Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore End of life care

End of life care

Published by Nongnutch Chowsilpa, 2021-01-08 03:25:03

Description: End of life care : การพยาบาลผู้ป่วยใกล้ถึงแก่กรรม

Keywords: end of life care

Search

Read the Text Version

ความหมายของผปู้ ว่ ยระยะสดุ ทา้ ย (END OF LIFE) •ผู้ป่วยท่ีมีอาการของโรคท่ีไม่ตอบสนองต่อการรักษา ไม่มี โอกาสจะพ้นความทุกข์ทรมานและไม่สามารถใช้เวลาท่ี เหลือในชีวิตของตนให้เป็นประโยชน์แก่ตนเองและผู้อ่ืนได้ ทาได้เพียงการดูแลแบบประคับประคอง ในเร่ืองของการ เจ็บปวด และอาการอ่ืน ๆ ท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวญิ ญาณ ผปู้ ว่ ยจะมีอาการทรุดลงไปเร่ือย ๆ และจะเสียชวี ติ ในทสี่ ดุ

PALLIATIVE CARE •การดูแลแบบประคับประคอง เรม่ิ ตัง้ แตร่ ผู้ ลการวนิ ิจฉัยโรค • รูปแบบการดูแลผู้ป่วยท่ีต้องทุกข์ทรมานด้วยโรคที่คุกคามต่อชีวิต โดยมีเปา้ หมายให้ผ้ปู ่วยและครอบครวั สามารถเผชญิ ความเจ็บป่วย ที่มีอยู่ได้และมีคุณภาพชีวิตท่ีดีที่สุดเท่าที่จะทาได้ ประกอบด้วยการ ปอ้ งกันและลดภาวะทกุ ข์ทรมานจากความเจ็บปวด และปัญหาอืน่ ๆ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ (WHO, 2005 อ้างถึงในศรีเวียง ไพโรจน์กุล, 2553) รวมการดูแลครอบครัวและญาติหลังการจากไป ของผู้ปว่ ย (BEREAVEMENT CARE)

HOSPICE CARE •การดแู ลประคับประคองอาการผู้ป่วยในชว่ งสุดทา้ ยของ โรค ทพ่ี ยากรณ์โรคแล้วนา่ จะมีชีวติ อยู่ได้ไม่เกิน 6 เดือน ซึ่งรักษาไม่ได้ เพอื่ ใหผ้ ู้ป่วยมคี วามสขุ สบายทส่ี ดุ เทา่ ที่จะ ทาได้ ม่งุ เนน้ การรักษาคณุ ภาพชีวิตเปน็ หลกั ไม่เรง่ รดั หรือยดื ความตายออกไป (NATIONAL HOSPICE ORGANIZATION,1993)

TERMINAL CARE •การดแู ลผู้ป่วยช่วงใกลเ้ สยี ชีวติ ประมาณ 1 สปั ดาห์ สดุ ทา้ ย หรอื เรยี กชว่ งนว้ี ่า ระยะใกลต้ าย (DYING)

ผู้ปว่ ยทค่ี วรได้รบั การดูแลแบบ PALLIATIVE CARE • มะเร็งระยะสดุ ท้าย (ADVANCE CANCERS) • โรคระยะสุดทา้ ยท่ีการพยากรณ์โรคไม่ดี (ADVANCE DISEASES WITH POOR PROGNOSIS) เช่น โรคหวั ใจลม้ เหลวระยะสดุ ทา้ ย (END STAGE HEART FAILURE) โรคปอดระยะสดุ ท้าย (END STAGE LUNG DISEASE) โรคไตวายระยะสุดท้าย (END STAGE RENAL FAILURE) โรคทางระบบ ประสาทระยะสุดท้าย (END STAGE NEUROLOGICAL DISEASE • สมองเส่ือมระยะสดุ ทา้ ย (SEVERE CORTICAL DEMENTIA) • ตดิ เชื้อเอชไอวี หรือโรคเอดสร์ ะยะสดุ ทา้ ย (ADVANCE HIV/AIDS)

ปฏิกริ ิยาของบุคคลต่อการเจบ็ ป่วยระยะสุดท้าย •ของ KUBLER - ROSS (1969) ระยะท่ี 1 ระยะชอ็ ค/ปฏเิ สธ (Shock & Denial) •ระยะที่ 2 ระยะโกรธ (Anger) •ระยะที่ 3 ระยะต่อรอง (Bargaining) •ระยะท่ี 4 ระยะซมึ เศรา้ (Depression) •ระยะที่ 5 ระยะยอมรบั ความเปน็ จริง (Acceptance)

การดแู ลผ้ปู ่วยระยะสดุ ท้าย •การดูแลดา้ นรา่ งกาย •การดแู ลดา้ นจติ ใจ •การดูแลดา้ นจิตวญิ ญาณ •การดแู ลดา้ นสังคม •การช่วยเหลือญาติ

 การเปลี่ยนแปลง/การดูแลดา้ นร่างกาย •ความเจ็บปวด (PAIN) •ไมร่ สู้ ึกตัว แตผ่ ปู้ ว่ ยอาจจะยังได้ยนิ และรบั รู้ได้ •รอ้ งครวญคราง มหี น้าตาบิดเบีย้ ว: อาจเกดิ จากการเปลย่ี นแปลง ทางสมอง ซ่ึงแพทยส์ ามารถให้ยาระงับอาการเหลา่ นไี้ ด้ •ภาวะเบ่อื อาหารและผอมแหง้ (ANOREXIA AND CACHEXIA) •ง่วงและอาจนอนหลบั ตลอดเวลา

การเปล่ยี นแปลง/การดแู ลด้านร่างกาย •การหายใจลาบาก (BREATHLESSNESS/DYSPNEA) มเี สมหะมาก •ความอ่อนเพลยี และเหน่อื ยล้า (WEAKNESS/FATIGUE) •อาการปากแหง้ (DRY MOUTH) ดื่มน้าน้อยหรอื ไม่ดืม่ เลย •อาการคลื่นไส้ อาเจียน (NAUSEA AND VOMITING) •การขบั ถา่ ยผดิ ปกติ

 การดูแลด้านจติ ใจ • เข้าใจ ยอมรบั นบั ถอื ผู้ป่วย สะทอ้ นใหผ้ ปู้ ว่ ยเหน็ คุณคา่ ในตนเอง • ใหก้ ารช่วยเหลอื อยา่ งใกลช้ ดิ ใหเ้ กิดความอบอุ่นใจ และปลอดภัย • ให้การดูแลผปู้ ่วยดว้ ยความเตม็ ใจ • ปลอบโยนประคับประคองจติ ใจ ให้คลายความวติ กกังวล •ให้คาอธบิ าย ใหข้ อ้ มลู ที่ถกู ตอ้ ง ชัดเจน •ให้เวลาแกผ่ ปู้ ว่ ยมากท่ีสุด อย่ารบี รอ้ นใหก้ ารพยาบาล

 การดูแลดา้ นจิตวิญญาณ •เปดิ โอกาสใหผ้ ปู้ ่วยระบายความรสู้ กึ ค้นหาที่พงึ่ ทางจติ ใจ •ตอบสนองความต้องการโดยการจัดกจิ กรรมทางศาสนาให้ อย่างเหมาะสม เชน่ การมีพระมาเย่ียม เปน็ ตน้ •ผปู้ ว่ ยบางรายอาจต้องการต่อรองหรือทาพิธที างศาสนา พยาบาลควรอนุโลมตามความเหมาะสม

 การดูแลด้านสังคม •ประเมินทัศนคตขิ องผปู้ ่วยและญาติเกยี่ วกับปฏสิ มั พนั ธ์ รวมถึงความ เชือ่ ต่าง ๆ •สนบั สนุน ชว่ ยเหลอื ครอบครวั ใหม้ สี ว่ นร่วมและเข้าใจผปู้ ว่ ยระยะ สุดทา้ ยใหผ้ ่านพ้นระยะตา่ ง ๆ •สนบั สนุนให้ญาตแิ ละครอบครัวได้ช่วยเหลือในการปฏบิ ตั ิกิจวัตร ประจาวนั ในการดูแลผปู้ ่วย •ให้โอกาสผปู้ ว่ ยในการเลอื กที่จะใหพ้ ยาบาลหรือครอบครัวเปน็ ผ้ดู ูแล

 การชว่ ยเหลอื ญาติ • การแจ้งข่าวการตาย ควรบอกสมาชิกในครอบครัวเปน็ กลุ่ม ในสถานท่ที ี่เป็นส่วนตัว • ควรอนญุ าตเพื่อให้ผู้ป่วย ญาติ และครอบครัวไดม้ ีเวลาพดู คุย สมั ผสั กันในระยะ สุดทา้ ยของชวี ติ • อดทนต่ออารมณ์โกรธ การอาฆาตของญาตแิ ละครอบครวั ทม่ี ตี อ่ เจ้าหน้าที่ • เขา้ ใจปฏิกิริยาของญาตแิ ละครอบครวั ที่ตอบสนองตอ่ การตายของผปู้ ว่ ย • ให้ความชว่ ยเหลอื และใหค้ วามรว่ มมอื ตามสมควรในการ ทาพิธที างศาสนา • เป็นผฟู้ ังมากกว่าผูพ้ ดู เปดิ โอกาสให้ระบาย ช่วยค้นหาบคุ คลที่จะเป็นเพ่ือนพดู คุยได้ • ใหค้ าแนะนาญาติในการช่วยบรรเทาความเจบ็ ปวดและความไมส่ ุขสบายของผู้ป่วย

พนิ ยั กรรมชีวิต (LIVING WILL) พรบ. สุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ.2550 มาตรา 12 ไดบ้ ัญญัตวิ า่ •“บุคคลมีสิทธิทาหนงั สือแสดงเจตนาไมป่ ระสงคจ์ ะรับบริการ สาธารณสุขท่ีเป็นไปเพียงเพ่อื ยืดการตายในวาระสุดทา้ ยของชวี ิตตน หรือเพื่อยุตกิ ารทรมานจากการเจบ็ ป่วยได้” •เป็นการใหผ้ ูป้ ว่ ยไดเ้ ขียนแสดงความตอ้ งการวา่ เขาเลือกท่ีจะรับ หรือปฏิเสธ การรกั ษา การผา่ ตดั หรือหัตถการต่าง ๆ โดยสามารถ ให้ PAIN MEDICATIONแม้ว่าจะทาใหช้ ีวิตสั้นลงก็ตาม

อาการแสดงภาวะใกลถ้ ึงแก่กรรม •หวั ใจล้มเหลว: BP P เบาเร็ว ตวั เย็น •ตบั ลม้ เหลว: มีเลือดออก ตาและตวั เหลือง •ปอดล้มเหลว: หายใจเหน่ือย หรือลึก ชา้ •ไตล้มเหลว: ปัสสาวะออกนอ้ ย •สมองล้มเหลว: ซมึ ไม่รูส้ กึ ตัว ม่านตาขยาย

อาการทแี่ สดงว่าถึงแก่กรรม •ไม่มกี ารตอบสนองตอ่ ความเจ็บปวด •ไมม่ ีการเคล่อื นไหวของกล้ามเนอ้ื ทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการหายใจ •ไม่มปี ฏกิ ริ ิยาตอบสนองอัตโนมตั ิ •ไม่มีคล่นื สมองอยา่ งนอ้ ย 10 นาที •ค่าความดันบางส่วนของกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ (PACO2) มากกวา่ หรอื เท่ากบั 60 MMHG หลังให้ออกซเิ จน 100%

หลกั การดูแลศพ 1. ผู้ปว่ ยถึงแก่กรรมด้วยโรคทว่ั ไป 2. ผูป้ ว่ ยถึงแก่กรรมด้วยโรคตดิ ตอ่ 3. ผปู้ ว่ ยถึงแก่กรรมมีคดคี วาม

1. ผู้ปว่ ยถงึ แก่กรรมด้วยโรคทว่ั ไป 1.1 ดแู ลขณะท่ียังอยู่ในหอผ้ปู ว่ ย โดยเก็บอุปกรณ์ที่ใชก้ ับผู้ปว่ ยทาความสะอาด 1.2 เขียนบันทกึ สภาพอาการ เวลาเสยี ชวี ติ ลงทะเบียน เตรยี มจาหน่ายถงึ แก่กรรม 1.3 เขียนใบสง่ ศพ 1.4 ตรวจสอบปา้ ยติดขอ้ มือ 1.5 แจง้ หอ้ งศพ 1.6 ทาความสะอาดและแต่งตวั ใหศ้ พ เปล่ยี นเสอ้ื ผ้า จดั ศพนอนหงาย ปดิ ตา ปิดปาก 1.7 หลังจากเสยี ชีวิตประมาณ 2 ช่วั โมง จงึ เคลอื่ นศพไปยงั ห้องเก็บศพ

2. ผู้ปว่ ยถงึ แก่กรรมด้วยโรคตดิ ต่อ 2.1 เก็บของใชแ้ ยกลงถงุ ของท่ที ้ิงใหท้ งิ้ ลงในถุงขยะติดเช้อื 2.2 เขยี นบันทกึ สภาพอาการ เวลาเสยี ชวี ิต ลงทะเบยี น เตรยี มจาหน่ายถงึ แก่กรรม 2.3 เขียนใบสง่ ศพ 2.4 ตรวจสอบป้ายตดิ ข้อมอื เขยี นในปา้ ยข้อมือเป็นสญั ลักษณว์ ่าเปน็ โรคติดตอ่ 2.5 แจ้งห้องศพ และหนว่ ยงานทเี่ กีย่ วข้องทราบว่ามผี ้ปู ว่ ยถึงแก่กรรมดว้ ยโรคติดตอ่ 2.6 ทาความสะอาดและแต่งตัวใหศ้ พโดยใช้หลักการปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเชอื้ โรค 2.7 หลังจากเสียชีวติ ประมาณ 2 ชั่วโมง จึงเคลือ่ นศพไปยงั หอ้ งเกบ็ ศพ

3. ผปู้ ว่ ยถึงแกก่ รรมมคี ดคี วาม 3.1การดแู ลอปุ กรณ์เชน่ เดียวกบั ผปู้ ว่ ยถึงแก่กรรมทัว่ ไป 3.2 เขียนบนั ทกึ สภาพอาการ เวลาเสยี ชวี ติ ลงทะเบียน เตรยี มจาหนา่ ยถงึ แก่กรรม 3.3 เขยี นใบสง่ ศพ 3.4 ตรวจสอบป้ายติดข้อมอื 3.5 แจง้ ความท่ีท้องทโี่ รงพยาบาลต้งั อยู่ หรือแจง้ เจ้าหนา้ ทเี่ จา้ ของคดีทอ้ งทเี่ กดิ เหตุ 3.6 แจง้ ห้องศพ 3.6 หากเจา้ พนักงานไดม้ าตรวจสอบแลว้ อนญุ าตให้แตง่ ตัวศพ จึงแตง่ ตวั ใหศ้ พได้ 3.7 เคลือ่ นย้ายศพไปยงั ห้องเกบ็ ศพ

การตกแตง่ ศพ •การดแู ลร่างผู้ปว่ ยถึงแก่กรรม โดยการ ทาความ สะอาดรา่ งกายและเปลี่ยนเสื้อผา้ ให้สะอาด เรียบรอ้ ย ถ้ามที อ่ ต่าง ๆ เชน่ สายให้สารน้าทางหลอดเลอื ดดา หรือเคร่ืองมอื อื่น ใหป้ ลดออก ถ้ามบี าดแผลใหท้ าแผล ให้เรียบร้อย หลังทาความสะอาดเสรจ็ ใช้สาลอี ุดตามรู เปิดตา่ ง ๆ ของร่างกาย

การดูแลภายหลงั ผู้ปว่ ยถึงแกก่ รรม • การปฏบิ ตั ิต่อศพ ควรกระทาเชน่ เดยี วกบั ผ้ตู ายยงั มชี วี ิตอยู่ ใหม้ องดูคลา้ ย ขณะทมี่ ีชวี ิตมากทสี่ ดุ เหมอื นสภาพคนที่กาลงั นอนหลบั สนทิ การห่มผา้ คลมุ ศพ ไมค่ วรคลุมใบหนา้ หรอื ศรี ษะ แต่ควรคลมุ แคอ่ ก

การดูแลภายหลงั ผูป้ ่วยถึงแก่กรรม ให้คาแนะนาสาหรับญาตเิ มอ่ื ผู้ปว่ ยถงึ แกก่ รรมที่โรงพยาบาล • การเกบ็ หรอื ตรวจศพผูป้ ่วยทถี่ งึ แกก่ รรม • การจัดเตรยี มเอกสารเพอ่ื ขอใบมรณะบัตร จากนายทะเบยี นเขต/อาเภอ ท่ี โรงพยาบาลตั้งอยู่ เพอ่ื ใหญ้ าตินาไปแสดงกบั ทางวัด และแจง้ ตอ่ นาย ทะเบยี นทอ้ งถิน่ ทผี่ ตู้ ายอาศยั อยู่ • การติดต่อขอรบั ศพออกจากโรงพยาบาล ญาตจิ ะตอ้ งแสดงใบมรณะบตั รท่ี ไดร้ ับจากเขต/อาเภอ ใหก้ บั เจา้ หนา้ ทห่ี อ้ งศพกอ่ น ยกเว้นผูป้ ว่ ยทถี่ งึ แก่ กรรมเปน็ อสิ ลามิกชน ขอให้นาใบรบั รองจากจฬุ าราชมนตรี มาแสดงกับ ผอู้ านวยการ หรือผแู้ ทนผูอ้ านวยการโรงพยาบาล

จบการนาเสนอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook