๔ กรอบและแนวทางการศึกษา ๑ บทท่ี ๒ การทบทวนวรรณกรรม ๑ ๒.๑ ลักษณะเทคโนโลยี ๓ ๒.๒ ผลประโยชนข์ องเทคโนโลยี ๓ ๒.๓ สถานะปจั จุบนั ของประเทศไทย ๔ ๒.๔ ปจั จัยทส่ี ง่ ผลใหเ้ ทคโนโลยปี ระสบความสาเรจ็ ๒.๕ กรณศี กึ ษาในตา่ งประเทศ ๕ ๕ ๒.๕.๑ ประเทศสหรัฐอเมริกา ๑๓ ๒.๕.๒ ประเทศอินเดีย ๑๔ ๒.๕.๓ Telemedicine ในประเทศญปี่ ่นุ ประเทศเกาหลใี ต้ ๔๐ ๔๑ และประเทศสมาชิก TEMDEC ๔๑ บทท่ี ๓ การวเิ คราะหช์ อ่ งวา่ ง (Gap Analysis) ๕๒ บทท่ี ๔ ผลการศึกษา ๕๖ บทท่ี ๕ ข้อสังเกตหรือเสนอแนะทสี่ อดคล้องกบั บริบทของประเทศไทย ๕๘ ๖๙ ๗๔

ท สารบัญ หนา้ บรรณานกุ รม ๘๘ ภาคผนวก ๙๓ ภาคผนวก ก คาสัง่ แตง่ ตั้ง ๙๔ ภาคผนวก ข ภาพกิจกรรม ๙๗ ภาคผนวก ค การใช้ Telemedicine ของโรงพยาบาลต่าง ๆ ในประเทศไทย ๙๙ ภาคผนวก ง กฎหมาย กฎระเบยี บที่เกี่ยวข้อง ๑๐๔ ภาคผนวก จ รายนามเจา้ หนา้ ท่ีประจาคณะกรรมาธิการผูจ้ ัดทา ๓๖๒

ธ สารบัญภาพ ภาพที่ ๑ Telemedicine Concept หน้า ภาพท่ี ๒ การใชง้ าน Telemedicine ของกระทรวงสาธารณสขุ ของไทย ภาพที่ ๓ การประชุมทางไกลระหว่างผู้ป่วยและแพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญ ๖ ภาพท่ี ๔ ระบบ Teleradiology ๘ ภาพที่ ๕ ระบบ Telecardiology ๙ ภาพท่ี ๖ ระบบ Telepathology ๑๐ ภาพท่ี ๗ ระบบผา่ ตดั ทางไกล (Tele – Surgeries) ๑๑ ภาพท่ี ๘ ภาพรวมการบริการทางการแพทย์ Telemedicine System ๑๑ ภาพที่ ๙ รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลดา้ นสขุ ภาพของหน่วยงานในสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข ๑๒ ภาพท่ี ๑๐ ผู้สูงอายุในประเทศไทย ๑๓ ภาพท่ี ๑๑ แอปพลิเคชัน เป็ดไทยสภู้ ัย ๑๗ ภาพท่ี ๑๒ ChiiWii ๒๗ ภาพที่ ๑๓ Samitivej Virtual Hospital ๓๓ ภาพที่ ๑๔ OOCA ๓๔ ภาพที่ ๑๕ RingMD ๓๔ ภาพท่ี ๑๖ See Dr.Now ๓๕ ภาพที่ ๑๗ Optimize Care Analytics ๓๖ ภาพท่ี ๑๘ Ping An Good Doctor ๓๖ ภาพท่ี ๑๙ Doctor Raksa ๓๗ ภาพที่ ๒๐ การกระจายตัวของประชากรสหรัฐอเมริกาตามชว่ งอายุปี พ.ศ.๒๕๖๑ ๓๘ ๓๘ ๔๖

น หนา้ ๔๙ สารบัญภาพ ๕๐ ๕๑ ภาพท่ี ๒๑ MDLIVE ๕๒ ภาพที่ ๒๒ บริการของ Teladoc ๕๕ ภาพที่ ๒๓ บริการของ Lemonaid ๕๗ ภาพที่ ๒๔ Grandrounds ๕๙ ภาพท่ี ๒๕ การกระจายตวั ของประชากรอินเดยี ตามชว่ งอายปุ ี พ.ศ. ๒๕๖๑ ๖๗ ภาพท่ี ๒๖ Telemedicine Development Center of Asia (TEMDEC) ๖๙ ภาพที่ ๒๗ แนวโนม้ มูลคา่ ตลาด และการเติบโต Telemedicine ทั่วโลก ๗๐ ภาพที่ ๒๘ แบบจาลอง CANVAS ๗๕ ภาพที่ ๒๙ แผนแมบ่ ทการพัฒนาระบบสาธารณสุขดว้ ยเทคโนโลยดี ิจติ อล ๗๗ ภาพที่ ๓๐ ความเชอ่ื มโยงของระบบสุขภาพของประเทศไทย และ Telemedicine ๗๘ ภาพท่ี ๓๑ Tele Medicine & Remode Monitoring ๘๐ ภาพท่ี ๓๒ Referral System ๘๐ ภาพที่ ๓๓ Tele Pharmaceutical ๘๒ ภาพท่ี ๓๔ Provider Ecosystem ภาพที่ ๓๕ Healthcare Open Data Platform ภาพที่ ๓๖ สรปุ สถานะการดาเนนิ งานในปัจจุบนั และการพัฒนาระบบ Telemedicine ระยะ ๓ ปี

บ สารบัญตาราง หนา้ ตารางที่ ๑ แบบหลักประกนั สุขภาพในประเทศไทย ๑๗ ตารางที่ ๒ โรงพยาบาลและสถาบันทางการแพทย์ของไทยท่เี ข้ารว่ ม Telemedicine Programs ๒๔ ตารางที่ ๓ ระบบการดแู ลสุขภาพของสหรฐั อเมรกิ า ๔๔ ตารางท่ี ๔ 5 Forces conclusion ๖๑ ตารางที่ ๕ สรปุ กจิ กรรมทตี่ ้องดาเนนิ การเพอ่ื พฒั นา Telemedicine ประเทศไทยปี ๘๓ พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕

บทที่ ๑ บทนา ๑.๑ ความเปน็ มา จากกระแสการเปล่ียนแปลงด้านเทคโนโลยีในสังคมโลกปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว อันเนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซ่ึงจะเห็นได้ว่าประชาชน ในแต่ละประเทศสามารถรับทราบข้อมูลข่าวสารของอีกประเทศหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว ผ่านช่องทาง การสื่อสาร เทคโนโลยแี ละอุปกรณ์ อิเล็กทรอนกิ ส์ ในปจั จุบนั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศถือเปน็ สิ่งสาคัญ สาหรับผู้บริหารท่ีจะใช้ในการกาหนดนโยบาย วางแผนปฏิบัติงาน และเป็นเคร่ืองมือสาคัญท่ี ช่วยให้ผู้บริหารแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว สืบเนื่องจากที่มีการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ และอุตสาหกรรมมากมายในประวัติศาสตร์ มหี ลากหลายตัวอย่างของการประดษิ ฐ์ทีส่ าคัญ เชน่ ต้นกาเนิด ของการประดิษฐ์กระดาษในอียิปต์โบราณ การคิดค้นหลอดไฟไฟฟ้าโดยโทมัส เอดิสัน การคิดค้น เคร่ืองยนต์ไอน้าโดยโทมัส นิวโคเมน การบินคร้ังแรกโดยพี่น้องตระกูลไรท์ และไม่อาจปฏิเสธได้ว่า การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารก็มีการพัฒนาอย่างก้าวกระโดดเช่นเ ดียวกัน การพัฒนาการส่งและการรับข้อมูลผ่านโครงข่ายส่ือสารแบบมีสายและแบบไร้สายได้พัฒนาขึ้น ทาให้การเช่ือมต่อข้อมูลเกิดได้จากทั่วทุกมุมโลกผ่านทางอินเทอร์เน็ต ทาให้มีผลต่อการเปล่ียนวิถีชีวิต ของผู้คนไปโดยส้ินเชิง เม่ือโครงข่ายการส่ือสารโยงใยเชื่อมต่อกันท่ัวโลก ทาให้มนุษย์เข้าถึงการส่ือสาร ได้ในทันทีไม่ว่าจะอยู่ส่วนไหนของโลก ทาใหร้ ูปแบบการใชช้ ีวิตของผู้คนเปล่ียนไป เทคโนโลยีน้เี รม่ิ ขึ้นเม่ือ ปี พ.ศ. ๒๕๑๒ องค์กรทางทหารของสหรัฐอเมริกา ชื่อว่า ยู.เอส.ดีเฟนซ์ ดีพาร์ทเมนท์ (U.S. Defence Department) ได้พัฒนาระบบอินเทอร์เน็ตข้ึน เพื่อให้มีระบบเครือข่ายท่ีไม่มีวันตายแม้จะมีสงคราม ซ่ึงปกติระบบการสื่อสารแบบเดิมจะถูกทาลายหรือตัดขาด แต่ระบบเครือข่ายแบบนี้ยังสามารถทางานได้ โดยใช้วิธกี ารส่งขอ้ มูลในรปู ของคล่ืนไมโครเวฟ ฝ่ายวิจัยขององค์กรนี้ได้จดั ตั้งระบบเน็ตเวริ ค์ ขนึ้ มา เรยี กว่า ARPAnet ย่อมาจากคาว่า Advance Research Project Agency net ซึ่งประสบความสาเร็จและ ได้รับความนิยมในหมู่ของหน่วยงานทหาร องค์กรรัฐบาล และสถาบันการศึกษาต่าง ๆ เป็นอย่างมาก ในสหรัฐอเมริกา หลังจากประสบความสาเร็จก็มีองค์กรภาคมหาวิทยาลัยให้ความสนใจเข้ามาร่วม ในโครงข่ายมากข้ึน โดยเน้นการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) หรือท่ีเรารู้จัก คือ e - Mail ต่อมาก็ได้ขยายการบริการไปถึงการส่งแฟ้มข้อมูล และการส่งข่าวสารความรู้ท่ัวไป แต่ไม่ได้ใช้ ในเชิงพาณิชย์ เน้นการให้บริการด้านวิชาการเป็นหลัก เม่ือได้รับความนิยมมากขึ้น ทาให้บริการน้ี ขยายออกสู่การบริการโดยเอกชน ผู้คนใช้ในชีวิตประจาวัน และเป็นปัจจัยที่ขาดไม่ได้ในการดารงชีวิต ในปัจจุบัน

๒ สาหรับประเทศไทยได้เร่ิมติดต่อสื่อสารด้วยอินเทอร์เน็ตในปี พ.ศ. ๒๕๓๐ ในลักษณะการใช้ บรกิ ารรับและส่งจดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์ หรอื E-mail เปน็ คร้ังแรก โดยเรมิ่ ที่มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย หรือสถาบันเอไอที ภายใต้โครงการความร่วมมือ ระหว่างประเทศไทยและประเทศออสเตรเลีย ซ่ึงเป็นการติดต่อเช่ือมโยงโดยผ่านระบบโครงข่าย สายโทรศัพท์และได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ระบบโครงข่ายส่ือสารมีการพัฒนาเทคโนโลยีจาก 2G GSM (Global System for Mobile) มาส่เู ทคโนโลยี 3G UMTS (Universal Mobile Telecomunications System) และเทคโนโลยี 4G LTE (Long Term Evolution) ซ่ึงเทคโนโลยีเหล่านี้ได้เพิ่มความสามารถ ในการส่งผ่านขอ้ มูลที่มีความละเอยี ดสูง ทั้งยงั เพ่ิมศักยภาพความรวดเรว็ ในการส่งผ่านข้อมูลให้เร็วมากขึ้น จนมาถึงยุคเทคโนโลยี 5G ที่ถูกพัฒนาข้ึนเพื่อตอบสนองต่อความต้องการทางด้านธุรกิจและการดาเนิน ชีวิตของผู้คนในอนาคต ได้มีการพัฒนาเทคโนโลยี Ultra Reliable Low - Latency Communication (URLLC) ให้ความสามารถตอบสนองระหว่างผู้สื่อสารและผู้รับการส่ือสารด้วยความเร็วในระดับต่า กว่าหน่ึงส่วนพันวินาที ซึ่งตอบสนองต่อวิถีการดาเนินชีวิตของผู้คนในปัจจุบัน รวมไปถึงการสนับสนุน อุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่นการเกษตร อุตสาหกรรมการสารวจ การผลิต หรืองานควบคุมในโรงงานอัจฉรยิ ะ (Intelligent Factory) ที่ต้องมีการใช้หุ่นยนต์แบบแขนกล (Robotics Arm) หรืออากาศยานไร้คนขับ (Drone) เชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายและระบบคลาวด์ให้สามารถควบคุมและส่ังการทั้งท่ีมีการดาเนินการ โดยมนุษย์เองหรือใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ นอกจากน้ียังมีการพัฒนาแอปพลิเคชันอ่ืน ๆ ที่มีความต้องการใช้งาน URLLC เพื่อตอบสนอง การทางานที่รวดเร็วข้ึนอีก เช่น การผ่าตัดระยะไกล (Remote Surgery) ที่สามารถนามาปรับใช้ ในบริการทางการแพทย์ที่บุคลากรขาดแคลนในถิ่นธุรกันดาร การใช้เคร่ืองมือส่ือสารที่สามารถช่วยเหลือ ให้แต่แพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางกับบุคลากรทางการแพทย์ในพื้นที่สามารถให้บริการรักษาพยาบาล ผ่านเคร่ืองมือส่ือสารได้ ซึ่งเทคโนโลยีส่ือสารสนับสนุนให้เกิดการบริการทางการแพทย์ท่ีเรียกว่า Telemedicine ขึ้น ซ่งึ สามารถใหบ้ รกิ ารรกั ษาพยาบาลคนไข้ผา่ นระบบการรักษาทางไกลได้ หรอื สามารถ ปรับใช้ในสถานการณ์ฉุกเฉิน ใช้กับสถานการณ์โรคระบาด เช่น Covidc - 19 ที่กาลังระบาดอยู่ในขณะนี้ โดยผู้ป่วยและแพทย์ผู้เช่ียวชาญไม่ต้องเดินทางมารับการรักษาท่ีโรงพยาบาลศูนย์หรือโรงพยาบาล ประจาจังหวัด ทาให้ลดการสัมผัสใกล้ชิด และการแออัดของผู้คนจานวนมากได้ (Social Distancing) ทาใหส้ ามารถชว่ ยลดการแพรร่ ะบาดของเช้ือโรค เปน็ ตน้ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายของ Telemedicine ไว้ที่หน้า ๒๕๗ ระบุว่า Telemedicine เป็นระบบการให้บริการรักษาทางการแพทย์รูปแบบหนึ่ง โดยนาเทคโนโลยี การสื่อสารผ่านระบบอินเทอร์เน็ตมาใช้ โดยผู้ป่วยไม่จาเป็นต้องเดินทางมารักษาที่โรงพยาบาล เพียงเดินทางมาที่สถานพยาบาลใกล้บ้าน ท้ังแพทย์และผู้ป่วยก็สามารถพบปะสนทนาและส่ือสารกัน

๓ โดยผ่านทางจอคอมพิวเตอร์ โดยมีเจ้าหน้าที่สถานพยาบาลเป็นผู้ประสานงานให้เกิดการติดต่อสื่อสารกัน ซง่ึ จะคลา้ ยกับการใชง้ านการรกั ษาผา่ นระบบ Video Conference Telemedicine เป็นเทคโนโลยีท่ีจะช่วยกาหนดอนาคตของอุตสาหกรรมการดูแลสุขภาพ ของผู้คนทั่วโลก โดยเฉพาะเมื่อเกิดเหตุการณ์แพร่ระบาดของเชื้อโรค เช่น Covid - 19 ที่กาลังระบาด ในปัจจุบัน จะช่วยเร่งให้มกี ารใชก้ ารระบบการบรกิ าร Telemedicine มากขนึ้ การใช้เทคโนโลยี Telemedicine นั้นเป็นเพียงส่วนหนึ่งของระบบการักษาพยาบาล ท่ีเกิดจากการพัฒนาระบบสุขภาพดิจิทัล (Digital Health) ซึ่งมีมากว่าแนวคิดเร่ือง Telemedicine ไปมากและสอดคล้องกับทิศทางของการพัฒนาของเทคโนโลยีในปัจจุบนั ซ่ึงในหลายประเทศมีการพัฒนา เป็น Nation Healthcare Platform ท่ีมีการจัดการข้อมูลสุขภาพของประเทศท้ังระบบ รวมไปถึง การพัฒนากฎหมายและการกากับดูแล ระบบบริการ ระบบการเงิน ระบบสนับสนุนกระบวนการ วางแผนการดาเนินการเพ่ือควบคุมประสิทธิภาพการไหลเวียนสินค้า/บริการ และครอบคลุมต้ังแต่ การจัดหาวัตถุดิบ การจัดการคลังสินค้า บริหารต้นทุน การขนส่ง ห่วงโซ่แห่งคุณค่า ไปจนถึงจุดที่มี การใช้งานหรือถึงมือผู้บริโภค (Logistic and Supply Chain) ของอุตสาหกรรมบริการสุขภาพ (Healthcare Sector) ซึ่งจะไม่จากัดเพียงเฉพาะภาครัฐอีกต่อไป ไม่มีข้อจากัดแบบแนวคิด ของ Telemedicine ท่ีม้งุ หวังแคเ่ ร่อื งพ้นื ทหี่ า่ งไกลชายแดน ขาดแคลนทรพั ยากร และเข้าถงึ ยากอกี ต่อไป ตราบท่ีสัญญาณโทรศัพท์ไปถึงจะประชาชนจะสามารถได้รับบริการใช้ข้อมูลสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Health) ได้ ๑.๒ วัตถปุ ระสงค์ ๑.๒.๑ เพอื่ ใช้เปน็ ขอ้ มูลอา้ งอิงให้กบั รฐั สภาในเรอื่ ง การแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ๑.๒.๒ เพ่อื สร้างความตระหนักถึงความสาคัญของเทคโนโลยสี ่ือสารกับการแพทย์ ลดความเล่ือมล้า ยกระดับคณุ ภาพชวี ติ และสรา้ งเศรษฐกจิ ของประเทศ ๑.๒.๓ เพื่อใหป้ ระชาชนเขา้ ใจการแพทยท์ างไกล (Telemedicine) มากขึน้ ๑.๓ วธิ กี ารพจิ ารณา/วธิ ีการดาเนินงาน ๑.๓.๑ วเิ คราะห์เอกสาร (Documentary Analysis) ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับด้านการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ กับการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) กฎหมาย ประกาศ ระเบียบ คาสั่ง ท่ีเก่ียวข้อง โดยศึกษากรณี ที่มีกานดาเนินการที่เก่ียงข้องกับเร่ืองน้ีในประเทศไทย และกรณีศึกษาในต่างประเทศอีก ๒ ประเทศ โดยเปน็ การรวบรวมข้อมูลทตุ ิยภมู ิ (Secondary Data)

๔ ๑.๓.๒ วิเคราะห์ช่องวา่ ง (Gap Analysis) เป็นการนาข้อมูลท่ีได้จากการรวบรว มข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) มาเปรียบเทียบกับสถานะปัจจุบัน (Existing) การแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ในประเทศไทย เปรียบเทียบกับแนวทางหรือกรอบการดาเนินงานในต่างประเทศ แล้วนามาวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) เพ่อื ทราบช่องทางการปิด Gap เหลา่ นัน้ ๑.๔ กรอบแนวทางในการศึกษา ๑.๔.๑ อธิบายลักษณะของเทคโนโลยี และผลประโยชนข์ อง Telemedicine ๑.๔.๒ กรณีศึกษาจากต่างประเทศ (จานวน ๒ ประเทศ โดยเป็นเอเชีย ๑ ประเทศ ยุโรปหรือ อเมรกิ า ๑ ประเทศ) ๑.๔.๓ ศึกษาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ Telemedicine ในประเทศ และต่างประเทศ (Stakeholders) ๑.๔.๔ ขอ้ กฎหมายที่เกยี่ วขอ้ ง/ระเบยี บ หรือกฎเกณฑต์ า่ ง ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องทงั้ ในและต่างประเทศ

บทที่ ๒ การทบทวนวรรณกรรม ๒.๑ ลักษณะเทคโนโลยี นิยามของระบบการแพทยท์ างไกล (Telemedicine System) Telemedicine สาขาการแพทย์ที่มีการขยายตัวอย่างรวดเร็วในช่วงสองสามปีท่ีผ่านมา ด้วยการพัฒนาอย่างรวดเร็วของการส่ือสารโทรคมนาคมและการลดต้นทุนในการบริหารจัดการ ช่วยให้โรงพยาบาลสามารถเชอื่ มต่อกบั ระบบการสือ่ สารความเร็วสงู ทสี่ ง่ ภาพ เสยี ง ได้ดว้ ยความละเอียดสูง จากต่างสถานที่ท้ังภายในประเทศและต่างประเทศ ท่ีสามารถสนับสนุนในด้านการวินิจฉัย การให้คาปรึกษาหรือการศกึ ษาได้ Telemedicine มีวัตถุประสงหลักในหมู่แพทย์ผู้ทาการรักษาและผู้เช่ียวชาญมีการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นและประสบการณ์เกี่ยวกับการรักษาโดยผ่านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีโทรคมนาคม เพื่อให้การเข้าถึงบริการทางการแพทย์ในมาตรฐานเดียวกัน และพัฒนาสู่บริบทของการพัฒนา ระบบบรกิ ารสขุ ภาพในอนาคต อุปกรณ์มาตรฐานในปัจจุบันประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ปกติที่สื่อสารผ่านระบบสื่อสาร สาธารณะ โดยข้อมูลที่ใช้สื่อสารสามารถเป็นข้อมูลที่หลากหลาย เช่น X-Ray, CT, MRI, Ultrasound, ECG, ภาพถ่ายรอยโรคของคนไข้ ภาพถ่ายทางจุลพยาธิวิทยาของเน้ือเยื้อ Cardiogram รวมไปถึง การถ่ายทอดเรียวไทม์ (Real Time) ขณะทาการผ่าตัด ซ่ึงจะช่วยยกระดับการบริการสุขภาพ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และในทางปฏิบัติ กรณีผู้ป่วยนอกและไม่ใช่โรคร้ายแรง หรือฉุกเฉิน ผู้ป่วย ไม่ต้องเดินทางไปโรงพยาบาล สามารถติดต่อกับสถานพยาบาลในพ้ืนที่รับบริการตรวจรักษาทางไกล ได้เช่นเดยี วกัน ทาให้ปัจจุบันในพื้นที่ห่างไกล พ้ืนที่ขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญ หรือเกิดเหตุด่วนเหตุร้าย เช่น อุบัติเหตุ ก็มีหลายโรงพยาบาลได้ริเร่ิมนาระบบน้ีมาใช้บ้างแล้ว เช่นเครือข่ายโรงพยาบาล ในจังหวัดปราจีนบุรี ที่มีการส่งต่อข้อมูลคนไข้จากรถพยาบาลมายังโรงพยาบาล ซึ่งจะมีทีมแพทย์และ พยาบาลในแผนกฉุกเฉิน เตรียมดาเนินการเพ่ือรองรับการรักษาท่ีมีการส่งต่อข้อมูลจากรถพยาบาล หรือการให้ทา Tele - Consultation ของการรักษาของศูนย์หลอดเลือดสมอง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย กับโรงพยาบาลศูนย์ในต่างจังหวัด ซ่ึงโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันเป็นโรคที่ต้อง รักษาแบบเร่งด่วน ทางโรงพยาบาลเครือข่ายในต่างจังหวัดไม่ค่อยมีแพทย์เฉพาะทาง จึงมีการใช้ Telemedicine ทาการ Tele - Consultation ระหว่างการรักษา ทาให้การรักษาทาได้ทันท่วงที เม่ือมีการตรวจร่างกายคนไข้จะทาให้เห็นคนไข้โดยตรง สามารถส่งภาพ X - Ray คอมพิวเตอร์

๖ รูปคลื่นไฟฟ้าหัวใจ มาให้ผู้เช่ียวชาญดูและช่วยแพทย์ผู้ทาการรักษาตัดสินใจทาการรักษาได้ เทคโนโลยี น้ีทาให้การให้บริการรักษาทางการแพทย์และสาธารณสุขเข้าถึงได้ง่ายข้ึน ประหยัดเวลา และมีประสิทธภิ าพมากยิ่งข้ึน ผ้ปู ่วยและแพทย์ไมจ่ าเป็นจะต้องอยู่แตภ่ ายในโรงพยาบาลก็ทาการรักษาได้ การพบแพทย์ผ่านจอคอมพิวเตอร์ โดยคนไข้ได้รับการให้คาปรึกษาจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ในสังคมตะวันตกการรักษาแบบน้ีได้รับความนิยมมากขึ้นเน่ืองจากโครงข่ายการสื่อสาร และระบบ การส่ือสารความเร็วสูงทาใหป้ ระชาชนเข้าระบบได้ทุกที่ทุกเวลา โดยโรงพยาบาลร่วมพัฒนาแอปพลิเคชั้น (Application) ให้คนไขน้ าไปใช้งาน ซงึ่ คนไข้อยู่ที่บ้านและแพทย์เองกอ็ ย่ทู ่โี รงพยาบาล แต่แพทยส์ ามารถ ให้คาแนะนาการรักษากับผู้ป่วยได้ โดยผู้ป่วยใช้กล้องความละเอียดสูงถ่ายรอยโรค หรือใช้เคร่ืองมือวัด ต่างทาให้ทราบข้อมูลสุขภาพ เช่น รายงานผลการตรวจความดัน ระดับน้าตาลในเลือด ผลการตรวจ ปัสสาวะ สามารถสง่ จากผปู้ ว่ ยไปถึงแพทย์ผ้ใู ห้การรักษาไดท้ นั ที ภาพท่ี ๑ : Telemedicine Concept ที่มา : https://sites.google.com/site/telemedicinethailand/ การใช้ระบบ Telemedicine นั้น ได้เริ่มใช้ในประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๑๓ ท้ังนี้ระบบดังกล่าวได้มีพัฒนาการมาพร้อม ๆ กับการพัฒนาระบบส่ือสารโทรคมนาคม Telemedicine นั้นแบง่ เปน็ ๒ ยคุ คือ

๗ ยคุ ที่เรยี กวา่ First Generation Telemedicine (ช่วงตน้ ปี พ.ศ. ๒๕๑๓) ซ่งึ เปน็ ยคุ ทไี่ ม่ประสบ ความสาเร็จเท่าใดนัก เน่ืองจาก Telemedicine มีค่าใช้จ่ายสูงและเทคโนโลยียังไม่มีประสิทธิภาพ เพยี งพอ ยุคท่ีสองเรียกว่า The Second Generation Telemedicine (ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๓๓ เป็นต้นมา) ยุคน้ีถือได้ว่าระบบ Telemedicine ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากต่อการแพทย์การสาธารณสุข และด้านอื่น ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง รูปแบบการให้บริการระบบ Telemedicine ในต่างประเทศนั้น ใช้วิธีการผ่านเครือข่าย สัญญาณความเรว็ สูงเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต รว่ มกับการพฒั นาระบบ Videoconference ท่ีมปี ระสิทธิภาพ สูง ลักษณะของระบบ Telemedicine มีหลากหลายลักษณะการใช้งาน แต่ที่นิยมมากที่สุด คือ Teleradiology รองลงมา คือ Telecardiology และ Teledermatology โดยดาเนินการผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต Telemedicine ระบบวีดีโอคอนเฟอร์เร้นส์ (Videoconference) โดยเร่ิมจากการใช้งาน ของโรพยาบาลประจาเรือนจาในลักษณะท่ีทาการรักษานักโทษในเรือนจา โดยไม่ต้องย้ายผู้ป่วย หรือนักโทษออกนอกเรือนจา นอกจากการใช้งานของ Telemedicine ในด้านการรักษาแล้ว ระบบดังกล่าวยังสามารถใช้งานในด้านการศึกษาทางไกลของแพทย์และเจ้าห น้าที่ทางการแ พทย์ เพ่ือเพ่มิ พูนความรแู้ ละพัฒนาความสามารถของแพทย์และเจ้าหนา้ ที่ทางการแพทยไ์ ดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง สาหรับในประเทศไทยช่วงปลายปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ได้มีการปล่อยดาวเทียมไทยคม ๑ และต่อมา ในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้มีการพัฒนาฐานเชื่อมดาวเทียม ๗ ฐาน โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ศูนย์เทคโนโลยี อเิ ลก็ ทรอนิกส์และคอมพวิ เตอร์แหง่ ชาติ (National Electronics and Computer Technology Center ห รื อ NECTEC) ใ น ปี พ . ศ . ๒ ๕ ๓ ๘ รั ฐ บ า ล ป ร ะ ก า ศ ใ ห้ เ ป็ น ปี แ ห่ ง เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ แห่งประเทศไทย เพื่อให้ประชากรในประเทศตระหนักถึงบทบาทและประโยชน์ที่ได้จากเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม โดยส่วนหน่ึงรัฐบาลมีนโยบายที่จะส่งเสริมการพัฒนา Telemedicine ด้วย๑ Telemedicine Project ในประเทศไทยได้เร่ิมต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ - พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งเป็น โครงการมีระยะเวลา ๔ ปี ภายใต้การดูแลของกระทรวงสาธารณสุข๒ โดยพัฒนาการเช่ือมต่อข้อมูล ระหว่างโรงพยาบาลในกรุงเทพฯ กับโรงพยาบาลในส่วนภูมิภาคและโรงพยาบาลชุมชนรวม ๑๙ แห่ง มีวัตถุประสงค์เพ่ือเผยแพร่วิธีการรักษา การดูแลผู้ป่วย ทั้งยังเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาพ ๑ Kasitipradith, N, 2001, pp. 113-116. ๒ Ibid

๘ และสาธารณสุขแก่ประชากรท่ีอยู่ห่างไกล รวมไปถึงประชากรท่ีอาศัยอยู่ในท้องถิ่นท่ีมีแพทย์หรือ สถานพยาบาลไมเ่ พยี งพอ ซึง่ ลกั ษณะการดาเนนิ งานของโครงการนีแ้ บ่งออกเปน็ ๔ ระบบ ๓ ๑. ระบบประชุมทางไกล (Video Conference) ๒. ระบบการปรกึ ษาแพทย์ทางไกล (Medical Consultation) ๓. ระบบการศึกษาทางไกล (Distance Learning) ๔. ระบบเชื่อมเครือข่ายข้อมลู และโทรศัพท์ ภาพที่ ๒ : การใช้งาน Telemedicine ของกระทรวงสาธารณสุขของไทย ทม่ี า : https://sites.google.com/site/telemedicinethailand/ ในปัจจุบัน Telemedicine ถูกนามาประยุกต์ใช้ในหลายรูปแบบ ซ่ึงสามารถสรุปรูปแบบ การใชไ้ ดด้ งั น้ี ๑) Tele - Consultation ระบบปรึกษาทางไกล (Tele - Consultation) เป็นบริการให้คาปรึกษาทางไกลระหว่าง โรงพยาบาลเฉพาะทาง กับโรงพยาบาลชุมชน (One to One) ซึ่งสามารถใช้งานพร้อมกันได้ เช่น ในขณะที่โรงพยาบาลที่ ๑ ปรึกษากับโรงพยาบาลที่ ๒ น้ัน โรงพยาบาลท่ี ๓ มีคนไข้ฉุกเฉินก็สามารถ ๓ จิตรา ปาลกะวงศ์ ณ อยธุ ยา, ๒๕๔๗.

๙ ขอคาปรึกษากับโรงพยาบาลที่ ๑ ได้ โดยใช้อุปกรณ์ร่วมกับระบบการประชุมทางไกล (Tele-Video Conference) ภาพท่ี ๓ : การประชมุ ทางไกลระหว่างผปู้ ่วยและแพทย์ผเู้ ชยี่ วชาญ ท่มี า : https://sites.google.com/site/telemedicinethailand/home/telemedicine-ni-thang ๒) Tele - Home Cares ระบบให้การดูแลผู้ป่วยท่ีบ้าน (Tele - Home Cares) เป็นการอานวยความสะดวก ให้กับผู้ป่วยให้สามารถเข้าถึงแพทย์ประจาตัวได้ โดยผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ตและอุกปรณ์สื่อสาร ของผู้ป่วย ปัจจุบันระบบนี้ใช้ในการติดตามผู้ป่วยเบาหวานที่ต้องการอินซูลินในประเทศญ่ีปุ่น โดยผู้ป่วย จะเจาะเลือดดูระดับน้าตาลของตัวเองด้วยเคร่ืองตรวจวัดระดับน้าตาลในเลือด (Dextrometer) และรายงานผลไปให้แพทยผ์ ่านทางอนิ เทอรเ์ น็ต แพทยจ์ ะวินิจฉัยและส่ังอนิ ซลู ินใหผ้ ู้ป่วย กาหนดปริมาณ ที่ควรจะฉีดให้กับคนไข้ได้ นอกจากน้ียังประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังท่ีไม่รุนแรง และไม่จาเป็นต้อง นอนโรงพยาบาล ๓) Teleradiology ระบบงานด้านรังสีวินิจฉัย (Teleradiology) เป็นระบบ Telemedicine ท่ีสนับสนุนงาน ด้านรังสีวินิจฉัย การอ่านและวินิจฉัยผลในระยะไกลจากเครื่องเอ็กเรย์คอมพิวเตอร์ (X-ray Computer) เป็นนวัตกรรมท่ีพัฒนาข้ึนเพื่อเพิ่มความสามารถในการให้บริการในด้านการวินิจฉัยสุขภาพอย่างท่ัวถึง ปลอดภยั รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ

๑๐ ภาพท่ี ๔ : ระบบ Teleradiology ทมี่ า : https://www.americanwell.com/teleradiology-as-a-hub-for-telemedicine/ ๔) ระบบ Telecardiology ๔ ระบบงานด้านโรคหัวใจ (Telecardiology) เป็นการส่งผ่านผลการตรวจระบบการรับส่ง คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Eelectrocardiogram หรือ ECG) และการวัดเสียงจากปอด เสียงจากหัวใจ โดยผ่านอุปกรณ์เชื่อมต่อมายังอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทาให้แพทย์ผู้รักษาได้ข้อมูลคนไข้ รวมถึงสามารถฟังเสียงการเต้นของหัวใจ และเสียงการหายใจจากการวัดเสียงของปอดคนไข้ได้ ทาให้การรักษาภายใต้การแนะนาของแพทย์ผู้เช่ียวชาญด้านโรคเก่ียวกับระบบหัวใจและหลอดเลือด หรือแพทย์เฉพาะทางระบบทางเดินหายใจ สามารถทาการรักษาได้ทันท่วงที ลดเวลาและค่าใช้จ่าย ในการนาคนไข้เข้ามารักษาในโรงพยาบาลศูนย์หรือโรงพยาบาลประจาจังหวัด และที่สาคัญมีผู้เช่ียวชาญ ให้การรักษาเช่นเดียวกับการรักษาเฉพาะบุคคลในโรงพยาบาล ซึ่งอาจเป็นการช่วยชีวิตของคนไข้ ไดม้ ากขึ้นอกี ด้วย ๔ Kam Lin Kui, et al., 2020 pp.125 – 142.

๑๑ ภาพที่ ๕ : ระบบ Telecardiology ทม่ี า : http://www.remediumhealthtech.com/Telecardiology-Solution.html ๕) ระบบ Telepathology ระบบงานด้านพยาธิวิทยาและจุลพยาธิวิทยา (Telepathology) เป็นระบบรับส่งภาพ การตรวจรอยโรคในระดับเซลล์จากกล้องจุลทรรศน์ (Microscope) จากการตรวจเนื้อเยื้อรอยโรค ที่เก็บตัวอย่างมาจากผู้ป่วยที่ได้จากการผ่าตัด หรือการเก็บตัวอย่างช้ินเนื้อจากบริเวณที่สงสัยว่า เป็นรอยโรค รวมไปถึงภาพ CT Scan ด้วย ข้อมูลสามารถส่งให้แพทย์ผู้เช่ียวชาญ ร่วมทาการวินิจฉัย เพื่อวางแผนการรกั ษา ภาพที่ ๖ : ระบบ Telepathology ท่มี า : https://telemedicine.arizona.edu/blog/celebrating-๓๐-years-telepathology-s- impactpractice-medicine

๑๒ ๖) ระบบ Tele – Surgeries ระบบผ่าตัดทางไกล (Tele – Surgeries) เนื่องจากมีการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์และ การพัฒนาหุ่นยนต์ทางการแพทย์ การผ่าตัดผ่านกล้อง ซ่ึงแผลผ่าตัดจะมีขนาดเล็ก ใช้เครื่องมือผ่าตัด สอดเข้าไปในจุดท่ีต้องการและควบคุมการผ่าตัดจากข้างนอกร่างกายผู้ป่วยผ่านจอคอมพิวเตอร์ เมื่อแผล มีขนาดเล็กการฟ้ืนตัวของคนไข้ก็จะเร็วกว่าวิธีการเปิดผ่า ในปัจจุบันได้รับความนิยมมากข้ึน ซึ่งการช่วย ผา่ ตดั จะมแี พทยผ์ ู้เช่ยี วชาญทอี่ ยหู่ า่ งไกลออกไป ซงึ่ อาจในประเทศหรอื ให้คาปรกึ ษาจากตา่ งประเทศก็ได้๕ ภาพท่ี ๗ : ระบบผา่ ตดั ทางไกล (Tele – Surgeries) ทีม่ า : https://sites.google.com/site/telemedicinethailand/home/telemedicine-ni-thang ๕ Arata J. et al., 2008 pp. 371-378

๑๓ ภาพที่ ๘ : ภาพรวมการบริการทางการแพทย์ Telemedicine System ทีม่ า : Pijush Kanti, et. al., ค.ศ. 2019 ๒.๒ ผลประโยชนข์ องเทคโนโลยี การนาระบบ Telemedicine มาประยุกต์ใช้ในประเทศไทย จะเป็นการเพิ่มทางเลือก ในการเข้ารบั การตรวจรกั ษาของประชาชน โดยมปี ระโยชน์ต่อผปู้ ่วยและผู้ให้บริการดงั น้ี ประโยชนใ์ นส่วนของผู้ป่วย ๑. ใช้เวลาน้อยลงในการดาเนินการรับบริการ ลดปัญหาการรอคอยพบแพทย์ตามโรงพยาบาล ตา่ ง ๆ ประชาชนมีเวลามากข้ึน สามารถดาเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจอ่ืนได้ ๒. ไม่มีค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางหรอื ลดเวลาในการเดนิ ทาง ๓. ความเปน็ ส่วนตัวสงู รบกวนเดก็ หรอื ผู้สงู อายนุ อ้ ยกว่าวธิ กี ารปกติ ๔. ไม่เกิดการสัมผัสกับผู้ป่วยรายอ่ืนท่ีอาจส่งผลต่อการติดเช้ือระหว่างบุคคล ( Social Distancing) ลดการแพร่ระบาดของโรคติดตอ่ ได้ ๕. ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขของประเทศได้ดีขึ้น ประชาชนมีโอกาสเข้ารับ การวินิจฉัยจากแพทย์ได้มากขึ้น ทาให้มีโอกาสในการสามารถรักษาโรคให้หาย หรือป้องกันการรุกราม ของโรคได้ทันท่วงทีมากขึ้นเนื่องจากในปัจจุบันประเทศไทยมีสัดส่วนแพทย์ต่อประชากรต่ากว่าหลาย ประเทศทั้งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศอื่นในโลก อีกท้ังการขยายโรงพยาบาล เพ่ือรองรับประชาชนเข้าใช้บรกิ ารเป็นไปได้อยา่ งจากัด

๑๔ ประโยชนใ์ นสว่ นผูใ้ ห้บรกิ าร ๑. เพิม่ รายได้ผู้ให้บรกิ ารระบบสือ่ สารจากการเพมิ่ ช่องทางธรุ กิจ ๒. ปรบั ปรุงประสิทธภิ าพการบริการเฉพาะทางของผใู้ หบ้ ริการระบบสือ่ สาร ๓. มีทางเลอื กให้ผ้รู บั บรกิ ารท่ีดีกวา่ จากการแข่งขนั ของโรงพยาบาล หรอื คลนิ กิ ดูแลสขุ ภาพ ๔. การติดตามและการดูแลผ้ปู ว่ ยทดี่ ีขึ้น ๕. ลดจานวนการนดั หมาย และการยกเลกิ ที่ไมไ่ ดร้ ับบริการ ๖. ใหบ้ รกิ ารผปู้ ว่ ยไดม้ ากข้นึ ๗. ส่งเสริมการเรียนรู้ของแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์กับแพทย์ผู้เช่ียวชาญ เป็นการเสริมสร้างทีมบุคลากรทางการแพทย์ให้เช่ียวชาญเฉพาะทางของการดูแลรักษาผู้ป่วย จากการปฏบิ ตั ิจรงิ ๒.๓ สถานะปัจจบุ นั Telemedicine ของประเทศไทย ๒.๓.๑ ระบบบรกิ ารสุขภาพของประเทศไทย เทคโนโลยีการสื่อสารท่ีก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของโลกได้ผลักดันให้มีการพัฒนา ระบบส่ือสารอย่างต่อเนื่องในประเทศไทย ซึ่งเป็นผลดีและมีส่วนช่วยในการให้บริการสาธารณสุข ในประเทศให้ดีข้ึนไปด้วย ปัจจุบันประเทศไทยเป็นประเทศท่ีมีผู้ดาเนินธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ และการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพท่ีมีชื่อเสียงแห่งหน่ึงของโลก จึงมีผู้ใช้บริการสุขภาพจานวนมาก ทั้งในประเทศและมาจากต่างประเทศ ส่วนการจัดเก็บข้อมูลสุขภาพของผู้รับบริการน้ัน โรงพยาบาล หรือสถานที่ให้บริการด้านสุขภาพนั้น ๆ จะดาเนินการจัดเก็บเอง โดยการพัฒนาระบบการจัดเก็บ แยกเฉพาะ ซึ่งท่ีผ่านมาประเทศไทยยังไม่มีมาตรฐานการจัดเก็บข้อมูลสุขภาพกลางของประเทศ และยังไม่มีการเช่ือมโยงข้อมูลข้อมูลสุขภาพดังกล่าว ปัจจุบันได้เริ่มพัฒนาระบบกลางในการจัดเก็บ และการเช่ือมโยงข้อมูลสุขภาพของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะหน่วยงานภายใต้ สังกัด สานักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุขเท่าน้ัน ซ่ึงมีการปรับปรุงตามนโยบายการพัฒนาโครงสร้าง มาตรฐานขอ้ มูลด้านสุขภาพ (๔๓ แฟม้ ) ของกระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสุข ได้เร่ิมการกาหนดแนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพ ให้จัดเก็บเป็นฐานข้อมูลรายบุคคลเร่ิมจากระดับปฏิบัติการ ได้แก่ ฐานข้อมูลระดับโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตาบล ศูนย์สุขภาพชุมชน และฐานข้อมูลระดับโรงพยาบาล ซ่ึงฐานข้อมูลดังกล่าวได้รับ การออกแบบให้มีโครงสร้างที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ทาให้สามารถเชื่อมโยงมาใช้ประโยชน์ร่วมกัน เพ่ือการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ระหว่างหน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุข โดยสถานบริการสุขภาพ ดังกล่าว จะส่งออกข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพตามมาตรฐานโครงสร้างการจัดเก็บระบบ ๔๓ แฟ้ม

๑๕ ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลผู้ป่วยนอก ข้อมูลผู้ป่วยใน และข้อมูลด้านการป้องกัน การส่งเสริม และการฟ้ืนฟู เพื่อให้สอดคล้องกับการนาไปใช้ประโยชน์ร่วมกัน ทั้งสถานบริการสุขภาพระดับตาบล ระดับจังหวัดและ ในส่วนกลาง ให้สามารถเชือ่ มโยงขอ้ มูลมาใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพมากข้ึน ที่มาของการพัฒนามาจาก เดิมกรมการแพทย์รับส่งข้อมูลชุดมาตรฐานระบบ ๑๒ แฟ้ม ตามมาตรฐานท่ีสานักงานหลักประกันสุขภาพกาหนดตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๔ ซ่ึงใช้มาจนถึงปัจจุบัน เม่ือนาข้อมูลมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุขแล้ว พบว่ามีการใช้มาตรฐาน โครงสร้างข้อมูลท่ีต่างกัน แยกตามความจาเป็นในการใช้ข้อมูลแต่ละหน่วยงานและขึ้นกับบริบ ท ของหน่วยงาน ในชุดข้อมูลตามมาตรฐานระบบ ๑๒ แฟ้มน้ัน มีข้อมูลการดูแลผู้ป่วย การรักษา การพยาบาลเฉพาะผู้ที่มารับบริการในสถานพยาบาลเท่าน้ัน ยังขาดข้อมูลอีกหลายส่วน เช่นการเข้ารับ การรักษาจากสถานพยาบาลอ่ืน การเบิกจ่ายยาซ้าซ้อนเกินความจาเป็น เพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบาย การพัฒนาระบบข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขและมีข้อมูลเพียงพอในการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา สุขภาพของประชากรไทย และพัฒนารปู แบบการรักษาพยาบาลให้สอดคล้องกับบริบทของกรมการแพทย์ ในการดูแลปัญหาสุขภาพของประชาชน สานักสารสนเทศการแพทย์ กรมการแพทย์ จึงได้กาหนด แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลบริการของกรมการแพทย์ และการดาเนินการของกระทรวงสาธารณสุข โดยปรับระบบการรบั ส่งข้อมูลโดยอ้างอิงมาตรฐาน โครงสร้างกระทรวงสาธารณสุขระบบ ๔๓ แฟม้ ข้อมูล เพื่อการส่งต่อให้สามารถเชื่อมข้อมูล และเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหนว่ ยงาน สาหรับการดาเนินการ ตามท่ีได้งบประมาณเพ่ือดาเนินการเฉพาะด้านน้ีในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ซึ่งเริ่มต้นจากกาหนดให้ สถานบริการในสังกัดกรมการแพทย์ จัดส่งฐานข้อมูลการให้บริการโครงสร้างแฟ้มมาตรฐาน ท่ีกรมการแพทย์กาหนด เพื่อการใช้ประโยชน์ร่วมกัน ครอบคลุมสถานบริการในสังกัด ตลอดจน ให้ความสาคัญในเรื่องคุณภาพข้อมูล ความถูกต้องข้อมูลตามมาตรฐาน โครงสร้างข้อมูล ความทันเวลา และเป็นไปตามเง่ือนไขท่ีกาหนด กรมการแพทย์ได้จัดทาคู่มือการจัดเก็บและจัดส่งข้อมูล ตามโครงสร้าง แฟ้มมาตรฐานข้อมูลบริการสุขภาพรุ่นดีเอ็มเอสสองจุดศูนย์ (Version DMS 2.0) อ้างอิงมาตรฐาน โครงสร้างแฟ้มข้อมูล ๕๐ แฟ้มรุ่นสองจุดหน่ึง (Version 2.1) มาปรับใช้ให้สอดคล้องกับบริบท การให้บรกิ ารของกรมการแพทยแ์ ละวิเคราะห์แฟ้มที่มีความจาเปน็ สาหรับสถานบริการของกรมการแพทย์ จากนั้นจึงได้ขยายความร่วมมือมายังสานักปลัดกระทรวงสาธารณสุขเพื่อนามาก ารประยุกต์ใช้กับ หนว่ ยงานในสงั กัดกระทรวงสาธารณสุขต่อไป

๑๖ เมื่อพิจารณาระบบการรักษาพยาบาลในประเทศไทย จะเห็นได้ว่าสถานบริการ ทางการแพทย์นั้น ถูกแบ่งตามระดับความซับซ้อนของบริการทางการแพทย์ โดยถูกแบ่งออกเป็น ระดับปฐมภูมิ (Primary Care) ทุติยภูมิ (Secondary Care) และตติยภูมิ (Tertiary Care) ซ่ึงบริการ ทางการแพทย์ระดับปฐมภูมิ ถูกแบ่งเป็นปฐมภูมิระดับต้น เป็นบริการส่งเสริม ฟื้นฟู รักษาเบื้องต้น โดยบุคลากรทางการแพทย์ ท่ีไม่ใช่แพทย์ ท่ีปฏิบัติงานในสถานพยาบาลระดับตาบล และปฐมภูมิระดับ หลัก เป็นบริการส่งเสริม ฟื้นฟู รักษาเบ้ืองต้น ไปจนถึงระดับผู้ป่วยนอก โดยมีแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป แพทยเ์ วชปฏบิ ัตคิ รอบครัว ทนั ตแพทย์ เภสัชกร ให้บริการตรวจรกั ษาที่ปฏิบตั ิงานในสถานพยาบาลชุมชน ส่วนบริการทางการแพทย์ระดับทุติยภูมิถูกแบ่งเป็น ๓ ระดับ เริ่มจากบริการทุติยภูมิระดับต้น บริการตรวจรักษาโรคท่ัวไปถึงระดับผู้ป่วยใน โดยแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป แพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว บริการทุติยภูมิระดับกลาง บริการตรวจรักษาโรคทั่วไปถึงระดับผู้ป่วยใน โดยแพทย์เฉพาะทาง สาขาหลักเช่นวิสัญญีวิทยา อายุรศาสตร์ สูติศาสตร์นรีเวชวิทยา กุมารเวชศาสตร์ เวชศาสตร์ฟื้นฟู รังสีวิทยา ศัลยศาสตร์ เวชศาสตรฉ์ กุ เฉิน นิติเวชศาสตร์ พยาธวิ ทิ ยา ศัลยศาสตรอ์ อร์โทพดี ิกส์ และบรกิ าร ทุติยภูมิระดับสูง บริการตรวจรกั ษาโรคทั่วไปถึงระดับผู้ป่วยใน โดยแพทย์เฉพาะทางสาขารอง เช่น กุมาร เวชศาสตร์ ทารก เด็ก และวัยรุ่น และบริการทางการแพทย์ระดับตติยภูมิ จะให้บริการรักษาโรค โดยแพทย์เฉพาะทางสาขาต่อยอด (Sub-specialty) บริการระดับศูนย์เช่ียวชาญ (Exellence Center) เช่นศูนย์หัวใจ ศูนย์มะเร็ง ศูนย์ปลูกถ่ายอวัยวะ เป็นต้น จากการสารวจโรงพยาบาลในประเทศของสานกั นโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่า ประเทศไทยมีโรงพยาบาลศูนย์จานวน ๒๘ แห่ง โรงพยาบาลทั่วไปจานวน ๘๘ แห่ง โรงพยาบาลชุมชน จานวน ๗๘๐ แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบล จานวน ๙,๗๗๗ แห่ง และโรงพยาบาลเอกชนอีกจานวน ๓๙๒ แห่งที่ให้บริการดูแลรักษา ทางการแพทยใ์ นประเทศท้งั ภาครัฐและเอกชน โดยการรับบริการจะมชี อ่ งทางในการชาระค่าบริการหลาย ช่องทาง ซ่ึงประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่มีการพัฒนาระบบประกันสขุ ภาพ การเบิกจ่าย และสวัสดิการ สาหรับประชาชนเป็นต้นแบบการปฏิบัติในระดับโลก เป็นการจัดการงบประมาณจานวนมากท่ีรัฐบาล ใช้ในระบบบริการสขุ ภาพในประเทศไทย สามารถแบ่งแยกออกได้เป็น ๒ ประเภท คือ สวัสดิการเบิกจา่ ย จากภาครฐั และ การเบกิ จา่ ยจากเอกชน

๑๗ ภาพท่ี ๙ รปู แบบการจดั เกบ็ ข้อมลู ด้านสุขภาพของหนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข ทีม่ า : กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๖๒ ตารางท่ี ๑ : แบบหลกั ประกันสุขภาพในประเทศไทย สวสั ดกิ าร โครงการ บตั รทอง ประกนั สงั คม รักษาพยาบาล ประกนั ข้าราชการ ลกั ษณะ สิทธิของพลเมือง บังคับ สิทธิประโยชน์ สญั ญากบั เอกชน เปา้ หมายผู้รบั ประชาชนไทย ผู้จ่าย ขา้ ราชการและ บุคคลทวั่ ไป ผลประโยชน์ ประกันสังคม ครอบครัว ครอบคลุม ประชากร ๔๘.๒๖ ลา้ นคน ๑๖.๔ ลา้ นคน ๑.๓๓ ล้านคน ๖.๒ ล้านคน พ.ศ. ๒๕๖๒ แหลง่ เงนิ รฐั บาล ลูกจา้ ง นายจา้ ง รฐั บาล ผูซ้ ือ้ ประกัน และรัฐบาล หน่วยงาน สานกั งาน สานกั งาน กรมบัญชกี ลาง บรษิ ทั ประกนั กากบั ดูแล หลกั ประกัน ประกันสงั คม กระทรวงการคลัง สขุ ภาพแห่งชาติ กระทรวง กระทรวง สาธารณสขุ แรงงาน ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๘ หลกั ประกันสุขภาพในประเทศไทย ประเทศไทยได้มีการพัฒนาระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลมาอย่างต่อเนื่องตลอดมา ซึ่งแสดงให้เห็นว่ารัฐบาลให้ความสาคัญในส่วนของสุขภาพของประชาชน และเป็นการสร้างความม่ันคง ให้กับชีวิตของประชาชนคนไทย จึงอาจกล่าวได้ว่า “ไม่มีคนไทยคนใดไม่มีสิทธิด้านสวัสดิการ รกั ษาพยาบาลท่รี ัฐจัดให้” สามารถแบ่งระบบสวสั ดิการรกั ษาพยาบาลหรือหลักประกันสุขภาพออกได้เป็น ๔ ประเภท ดังนี้ ๑. บัตรทอง สวัสดิการนี้ครอบคลุมสาหรับคนไทยทุกคนท่ีมีบัตรประจาตัวประชาชน ท่ีถูกต้อง แผนการดูแลสุขภาพประชาชนน้ีบุคคลจะได้รับมอบหมายในโรงพยาบาลของรัฐที่ประชาชน เหล่าน้ีสามารถไปให้บริการด้านการดูแลสุขภาพได้ ท้ังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล โรงพยาบาล ชุมชน โรงพยาบาลประจาจังหวัด หรือโรงพยาบาลศูนย์ท่ัวประเทศ เว้นแต่กรณีฉุกเฉินจะสามารถ เข้ารับการักษาในโรงพยาบาลเอกชนได้ ซึ่งต้องดาเนินการตามสิทธิการรักษาตามนโยบายรัฐบาล เพอ่ื คุ้มครองผปู้ ่วยฉุกเฉินวกิ ฤติ (Universal Coverage for Emergency Patient หรอื UCEP) ๒. ประกนั สังคม เปน็ โครงการท่ีจัดตั้งขึ้นโดยรฐั บาล มีวตั ถปุ ระสงคท์ ่จี ะสร้างความม่ันคง หรือหลักประกันให้แก่ประชาชน ระบบประกันสังคมเร่ิมดาเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๓๓ โดยมีวิธีการจัดเกบ็ รายได้ส่วนหนงึ่ จากประชาชนท่ีมีรายได้ เงนิ ทเ่ี ก็บนีน้ ามาสมทบรวมกันเป็นกองทุนกลาง นามาใช้จ่ายเป็น ค่าทดแทนให้แก่ประชาชนตามเงื่อนไขที่กาหนดเงินท่ีเรียกเก็บน้ีหากเป็นกรณีเก็บจากผู้ท่ีทางานรับจ้าง ก็ให้นายจ้างจ่ายสมทบเท่ากับท่ีลูกจ้างจ่ายเสมอ และในทุกกรณีรัฐบาลจะจ่ายสมทบด้วยแต่เป็นจานวน เงินน้อยกว่าท่ีนายจ้างจ่ายเสมอ และเป็นจานวนเงินน้อยกว่าที่ลูกจ้างจ่ายเสมอ ซึ่งแต่ละคนต้องเลือก โรงพยาบาลท่ตี อ้ งการเข้ารักษาตวั เมื่อเจ็บปว่ ยไว้ก่อนและโรงพยาบาลเหล่านที้ ั้งรฐั และเอกชนจะได้รับเงิน อุกหนุนดังกล่าวน้ันจากรัฐด้วย และต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลท่ีเลือกไว้เท่านั้น เว้นแต่กรณี ฉุกเฉินจะสามารถเข้ารับการักษาในโรงพยาบาลเอกชนได้ ซ่ึงต้องดาเนินการตามสิทธิการรักษา ตามนโยบายรัฐบาล เพ่ือคุ้มครองผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ (Universal Coverage for Emergency Patient หรือ UCEP) ๓. สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ เป็นสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาลระบบแรก ๆ ท่ีเร่ิมขึ้นในประเทศไทย เป็นระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลสาหรับข้าราชการ โดยมีการประกาศใช้ พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๒๑ ต่อมาได้เปล่ียนเป็นพระราช กฤษฎกี าเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๒๓ และทแ่ี ก้ไขเพ่ิมเตมิ (รวมจานวน ๘ ฉบบั ) และในปัจจุบันระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการอ้างอิงพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การรักษาพยาบาล พ.ศ.๒๕๕๓ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๕ เข้ารักษาพยาบาล ในโรงพยาบาลรัฐที่ได้แจ้งกับกรมบัญชีกลางไว้เพื่อท่ีจะไม่ต้องสารองเงินค่ารักษาพยาบาลไปก่อน

๑๙ หากเข้ารับการักษาจากโรงพยาบาลรัฐแห่งอ่ืนจะต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาลไปก่อนแล้วดาเนินการ ขอเบิกคืนจากกรมบัญชีกลางในภายหลัง เว้นแต่กรณีฉุกเฉินจะสามารถเข้ารับการักษาในโรงพยาบาล เอกชนได้ ซ่ึงต้องดาเนินการตามสิทธิการรักษาตามนโยบายรัฐบาล เพ่ือคุ้มครองผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ (Universal Coverage for Emergency Patient หรอื UCEP) ๔. การซื้อประกันกับเอกชน บุคลทั่วไปท้ังข้าราชการและลูกจ้างเอกชนสามารถ ซื้อประกันตนโดยจ่ายเต็มจานวนของแต่ละบุคคลตามแผนการประกันท่ีเสนอโดยบริษัทประกันได้เอง การได้รับสิทธิการรักษาพยาบาลก็เป็นไปตามแผนการประกนั ดังกล่าว ซึ่งการจะเข้ารับการรักษาพยาบาล บริษัทประกันจะระบุไว้ในเอกสารแนบท้าย หรือเอกสารประกอบการทาสัญญาประกันนน้ั ๆ เว้นแต่กรณี ฉุกเฉินจะสามารถเข้ารับการักษาในโรงพยาบาลเอกชนได้ ซ่ึงต้องดาเนินการตามสิทธิการรักษา ตามนโยบายรัฐบาล เพ่ือคุ้มครองผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ (Universal Coverage for Emergency Patient หรอื UCEP) ๒.๓.๒ การวิเคราะห์ PESTLE Telemedicine ไมใ่ ชแ่ นวคดิ ใหม่สาหรับประเทศไทย ในอดีตในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ - ๒๕๔๔ รัฐบาลไทยได้พฒั นาระบบ Telemedicine เพอื่ ชว่ ยเหลือโรงพยาบาลในชนบททมี่ ีทรัพยากรด้านการดูแล สุขภาพท่ีจากัด อย่างไรก็ตามหลังจากผ่านไประยะหน่ึงโครงการก็ถูกยกเลิกไป เนื่องจากสาเหตุ หลายประการ ประการแรกเกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานด้านการส่ือสาร ความจากัดด้านเครื่องมือ อุปกรณ์ และรวมไปถึงการขาดทักษะด้านการส่ือสารบุคลากรทางการแพทย์ในขณะน้ัน ประการที่สองผู้ป่วย ยังไม่เช่ือมั่นกับการตรวจรักษาผ่านการส่ือสารโดยไม่ได้พบกับแพทย์ท่ีทาการรักษา ประการสุดท้าย งบประมาณในการสนับสนุนและบารุงรักษาโครงการไม่ต่อเนื่องเพราะในช่วงเวลาดังกล่าวเกิดวิกฤต เศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง สืบเน่ืองมาจนถึงปัจจุบัน แนวความคิดด้านบริการ ทางการแพทย์ Telemedicine ถูกกล่าวถึงมากขึ้นเน่ืองจากการพัฒนาของเทคโนโลยีการส่ือสาร การเข้าถงึ ของประชาชน เครอ่ื งมือ อปุ กรณ์และโครงสรา้ งพื้นฐานในการส่ือสารของประเทศมีความพร้อม และครอบคลุมทุกพ้ืนท่ีของประเทศแล้ว จึงทาให้โรงพยาบาลหลายแห่งนาแนวคิดน้ีมาใช้รองรับการบริการ รวมถึงการพัฒนาบริการของเอกชนในการสร้างช่องทางธุรกิจจากความก้าวหน้าด้านระบบสื่อสารมา ใช้ร่วมกับบริการทางการแพทย์ เช่นเคร่ืองมือติดตามตัวเพ่ือตรวจสอบสุขภาพ หรือแอปพลิเคช่ัน ให้คาปรึกษาการดูแลสุขภาพ การลดน้าหนัก เพื่อวิเคราะห์อุตสาหกรรม Telemedicine อย่างสมบูรณ์ ในประเทศไทย การศึกษาน้ีจะใช้แบบจาลอง PESTLE เพื่อประเมินสภาพแวดล้อม Telemedicine ในประเทศไทย ดังนี้ ด้านนโยบายรัฐ (Policy) ด้วยความผันผวนทางเศรษฐกิจโลกทาให้ต้องมีกลไก เพ่ือให้ประเทศสามารถปรับตัวและอยู่รอดได้ในสภาวะการแข่งขันของโลกในปัจจุบัน ดังนั้นรัฐบาล

๒๐ จึงมีนโยบายที่สอดรับกับสถานการณ์ปัจจุบัน เช่น ท่ีรัฐบาลชูนโยบายสาคัญอย่าง Thailand ๔.๐ “ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม” นโยบายน้ีมีเพื่อขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจให้ประเทศไทย มีโอกาสกลายเป็นกลุ่มประเทศท่ีมีรายได้สูงด้วยการทาน้อยแต่ได้มาก ลดการพึ่งพาต่างชาติ ลดความเหล่ือมล้าต่าง ๆ สร้างความสมดุลทางเศรษฐกิจและสังคม โดยอาศัยการเปล่ียนสินค้าโภคภัณฑ์ ไปสู่สินค้านวัตกรรมแทน เพิ่มทักษะอาชีพทางนวัตกรรมมากขึ้นเพ่ือสร้างมูลค่าจากความหลากหลาย เชงิ ชวี ภาพและความหลากหลายเชิงวัฒนธรรมดว้ ยวทิ ยาการ ความคดิ สร้างสรรค์ นวตั กรรม วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา แล้วต่อยอดความได้เปรียบเพื่อให้กลายมาเป็น ความได้เปรียบ ในเชิงแข่งขัน ซ่ึงประกอบไปด้วยอุตสาหกรรมกลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ (Food, Agriculture & Bio-Tech) กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการ แ พ ทย์ (Health, Wellness & Bio-Med) กลุ่มเคร่อื งมืออุปกรณ์อจั ฉริยะ หุ่นยนต์ และระบบเครื่องกลทีใ่ ช้ระบบ อิเลก็ ทรอนิกส์ควบคุม (Smart Devices, Robotics & Mechatronics) กลุ่มดจิ ทิ ลั เทคโนโลยอี ินเทอรเ์ น็ต เชื่อมต่อและอุปกรณ์ต่าง ๆ ปัญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว (Digital, Internet of Thing , Artificial Intelligence & Embedded Technology) และกลุม่ อตุ สาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และ บรกิ ารที่มมี ลู คา่ สูง (Creative, Culture & High Value Services) กลุ่มอุตสาหกรรมสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ ( Health, Wellness&Bio-Med) เป็นหน่ึงในอุตสาหกรรมเป้าหมายของรัฐบาล เพ่ือสนับสนุนให้เกิดอุตสาหกรรม ต่อเนื่อง ร่วมกับอุตสาหกรรมในกลุ่มดิจิทัล เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเช่ือมต่อและอุปกรณ์ต่าง ๆ ปัญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว (Digital, Internet of Thing , Artificial Intelligence & Embedded Technology) ที่พัฒนาอย่างกา้ วกระโดด โดยเฉพาะการพฒั นาดา้ นการส่อื สาร การพฒั นาสู่ เทคโนโลยี 5G จะเป็นส่วนสาคัญให้การส่งผ่านข้อมูลความละเอียดสูงได้ในระยะเวลาอันส้ัน ทเ่ี ป็นสว่ นสาคญั ในการสนบั สนนุ บริการทางการแพทย์แบบ Telemedicine ทาได้งา่ ยขนึ้ กว่าเดิม แม้การดาเนินงานด้าน Telemedicine ในประเทศไทย มีการเร่ิมใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยสถานศึกษาในประเทศได้เข้าร่วมกับ Telemedicine Development Center of Asia (TEMDEC) ซึ่งเป็นศูนย์กลางการติดต่อสื่อสารด้านการแพทย์ทางไกลของเอเชีย ต้ังอยู่ที่ประเทศญ่ีปุ่น โดยโรงพยาบาลศริ ิราช มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล เป็นแห่งแรกท่ีเข้าร่วมโคงงการ ต่อมาโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย และโรงพยาบาลวชิรพยาบาลเข้ารว่ มตามมา นอกจากโรงพยาบาลและสถาบันการแพทย์ แล้ว TEMDEC ยังมีการเช่ือมต่อ Telemedicine กับโรงแรมและศูนย์การประชุมอีก ๕ แห่ง เช่น อมารีวอเตอร์เกท กรุงเทพฯ และศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ด้วย ซึ่งในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๔๘ - ๒๕๖๐ ประเทศไทยมกี ารเชือ่ มตอ่ Telemedicine กบั เครอื ข่าย TEMDEC กวา่ ๑๖๕ ครง้ั ๖ (รายละเอยี ด ตามตารางท่ี ๒) ๖ Shuji Shimizu et al., 2018 pp. 471-475.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook