Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

4

Published by ชวลิต ฤทธ์กลาง, 2021-11-24 09:01:03

Description: 4

Search

Read the Text Version

หลักฐานอ้างองิ การประเมนิ การเตรียมความพร้อมและพั ฒนาอย่างเขม้ ตําแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย แผนการจัดการเรยี นรู้ วิทยาลัยการอาชพี หนองหาน

แผนการสอน บูรณาการหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมงุ เนน สมรรถนะอาชีพ ชอื่ วิชา วดั ละเอียด รหสั 20100 - 0004 หลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พุทธศักราช 2562 ประเภทวชิ าชางอตุ สาหกรรม สาขาวิชาชางกลโรงงาน จัดทำโดย นายชวลิต ฤทธก์ิ ลาง แผนกวิชาชา งกลโรงงาน วทิ ยาลัยการอาชพี หนองหาน สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

ก คำนำ แผนการจัดการเรียนรูวิชาวัดละเอียด รหัสวิชา 20102-0004 เลมน้ีผูจัดทำไดจัดทำขึ้นเพ่ือพัฒนา ผูเรียน ใหมีความรู มีทักษะ มีกิจนิสัยท่ีดี แผนการจัดการเรียนรูวิชาวัดละเอียด รหัสวิชา 20102-0004 จัดทำเปนหนวยทั้งหมด 9 หนวย ซ่ึงมีจุดประสงคใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจ และทักษะในการใช การ บำรงุ รกั ษา เครอ่ื งมอื วดั และตรวจสอบชนิดตา งๆ กับชิน้ สว นเครื่องกลแตละแบบในงานอตุ สาหกรรมการผลิตซึ่ง ตรงตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ในแตละหนวยจะมีกระบวนการจัดการเรยี นการ สอนท้ังทฤษฎีและปฏิบัติรวมอยูในแตละครั้งของการเรียน อีกท้ังมีการบูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมุงเนนสมรรถนะอาชีพ ลงไปในหนวยการเรียน เพ่ือใหผูเรียนมีความตระหนักและนำไปใชในการ ดำรงชวี ิตตอไป ผจู ัดทำขอขอบพระคณุ ทา นผูอำนวยการวิทยาลัยการอาชีพหนองหานและรองผูอำนวยการทงั้ 4 ทาน ท่ีไดกรุณาใหคำแนะนำ สนับสนุนและใหกำลังใจในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรูเลมน้ี หากทานใดมี ขอเสนอแนะเพิ่มเติมใด ๆ ผูจัดทำยินดีรับฟงดวยความขอบคุณย่ิง เพื่อที่จะไดนำไปปรับปรุงใหมีความ สมบรู ณม ากย่งิ ข้ึนตอไป ผูจัดทำหวังเปนอยางยิ่งวาแผนการสอนเลมน้ี จะเปนประโยชนตอการจัดการเรียนการสอนในระดับ ปวช. ชางกลโรงงานและเปนจุดเรม่ิ ตนในการพัฒนาแผนการสอนเลม นี้ตอไปในอนาคต (นายชวลติ ฤทธิ์กลาง) ตำแหนง ครผู ชู ว ย วิทยาลยั การอาชีพหนองหาน

ข สารบัญ เรอื่ ง หนา คำนำ ก สารบญั ข ลักษณะรายวิชา 1 กำหนดการสอน 2 ตารางวเิ คราะหหลกั สูตร 3 หนว ยที่ 1 เรื่อง ความรเู บื้องตนเกย่ี วกับการวัดละเอยี ด 4 คร้ังท่ี 1 เร่อื ง ความรูเ บื้องตนเก่ียวกบั การวัดละเอยี ด หัวขอเรอื่ ง 4 สาระสำคัญ 4 จดุ ประสงคก ารเรียนรู 5 สาระการเรยี นรู 5 กจิ กรรมการเรยี นรู 6 สื่อการเรยี นรู 7 การวัดผลประเมินผล 7 บนั ทึกหลังสอน 8 หนว ยที่ 2 เรื่องเครอ่ื งมือวดั ทีม่ ขี ดี มาตรา 9 ครง้ั ท่ี 2-3 เร่ือง บรรทดั เหล็ก หวั ขอเรือ่ ง 9 สาระสำคญั 9 จดุ ประสงคก ารเรียนรู 10 สาระการเรยี นรู 10 กิจกรรมการเรยี นรู 11 สอื่ การเรียนรู 11 การวัดผลประเมนิ ผล 12 บันทึกหลังสอน 13

ค 14 หนว ยที่ 3 เรือ่ ง เครื่องมือวัดแบบถายขนาด 14 คร้ังที่ 4-5 เร่อื ง คาลิปเปอร และเกจสปริงวัดรใู น 14 หวั ขอเรื่อง 14 สาระสำคญั 15 จดุ ประสงคการเรียนรู 15 สาระการเรยี นรู 16 กจิ กรรมการเรียนรู 26 สื่อการเรียนรู 17 การวดั ผลประเมนิ ผล บนั ทกึ หลังสอน 18 หนว ยท่ี 4 เร่อื ง เคร่อื งมือวัดที่มีขดี มาตรา 18 คร้ังที่ 6-7 เรอื่ ง เวอรเนียรค าลปิ เปอร 18 หวั ขอ เรอื่ ง 19 สาระสำคญั 19 จุดประสงคการเรียนรู 20 สาระการเรยี นรู 20 กจิ กรรมการเรยี นรู 21 สอ่ื การเรียนรู 22 การวัดผลประเมินผล บนั ทกึ หลงั สอน 23 หนว ยท่ี 4 เรือ่ ง เครื่องมอื วดั ทีม่ ขี ดี มาตรา 23 ครัง้ ท่ี 8-9 เรอ่ื ง ไมโครมเิ ตอรค าลปิ เปอร 23 หัวขอเรือ่ ง 24 สาระสำคัญ 24 จุดประสงคก ารเรยี นรู 24 สาระการเรยี นรู 25 กจิ กรรมการเรยี นรู 26 ส่ือการเรยี นรู 27 การวดั ผลประเมนิ ผล บันทกึ หลงั สอน

ง 28 หนว ยท่ี 5 เร่อื ง เคร่อื งมือวัดมมุ 28 ครง้ั ที่ 10 เรอ่ื ง ฉากเคร่ืองกลและใบวัดมมุ 28 หัวขอเรือ่ ง 28 สาระสำคญั 29 จุดประสงคการเรียนรู 29 สาระการเรยี นรู 29 กจิ กรรมการเรยี นรู 30 สื่อการเรียนรู 31 การวัดผลประเมินผล บนั ทึกหลงั สอน 32 หนวยที่ 5 เรอ่ื ง เคร่ืองมือวดั มมุ 32 ครงั้ ที่ 11 เร่ือง บรรทดั วดั มุมสากลและหลอดแกว ระดบั นำ้ 32 หวั ขอ เรือ่ ง 32 สาระสำคัญ 33 จดุ ประสงคก ารเรียนรู 33 สาระการเรยี นรู 34 กจิ กรรมการเรียนรู 34 สื่อการเรียนรู 35 การวัดผลประเมินผล บันทึกหลงั สอน 36 หนวยท่ี 6 เร่อื ง เคร่อื งมอื วัดและตรวจสอบความหยาบผิว 36 คร้ังท่ี 12-13 เร่อื ง แผนเทยี บผิวและบรรทดั ตรวจสอบความเรยี บผิว 36 หัวขอ เรอื่ ง 36 สาระสำคญั 37 จุดประสงคการเรียนรู 37 สาระการเรยี นรู 38 กจิ กรรมการเรียนรู 38 สอ่ื การเรียนรู 39 การวดั ผลประเมนิ ผล บนั ทึกหลังสอน

จ 40 หนวยท่ี 7 เรอื่ ง เครอื่ งมอื วัดและตรวจสอบแบบคา คงที่ 40 ครั้งที่ 14 เร่ือง เกจทรงกระบอก เกจกามปู เกจสอบรศั มี 40 หวั ขอ เรอื่ ง 40 สาระสำคัญ 41 จดุ ประสงคก ารเรยี นรู 41 สาระการเรยี นรู 42 กจิ กรรมการเรยี นรู 42 สื่อการเรียนรู 43 การวัดผลประเมนิ ผล บันทึกหลังสอน 44 หนวยท่ี 7 เรื่อง เครอ่ื งมอื วัดและตรวจสอบคาคงที่ 44 คร้ังที่ 15 เรือ่ ง เกจบล็อค 44 หวั ขอ เรือ่ ง 44 สาระสำคัญ 44 จุดประสงคการเรยี นรู 45 สาระการเรยี นรู 45 กจิ กรรมการเรียนรู 45 สือ่ การเรยี นรู 46 การวดั ผลประเมินผล บันทกึ หลังสอน 48 หนว ยที่ 7 เรอ่ื ง เครือ่ งมือวดั และตรวจสอบคา คงท่ี 48 ครัง้ ที่ 16 เร่อื ง เกจรูเรียว เกจเพลาเรยี ว เกจแผน 48 หวั ขอเร่อื ง 48 สาระสำคญั 49 จดุ ประสงคการเรยี นรู 49 สาระการเรยี นรู 50 กิจกรรมการเรยี นรู 50 ส่ือการเรยี นรู 51 การวดั ผลประเมินผล บนั ทึกหลังสอน

ฉ 52 หนว ยที่ 8 เร่อื ง เคร่อื งมือวัดตรวจสอบเกลียว 52 คร้งั ที่ 17 เรือ่ ง หววี ดั เกลียว แทง ตรวจสอบเกลียว แหวนตรวจสอบเกลียว 52 หวั ขอ เรอ่ื ง 53 สาระสำคัญ 53 จุดประสงคก ารเรียนรู 53 สาระการเรยี นรู 54 กิจกรรมการเรียนรู 54 ส่อื การเรียนรู 55 การวัดผลประเมนิ ผล บันทึกหลังสอน 56 หนวยที่ 9 เร่ือง เคร่ืองมือวัดขนาดดว ยการเปรยี บเทยี บ 56 ครงั้ ท่ี 18 เรอื่ ง นากิ าวดั นากิ าวดั หนา 56 หัวขอ เร่อื ง 56 สาระสำคัญ 57 จุดประสงคก ารเรียนรู 57 สาระการเรยี นรู 57 กจิ กรรมการเรียนรู 58 สื่อการเรยี นรู 59 การวดั ผลประเมนิ ผล บนั ทึกหลังสอน 60 60 การวดั ผล เอกสารอา งองิ คนควา เพม่ิ เตมิ

1 ลกั ษณะรายวิชา รหสั 20102-0004 เวลาเรยี นตอ ภาค 54 ช่ัวโมง ช่อื วิชา วัดละเอียด หนวยกิต (ชวั่ โมง) 2 (3 ) จุดประสงครายวชิ า 1. เพ่ือใหมีความเขาใจหลักการทำงานของเคร่ืองมอื วดั และเคร่ืองมือตรวจสอบชนดิ ประเภทหนา ท่ี 2. เพอื่ ใหส ามารถปฏิบตั ิงานดานเครื่องมอื วดั และเคร่ืองมือตรวจสอบ 3. เพอ่ื ใหส ามารถสอบเทยี บจัดเกบ็ และการบำรุงรักษาเคร่ืองมือวดั 4. เพือ่ ใหม ีกจิ นสิ ยั ในการทำงานท่มี รี ะเบยี บแบบแผน มีความรบั ผดิ ชอบตอตนเองและสวนรวม สมรรถนะรายวิชา 1. เขาใจหลกั การใชแ ละบำรงุ รกั ษาเคร่ืองมือวัด เครื่องมือตรวจสอบประเภทมีขีดมาตราและไมมีขีด มาตรา 2. เลอื กใชเครื่องมือวดั และตรวจสอบชนิ้ งานเหมาะสมกบั ลักษณะงาน 3. ปรับเทียบไมโครมเิ ตอรโ ดยเกจบล็อก และปรบั ตงั้ ชน้ิ สวนของเครอ่ื งมอื วัดตรวจสอบอยา งงาย 4. เก็บบำรงุ รกั ษาเคร่ืองมือวัดทกุ ประเภท คำอธิบายรายวชิ า ศึกษาเก่ียวกับชนิด หนาท่ี การใชและการบำรุงรักษาเครื่องมือวัดละเอียดท้ังแบบมีขีดมาตราและ ไมม ีขดี มาตรา รวมถงึ วิธกี ารสอบเทยี บเครื่องมือวัดตามขอ กำหนดในมาตรฐาน ปฏิบัติเก่ียวกับการใชง านเคร่ืองมือวัด และเคร่อื งมือตรวจสอบชนดิ ตา งๆ บรรทัดเหล็ก เวอรเนียร คาลิปเปอร ไมโครมิเตอร วงเวียนถายขนาด ใบวัดมุม บรรทัดวัดมุมยูนิเวอรแซล ฉากชางกล ฉากผสม นาิกาวัด คอมพาเรเตอร เกจบล็อก เกจทรงกระบอก เกจกามปู งานตรวจสอบเกลียว งานตรวจสอบ เรยี ว งานตรวจสอบรศั มี หววี ัดเกลียว เทเลสโคปก เกจ ระดับน้ำชา งกล การจัดเก็บและการบำรุงรกั ษา

2 สปั ดาหท ่ี ชว่ั โมงที่ 1-2 1-6 กำหนดการสอน 3-4 6-12 4-6 13-19 หนว ยท่ี ชอ่ื หนว ย/รายการสอน 7-11 20-33 1 ความรเู บื้องตนเก่ยี วกบั การวดั ละเอียด 12-13 34-39 2 เครื่องมอื วดั ทีม่ ีขดี มาตรา 14-15 40-45 3 เครือ่ งมือวดั แบบถายขนาด 16 46-48 4 เคร่อื งมอื วัดแบบเล่อื นไดที่มขี ดี มาตรา 17 49-51 5 เครื่องมอื วดั มุม 18 52-54 6 เครอ่ื งมอื วดั และตรวจสอบความหยาบผิว 7 เครื่องมือวัดตรวจสอบคาคงท่ี 8 เครื่องมือวดั ตรวจสอบเกลยี ว 9 เครือ่ งมอื วัดขนาดดวยการเปรียบเทยี บ

3 ตารางวิเคราะห์หลกั สูตร รหัส 20100-0004 วชิ า วดั ละเอยี ด หน่วยกติ 2 (3 ) ช�ัน ปวช. สาขาวชิ า ช่างกลโรงงาน ประเภทวชิ า ช่างอตุ สาหกรรม พฤตกิ รรม พทุ ธิพสิ ัย ความ ู้ร (10) ช�ือหน่วย ความเ ้ขาใจ(10) ํนาไปใ ้ช(10) วิเคราะ ์ห(10) ัสงเคราะ ์ห(10) ประเมิน ่คา(10) ัทกษะพิ ัสย (10) ิจตพิ ัสย(10) รวม ลําดับความ ํสาคัญ ํจานวนคาบ 1 ความรู้เบ�ืองตน้ เกี�ยวกบั งานวดั ละเอียด 6 6 6 6 0 0 5 6 35 5 3 2 เคร�ืองมือวดั ที�มีขีดมาตรา 7 7 9 6 0 0 10 10 49 2 6 3 เครื�องมือวดั ถ่ายขนาด 6 6 9 6 0 0 10 8 45 3 6 4 เครื�องมือวดั แบบเล�ือนไดท้ �ีมีขีดมาตรา 10 10 10 9 0 0 10 10 59 1 12 5 เคร�ืองมือวดั มุม 6 6 7 6 0 0 5 6 36 4 6 6 เคร�ืองมือวดั และตรวจสอบความหยาบผวิ 6 6 7 6 0 0 5 6 36 6 6 7 เคร�ืองมือวดั และตรวจสอบค่าคงที� 6 6 7 6 0 0 5 6 36 6 6 8 เครื�องมือวดั และตรวจสอบเกลียว 6 6 7 6 0 0 5 6 36 6 6 9 เคร�ืองมือวดั ขนาดดว้ ยการเปรียบเทียบ 6 6 7 6 0 0 5 6 36 6 3 รวม 59 59 69 57 0 0 60 64 368

แผนการสอน สอนครงั้ ท่ี 1 เวลา 3 ช่ัวโมง รหสั 20102-2004 ชื่อวชิ า วัดละเอียด 2 หนว ยกติ (3 ชม. /สัปดาห) เวลา 3 ชั่วโมง หนว ยที่ 1 ชื่อหนว ย ความรเู บือ้ งตนเก่ียวกบั การวดั ละเอยี ด ชอื่ เรอื่ ง ความรูเบื้องตน เกยี่ วกับการวดั ละเอียด หวั ขอ เรือ่ ง 1. ประวตั คิ วามเปนมาของเคร่อื งมอื วดั 2. ประวัตกิ ารกำหนดขนาดมาตรฐานความยาว 3. มาตรฐานหนวยวัดความยาว 4. เครื่องมือวัดในงานชางอตุ สาหกรรม 5. คาผดิ พลาดท่ีเกิดขน้ึ ในการวดั 6. ขอ ปฏบิ ตั ใิ นงานวดั ละเอียด สมรรถนะประจำหนวยการเรียนรู มีความรูความเขา ใจเกย่ี วกบั การวดั ละเอียดเบื้องตน สาระสำคัญ 1. การวัดมีมาตั้งแตกอนคริสตกาล 4,000 ป ในสมัยอียิปตโบราณและสมัยกรีกโบราณโดยมี การวัดมวล ความยาว และเวลา 2. มาตรฐานหนวยวัดความยาวที่ใชในงานวัดละเอียดมี 2 ระบบคือ ระบบเมตริก และระบบ องั กฤษ 3. เคร่อื งมือวดั ในงานชางอตุ สาหกรรมแบง ออกเปน 4 ประเภท คอื 3.1 เครือ่ งมือวัดที่มขี ีดมาตรา 3.2 เคร่ืองมือวัดแบบเลือ่ นไดท ี่มีขีดมาตรา 3.3 เคร่อื งมือวัดแบบถายขนาด 3.4 เครื่องมือวดั แบบคาคงที่หรือเกจตา งๆ 4. คาผิดพลาดท่ีเกิดข้ึนในการวัดเกิดข้ึนไดจากหลายสาเหตุ เชน เกิดข้นึ จากตำแหนงแนวเล็ง ไมถกู ตอ ง เกดิ จากความสะเพรา ในการวดั คา ผิดพลาดเหลานจ้ี ะลดนอยลงถา ปฏบิ ัตติ ามขอ ปฏิบัติในงานวัดละเอียด และความรูเปนเหตุผลในการเลือกใชเครื่องมือทำงานไดและเกิด ภมู ิคุมกนั โดยทีช่ ิน้ สว นและอุปกรณไ มม กี ารชำรดุ เสยี หาย

5 จุดประสงคการเรียนรู จุดประสงคท ว่ั ไป 1. เพื่อใหผูเ รยี นมีความรูความเขา ใจเกย่ี วกับการวดั ละเอยี ดเบื้องตน 2. มมี นษุ ยสัมพันธ มวี ินยั มคี วามรบั ผิดชอบ 3. ประยกุ ตใ ชหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งดานความมเี หตุผลในการเลอื กใชเ ครื่องมือวดั ละเอยี ด จุดประสงคเ ชงิ พฤตกิ รรม 1. บอกประวตั คิ วามเปนมาของการวดั ได 2. บอกมาตรฐานหนว ยวัดความยาวในระบบตางๆไดถ กู ตอง 3. บอกประเภทของเคร่ืองมือวดั ที่ใชใ นงานอุตสาหกรรมได 4. บอกคา ผิดพลาดทเี่ กิดขึ้นในการวดั ได 5. เลือกใชเครอ่ื งวัดละเอยี ดไดเหมาะสมกับงานทว่ี ดั สาระการเรียนรู 1. ประวตั คิ วามเปนมาของการวัด 2. ประวดั การกำหนดขนาดมาตรฐานความยาว 3. มาตรฐานความยาว 3.1 มาตรฐานหนวยวัดความยาวในระบบเมตรกิ 3.2 มาตรฐานหนวยวดั ความยาวในระบบอังกฤษ 3.3 มาตรฐานหนว ยวัด SI Units 4. เคร่อื งมือวัดในงานชา งอุตสาหกรรม 5. คา ผิดพลาดทเี่ กิดข้นึ ในการวัด 6. ขอ ปฏิบตั ิในงานวัดละเอยี ด

6 กิจกรรมการเรยี นรู 1. ครูนำเขาสูบทเรียนโดยถามนักเรียนวา ในชีวิตประจำวันมนุษยเก่ียวของกับการวัดอะไรบาง ทำไมจงึ ตอ งมีการวัด 2. ใหน ักเรียนตอบความคิดเหน็ ของนกั เรยี นวา การวดั นนั้ มมี าตง้ั แตเ มือ่ ใด เปนรายบคุ คล 3. อธิบายประวัติความเปนมาของการวัด และยกตัวอยางกิจการในจงั หวัดนครราชสีมาที่มีการใช การวดั ความยาว 4. ใหนักเรียนออกมาเขียนหนวยวัดความยาวที่ใชแตละกิจการ และสรุปหนวยวัดความยาวจาก นักเรียนยกมา 5. ครูอธิบายประวัติการกำหนดขนาดมาตรฐานความยาว และอธิบายมาตรฐานหนวยวัดความ ยาว 6. ใหนกั เรียนจำแนกวาหนวยวัดทีย่ กตวั อยา งมาเปนมาตรฐานหนว ยวัดความยาวในระบบใด โดย ใหน ักเรียนท่นี ่งั โตะ เดียวกัน ( 3 คน) ชวยกนั และสง ตวั แทนออกมาเขียนบนกระดาน 7. ใหน กั เรียนทุกคนชวยกันพจิ ารณาและตัดสนิ คำตอบทีเ่ ขยี นบนกระดานวา ถูกตอ งหรือไม 8. ครชู ้ีแนะและอธบิ ายใหน กั เรยี นไดรถู ึงคำตอบทถี่ ูกตอง 9. ครูสรปุ มาตรฐานหนวยวัดความยาว 10. ครูอธิบายเคร่ืองมือวัดในงานชางอุตสาหกรรม และใหนักเรียนท่ีนั่งโตะเดียวกัน ( 6 คน) ชวยกันแยกเคร่ืองมือที่นักเรียนไดบอกไวแลว วาเปนเครื่องมือประเภทใดและสงตัวแทน ออกมาเขยี นบนกระดาน 11. ครูอธบิ ายพรอ มท้ังยกตวั อยางเครื่องมือวัดประเภทตา งๆ 12. ใหนักเรียนทุกคนชวยกันพิจารณาและตัดสินการแยกเครื่องมือท่ีแตละกลุมออกมาเขียนบน กระดานวา ถูกหรือไม 13. ครสู รปุ ประเภทของเครอ่ื งมือวัด 14. ใหนักเรียนกลุมเดิมท่ีนั่งโตะเดียวกัน ( 6 คน) ชวยกันแสดงความคิดเห็นกับคาผิดพลาดท่ี เกิดขึ้นในการวัดวาเกิดข้ึนไดอยางไรและมีวิธีการปองกันและปฏิบัติอยางไร จึงจะใหคา ผดิ พลาดเกิดข้ึนนอยลงหรือไมเกิดเลย และใหนักเรียนแตล ะกลมุ สงตวั แทนออกมาเสนอความ คิดเห็นหนา ชั้นเรียน 15. ครูอธิบายคา ผิดพลาดทีเ่ กดิ ขึน้ ในการวัดจากการนำเสนอของนักเรียน และอธบิ ายขอปฏิบตั ิใน งานวัดละเอยี ด 16. ใหนักเรียนชว ยกันสรุป - ประวตั กิ ารกำหนดขนาดมาตรฐานความยาว

7 - มาตรฐานหนว ยวดั ความยาวในระบบเมตรกิ - มาตรฐานหนว ยวดั ความยาวในระบบองั กฤษ - มาตรฐานหนว ยวดั SI UNIT - เครือ่ งมือวัดในงานชางอุตสาหกรรม - คาผดิ พลาดทเ่ี กิดข้ึนในการวัด - ขอปฏิบัติในงานวัดละเอยี ด 17. ใหนกั เรยี นทำแบบฝก ปฏบิ ตั ิบทท่ี 1 โดยใชเวลา 20 นาที สื่อการเรียนรู 1. สื่อสิ่งพิมพ 1. หนงั สือการวัดละเอยี ด 2. หนังสือแบบฝก ปฏิบตั ิ การวัดละเอียด 2. สอื่ โสตทศั น 2.1. คอมพิวเตอรหรอื เครอ่ื งเลน VCD 2.2. เคร่อื งฉาย LCD โปรเจคเตอรพรอมจอรบั ภาพหรือทวี ี 2.3. แผน ใส 3. ของจริง เครอ่ื งมือวดั และเครอ่ื งมอื ตรวจสอบชนิดตางๆ การวัดผลประเมนิ ผล การประเมนิ ผล 1. สังเกตพฤตกิ รรม 2. ซกั ถามเปน รายบคุ คล 3. ตรวจแบบฝก หัดเรอื่ งความรเู บือ้ งตนเกีย่ วกบั การวดั ละเอียด จำนวน 16 ขอ 4. ทดสอบหลงั จบบทเรียน

8 บันทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรู 1. ขอสรุปหลังการจดั การเรยี นรู ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 2. ปญหาทีพ่ บ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 3. แนวทางแกป ญ หา ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................

9 แผนการสอน สอนคร้งั ที่ 2-3 รหสั 20102-2004 ชื่อวชิ า วดั ละเอียด 2 หนว ยกิต (3 ชม. /สัปดาห) เวลา 6 ชั่วโมง หนวยที่ 2 ชื่อหนวย เครอ่ื งมอื วดั ท่ีมีขีดมาตรา เวลา 6 ชั่วโมง ชอื่ เรอื่ ง บรรทัดเหล็ก หวั ขอ เร่ือง 2.1 บรรทดั เหล็ก - ลกั ษณะโครงสรางของบรรทดั เหลก็ - บรรทดั เหล็กชนิดตางๆ - ขดี มาตราบนบรรทัดเหล็ก - การอา นขนาดชิ้นงานจากสเกลบนบรรทัดเหลก็ - ขอควรทราบเก่ียวกับขีดสเกลบนบรรทดั เหลก็ - ขอ ผดิ พลาดทเี่ กิดขึน้ ในการใชบรรทัดเหลก็ สมรรถนะประจำหนว ยการเรยี นรู ใชง านบรรทัดเหล็ก ในการวดั ชิ้นงาน สาระสำคัญ 1. บรรทัดเหล็กเปนเคร่ืองมอื ท่มี ขี ดี มาตราทนี่ ิยมใชในงานเครื่องมือกล สามารถอานคา จากขีด สเกลไดงา ย สะดวกรวดเร็ว 2. บรรทัดเหล็กมีลักษณะและความยาวแตกตา งกันไปตามความเหมาะสมกบั ลกั ษณะของการ ใชง าน เชน บรรทัดสนั้ บรรทดั ตะขอ ฯลฯ 3. ขีดมาตราบนบรรทัดเหล็กมี 2 ระบบ คือ ระบบเมตริก และระบบองั กฤษ 4. การอา นคาขีดมาตราบนบรรทดั เหล็กมี 3 แบบ คอื - แบบเศษสวนนว้ิ - แบบทศนยิ มนวิ้ - แบบมิลลิเมตร

10 จุดประสงคก ารเรยี นรู จุดประสงคทัว่ ไป 1. เพ่ือใหผเู รยี นมีความรูความเขา ใจลกั ษณะและมที ักษะในการใชบรรทดั เหลก็ 2. มีมนุษยสมั พันธ มีวนิ ัย มีความรบั ผิดชอบ จดุ ประสงคเชิงพฤตกิ รรม 1. บอกลกั ษณะโครงสรา งของบรรทัดเหล็กได 2. อา นขีดมาตราบนบรรทดั เหลก็ ได 3. บอกสาเหตุทที่ ำใหเกิดคาผดิ พลาดในการใชบ รรทัดเหล็กได 4. นำบรรทดั เหลก็ ไปใชว ัดชิ้นงานได 5. ปฏบิ ัตงิ านดวยความต้งั ใจ ใหค วามรวมมอื กบั เพอื่ น สาระการเรียนรู 2.1 บรรทดั เหล็ก 2.1.1 ลกั ษณะโครงสรางของบรรทดั เหลก็ 2.1.2 บรรทดั เหลก็ ชนิดตา งๆ - บรรทดั เหล็กสน้ั - บรรทัดตะขอ - บรรทัดยอ - บรรทดั วัดความลึก - บรรทดั เล่อื น - บรรทดั ปลายริบบน้ิ - บรรทัดผอม - บรรทัดมุม 2.1.3 ขีดมาตราบนบรรทดั เหล็ก - ขีดมาตราระบบเมตริก - ขีดมาตราระบบอังกฤษ 2.1.4 การอานขนาดชนิ้ งานจากสเกลบนบรรทดั เหล็ก 2.1.5 ขอควรทราบเก่ียวกบั ขีดสเกลบนบรรทัดเหลก็ 2.1.6 ขอ ผดิ พลาดท่ีเกิดขน้ึ ในการใชบรรทดั เหลก็ วัดชน้ิ งาน

11 กจิ กรรมการเรียนรู 1. ครูนำตัวอยางชิ้นงานจำนวน 2-3 ช้ินใหนักเรียนดู และตั้งคำถามวา ควรใชเ ครื่องมือวดั ชนิดใด ในการวัดชิ้นงานแตละชน้ิ 2. ใหนกั เรียนบอกเหตผุ ลของการใชง านบรรทดั เหลก็ วดั ความยาวของชิ้นงาน 3. ครูอธิบายโครงสรางของบรรทัดเหล็ก และบรรทัดเหล็กชนิดตางๆ โดยใชแผนใสและตัวอยาง บรรทัดเหลก็ ของจริง 4. ใหนกั เรยี นเขยี นขีดมาตราระบบเมตรกิ และระบบองั กฤษบนกระดาน 5. ครูสาธติ การอา นขดี มาตราบนบรรทัดเหลก็ จากแผน ใส 6. ใหนักเรยี นบอกขอ ผิดพลาดที่เกิดข้ึนในการใชบรรทดั เหล็กวดั ชิ้นงาน 7. ครูอธิบายขอ ผดิ พลาดทเี่ กิดจากการใชบ รรทดั เหลก็ วัดชนิ้ งาน 8. ครูอธบิ ายขอควรระวงั และการดูแลรกั ษาบรรทดั เหลก็ 9. ใหน ักเรยี นแบง กลุมออกเปน 8 กลมุ ฝก การใชบ รรทดั เหลก็ วดั ชิน้ งานสำเรจ็ 10. ใหนกั เรียนทำแบบฝกปฏิบตั บิ ทท่ี 2 11. ใหน ักเรียนชว ยกนั สรปุ การอา นคา ขีดมาตราบนบรรทัดเหล็ก ส่อื การเรียนรู 1. สือ่ สิง่ พิมพ อำพนั เมธนาวนิ . การวดั ละเอยี ด. นครราชสมี า : วทิ ยาลยั เทคนคิ นครราชสีมา, 2541 1. หนงั สือแบบฝกปฏิบตั ิ การวดั ละเอียด 2. สือ่ โสตทัศน 2.1. คอมพิวเตอรหรือเครอื่ งเลน VCD 2.2. เครอ่ื งฉาย LCD โปรเจคเตอรพ รอ มจอรับภาพหรือทวี ี 2.3. แผน ใส 3. ของจริง - บรรทดั เหล็ก - บรรทดั เหล็กสน้ั - บรรทดั ตะขอ - บรรทดั ยอ - บรรทัดวดั ความลึก - บรรทดั เล่ือน - บรรทัดปลายริบบน้ิ

12 - บรรทดั ผอม - บรรทดั มุม การวัดผลประเมินผล การประเมนิ ผล 1. สังเกตพฤตกิ รรม 2. อานคา ความละเอียดจากแบบฝกปฏบิ ัตไิ ดถกู ตอง 50 % ขึ้นไป 3. ประเมนิ จากผลการฝก ใชบรรทัดเหล็กวดั ช้นิ งาน 4. ทำแบบทดสอบถูกตอง 50 % ขน้ึ ไป 5. ตรวจแบบฝกหดั เร่อื งความรูเบ้อื งตน เกยี่ วกบั การวัดละเอียด จำนวน 11 ขอ 6. ทดสอบหลังจบบทเรียน

13 บนั ทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู 1. ขอสรปุ หลังการจดั การเรยี นรู ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 2. ปญหาท่ีพบ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 3. แนวทางแกปญหา ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................

14 แผนการสอน สอนคร้งั ที่ 4-5 รหัส 20102-2004 ชื่อวชิ า วดั ละเอียด 2 หนว ยกิต (3 ชม. /สัปดาห) เวลา 6 ช่ัวโมง หนวยท่ี 3 ช่ือหนวย เครือ่ งมอื วดั แบบถา ยขนาด เวลา 6 ช่ัวโมง ชื่อเรอื่ ง คาลปิ เปอรหรือวงเวียนถา ยขนาด และเกจสปริงวดั รใู น หัวขอ เรอ่ื ง 3.1 คาลปิ เปอรห รอื วงเวยี นถา ยขนาด - ลักษณะโครงสรางของคาลปิ เปอร และเกจสปรงิ วดั รใู น - การใชค าลปิ เปอร และเกจสปรงิ วดั รูในวัดงาน - แนวแกนวัดชิน้ งานของคาลิปเปอร และเกจสปริงวดั รใู น - วิธวี ดั ดว ยคาลิปเปอรว ัดนอก และเกจสปรงิ วัดรูใน - วธิ ีวัดดวยคาลิปเปอรวัดใน และเกจสปรงิ วดั รูใน - คาลิปเปอรช นิดพเิ ศษ - สมรรถนะประจำหนว ยการเรียนรู ใชงานคาลปิ เปอรห รือวงเวยี นถายขนาด และเกจสปรงิ วัดรูใน ในการวดั ชน้ิ งาน สาระสำคญั คาลิปเปอรมีไวสำหรับถายขนาดจากชิ้นงานไปสูเครื่องมือวัด หรือถายขนาดจากเครื่องมือวัดสู ชิ้นงานและใชเปนเกจคงท่ีสำหรับตรวจสอบขนาดความโตของชิ้นงาน แยกประเภทการใชงานได 2 ประเภท คือ คาลปิ เปอรว ัดนอก และคาลิปเปอรวัดใน และเกจสปรงิ วดั รใู น จดุ ประสงคการเรียนรู จดุ ประสงคท ว่ั ไป 1. มีความรูความเขาใจลักษณะโครงสรางของคาลิปเปอร เกจสปริงวัดรูในและการใชคาลิป เปอรวดั งาน 2. มีมนษุ ยสมั พนั ธ มวี นิ ัยและมคี วามรับผดิ ชอบ จดุ ประสงคเชงิ พฤติกรรม 1. แยกประเภทการใชง านของคาลิปเปอรแ ละเกจสปริงวัดรูในได 2. นำคาลิปเปอร และเกจสปริงวดั รใู นไปใชง านไดอยา งถูกตอ ง 3. แตง กายถูกระเบยี บ เขา เรยี นตรงตอเวลา

15 สาระการเรยี นรู 3.1 คาลปิ เปอรห รือวงเวียนถา ยขนาด 3.1.1 ลกั ษณะโครงสรางของคาลปิ เปอร 3.1.2 การใชคาลิปเปอรวัดงาน 3.1.3 แนวแกนวดั ชนิ้ งานของคาลปิ เปอร 3.1.4 วิธวี ดั ดว ยคาลปิ เปอรวัดนอก 3.1.5 วิธวี ดั ดวยคาลปิ เปอรว ดั ใน 3.1.6 คาลิปเปอรช นดิ พเิ ศษ 3.2 เกจสปรงิ วดั รูใน 3.2.1 เกจสปรงิ วดั รูในขนาดเลก็ 3.2.2 เกจสปรงิ วดั รูในขนาดใหญ กจิ กรรมการเรยี นรู 1. ครกู ลาวนำวา ในการเรยี นการสอนครง้ั ท่ีแลว นักเรยี นไดรูจ ักเคร่ืองมอื วัดท่เี รยี กวา บรรทดั เหล็ก 2. ครยู กตัวอยางชิ้นงานที่เปน รูปทรงกลม ทรงกระบอก ใหน ักเรียนดูและถามวาควรใชเ คร่ืองมอื ใด วัดช้ินงาน 3. ครูอธิบายโครงสรางของคาลิปเปอรวัดนอกและคาลิปเปอรวัดใน เกจสปริงวัดรูในโดยให นักเรียนไดเ ห็นของจรงิ 4. ใหนักเรียนบอกความแตกตางของการนำไปใชของคาลิปเปอรวัดนอกและวัดใน เกจสปริงวัดรู ใน 5. ครูอธิบายและสาธติ การใชค าลปิ เปอร เกจสปริงวัดรใู น วดั ช้นิ งานสำเร็จ 6. ครูใหนกั เรยี นชว ยกันสรุปการใชง านคาลปิ เปอร เกจสปริงวัดรูใน 7. ครูอธิบายการใชงานของคาลิปเปอรชนิดพเิ ศษโดยใหนักเรียนดูคาลิปเปอรช นิดพิเศษจากเผนใส และของจริง 8. ใหนักเรียนแบงกลมุ ทดลองใชคาลิปเปอร และเกจสปรงิ วัดรูใน ถายขนาดจากชน้ิ งานสูบรรทัด เหล็ก และการใชค าลิปเปอรเปรียบเทยี บขนาดความโตของช้ินงาน 9. ใหนักเรียนชวยกันสรุปการใชคาลิปเปอรวัดช้ินงาน แนวแกนวัดชิ้นงานคาลิปเปอร วธิ ีวัดคาลิป เปอรว ัดนอกและวดั ใน คาลิปเปอรช นิดพเิ ศษ

16 ส่อื การเรยี นรู 1. สอื่ ส่ิงพมิ พ 1. หนังสอื การวัดละเอียด 2. หนังสอื แบบฝก ปฏิบตั ิ การวดั ละเอยี ด 2. สอ่ื โสตทศั น 2.1. คอมพิวเตอรหรอื เคร่อื งเลน VCD 2.2. เครอื่ งฉาย LCD โปรเจคเตอรพรอ มจอรับภาพหรือทวี ี 2.3. แผนใส 3. ของจรงิ - คาลิปเปอรว ดั นอก - คาลปิ เปอรวดั ใน - คาลิปเปอรช นิดพิเศษ การวัดผลประเมนิ ผล การประเมินผล 1. สังเกตพฤตกิ รรม 2. นกั ศึกษาใชค าลิปเปอร และเกจสปรงิ วดั รูในวดั ชิ้นงานไดถูกตอง 3. ประเมินจากผลการฝก ใชค าลิปเปอรแ ละเกจสปริงวดั รูในวัดชนิ้ งาน 4. ทำแบบทดสอบถกู ตอ ง 50 % ข้ึนไป 5. ตรวจแบบฝก หัดเรอ่ื งความรเู บื้องตนเกี่ยวกับการวดั ละเอียด จำนวน 11 ขอ 6. ทดสอบหลงั จบบทเรยี น

17 บันทึกผลหลงั การจัดการเรยี นรู 1. ขอสรุปหลงั การจัดการเรียนรู ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 2. ปญ หาท่ีพบ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 3. แนวทางแกป ญ หา ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................

18 แผนการสอน สอนครงั้ ท่ี 6-7 รหสั 20102-2004 ชื่อวิชา วัดละเอียด 2 หนวยกิต (3 ชม. /สัปดาห) เวลา 6 ช่ัวโมง หนว ยที่ 4 ชื่อหนว ย เครอื่ งมอื วดั แบบเลอ่ื นไดท ่ีมีขดี มาตรา เวลา 6 ชั่วโมง ชื่อเรอื่ ง เวอรเนยี รคาลิปเปอร หวั ขอเรอ่ื ง 4.1 เวอรเ นียรค าลิปเปอร - ความเปน มาของเวอรเนียรค าลิปเปอร - โครงสรา งสว นประกอบของเวอรเ นียรคาลปิ เปอร - หลกั การสรา งสเกลหลักของเวอรเนยี รค าลิปเปอร - หลักการแบง คา วดั ละเอียดบนสเกลเลอื่ นและวธิ กี ารอา นคา - ลักษณะการใชเวอรเ นยี รค าลิปเปอรวัดชนิ้ งาน - ขอ ผดิ พลาดทเ่ี กิดข้นึ ในการใชเวอรเ นยี รคาลปิ เปอร - เวอรเ นียรว ัดลึก - เวอรเนียรวดั สูง - เวอรเ นยี รแ บบพิเศษและแบบสมยั ใหม สมรรถนะประจำหนวยการเรยี นรู ใชงานเวอรเนยี รคาลปิ เปอร ในการวัดชน้ิ งาน สาระสำคญั 1.เวอรเนียรคาลิปเปอร เปนเคร่อื งมือวดั ที่ใชมากทีส่ ุดในงานเครอ่ื งมือกล ใหคาวัดละเอียดปาน กลางจนถึงละเอียดสูง สามารถใชวัดงานเอนกประสงค กลาวคือ ใชวัดไดทั้งวัดนอก วดั ในและวัดลึกอยู ในตัวเดยี วกนั 2. หนวยมาตราวัดละเอียดในเวอรเนียรคาลิปเปอร นิยมกำหนดใหมีท้ัง 2 ระบบ คือ ระบบ เมตรกิ (มม.) และระบบอังกฤษ (น้ิว) อยใู นตัวเดียวกัน คาวัดละเอยี ดในระบบเมตรกิ ที่ใชคือ 0.10, 0.05, 0.02 มม. สวนคาวดั ละเอียดในระบบอังกฤษที่ใชคอื 1/128, 0.001 นิ้ว 3. เวอรเนียรคาลิปเปอรถูกออกแบบมาเพ่ือใชวัดงานเฉพาะอยาง เชน เวอรเนียรวัดสูง เวอร เนียรวัดลึก เวอรเนียรวัดเฟอง และเวอรเนียรคาลิปเปอรแบบพิเศษตางๆ เวอรเนียรคาลิปเปอรเหลาน้ี แตกตา งกันเฉพาะกแ็ ตรปู รา งเทา นัน้ แตสวนทคี่ ลายกนั คอื หลกั การสรางสเกลหลักและสเกลเล่อื น

19 จดุ ประสงคก ารเรียนรู จุดประสงคท ่วั ไป 1. มีความรคู วามเขา ใจและมที กั ษะในการใชเวอรเ นียรค าลิปเปอร 2. มีมนุษยสัมพนั ธ มีวินัย มคี วามรับผดิ ชอบ มีความสนใจใฝรู จดุ ประสงคเ ชงิ พฤตกิ รรม 1. บอกประวตั ิของเวอรเ นยี รค าลปิ เปอรได 2. บอกสว นประกอบทสี่ ำคญั ของเวอรเ นียรคาลปิ เปอรได 3. สรา งสเกลหลกั บนเวอรเนียรค าลปิ เปอรไดอยางถกู ตอ ง 4. อธบิ ายหลักการสรา งสเกลเลอื่ นคา วัดละเอยี ดตางๆไดอ ยางถกู ตอง 5. อา นคาวัดละเอียดบนเวอรเนียรคาลปิ เปอรไดถกู ตอง 6. แตงกายถูกตอ งตามระเบียบ เขา เรียนตรงเวลา สาระการเรยี นรู 4.1เวอรเ นียรค าลิปเปอร 4.1.1 ความเปนมาของเวอรเ นียรคาลปิ เปอร 4.1.2 โครงสรา งสว นประกอบของเวอรเนยี รคาลปิ เปอร 4.1.3 หลักการสรางสเกลหลกั บนเวอรเ นียรคาลิปเปอร 4.1.4 หลกั การแบง คา วดั ละเอียดบนสเกลเลอ่ื นและวธิ กี ารอานคา 4.1.5 ลักษณะการใชเวอรเนียรคาลิปเปอรวดั ช้นิ งาน 4.1.6 ขอผดิ พลาดที่เกิดขึ้นในการใชเวอรเนยี รค าลปิ เปอร 4.1.7 เวอรเ นยี รว ัดลึก 4.1.8 เวอรเนยี รว ัดสงู 4.1.9 เวอรเ นยี รแ บบพเิ ศษและแบบสมัยใหม

20 กิจกรรมการเรียนรู 1. ครูอธิบายประวัติความเปนมา และโครงสรางสวนประกอบของเวอรเนียรคาลิปเปอร โดยใช แผน ใส แบบจำลองเวอรเ นยี รไ มข นาดใหญ และเวอรเ นียรของจริง 2. ใหนกั เรียนแบง กลุม 5 กลุม ใหแตล ะกลุมเขียนสเกลหลักและสเกลเล่อื นเวอรเ นียรคาลปิ เปอร วัด ละเอียด 0.01 มม. 0.05 มม. 0.02 มม. 0.001 นิ้ว 1/128 นิ้ว และหมุนเวียนเปลี่ยนกันตรวจจน ครบทกุ กลมุ โดยครูเดนิ ดู และใหคำแนะนำแตล ะกลุม 3. ใหน กั เรยี นทำแบบฝก ปฏบิ ัติ 4. ครูอธิบายและสาธิตการอานเวอรเนียรวัดลึก เวอรเนียรวัดสูง เวอรเนียรแบบพิเศษ เวอรเนียร สมยั ใหม 5. บอกขอควรระวงั และการดูแลรกั ษาเวอรเนียรค าลิปเปอร 6. แจกเวอรเนียรคาลิปเปอรวัดละเอียด 0.01 มม. 0.05 มม. 0.02 มม. 0.001 น้ิว 1/128 น้ิว ให นักเรียนฝกใชว ัดงานสำเรจ็ คนละ 1 ตัว 7. มอบหมายแบบฝก ปฏบิ ัติ ส่ือการเรียนรู 1. สือ่ ส่งิ พิมพ อำพัน เมธนาวนิ . การวดั ละเอยี ด. นครราชสมี า : วิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา, 2541 1. หนังสือแบบฝก ปฏบิ ัติ การวัดละเอียด 2. ส่ือโสตทัศน 2.1. คอมพวิ เตอรหรือเครอื่ งเลน VCD 2.2. เครื่องฉาย LCD โปรเจคเตอรพ รอ มจอรบั ภาพหรือทวี ี 2.3. แผนใส 3. ของจริง - เวอรเนียรค าลปิ เปอรวัดนอก - เวอรเ นียรคาลปิ เปอรวัดใน - เวอรเนยี รวัดสูง - เวอรเนียรแบบสมัยใหม

21 การวัดผลประเมินผล การประเมนิ ผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรม 2. นักเรียนใชเ วอรเ นียรค าลิปเปอรวัดช้ินงานไดถกู ตอ ง 3. ประเมนิ จากการสังเกตการใชเวอรเ นยี รคาลปิ เปอรว ดั ชิ้นงาน 4. ทำแบบทดสอบถูกตอง 50 % ขนึ้ ไป 5. ตรวจแบบฝกหดั เรื่องความรเู บอื้ งตนเกี่ยวกับการวัดละเอียด จำนวน 10 ขอ 6. ทดสอบหลังจบบทเรียน

22 บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู 1. ขอสรปุ หลังการจัดการเรยี นรู ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 2. ปญ หาทีพ่ บ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 3. แนวทางแกปญหา ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................

23 แผนการสอน สอนคร้งั ที่ 8-9 รหสั 20102-2004 ช่ือวิชา วดั ละเอียด 2 หนวยกติ (3 ชม. /สัปดาห) เวลา 6 ชวั่ โมง เวลา 6 ช่ัวโมง หนว ยที่ 4 ช่ือหนว ย เคร่ืองมอื วดั แบบเล่ือนไดท ่ีมขี ีดมาตรา ชอ่ื เรอ่ื ง ไมโครมเิ ตอรค าลิปเปอร หัวขอเรอื่ ง 4.2 ไมโครมิเตอรค าลปิ เปอร - ประวัติความเปน มาของไมโครมเิ ตอรค าลปิ เปอร - หลักการสรา งไมโครมิเตอร - ไมโครมเิ ตอรว ดั นอก - เวอรเนียรไมโครมเิ ตอร - ไมโครมิเตอรวัดใน - ไมโครมิเตอรวัดลึก - ไมโครมเิ ตอรแ บบพเิ ศษ สมรรถนะประจำหนวยการเรียนรู ใชงานไมโครมิเตอรคาลิปเปอร ในการวัดช้นิ งาน สาระสำคญั 1.ไมโครมิเตอรเปน เครื่องมือวดั สำหรับชิ้นงานทีต่ อ งการคาความละเอียดสงู สามารถวัดละเอยี ด ไดถงึ ไมครอน (0.001มม.) หรอื หน่ึงในลานเมตร 2. หนวยวัดละเอียดในไมโครมิเตอร ระบบเมตรกิ วัดละเอียด 0.01 มม. และ 0.001 มม. ระบบ อังกฤษวดั ละเอยี ด 0.001 นิ้ว และ 0.0001 นิ้ว 3. ไมโครมิเตอรมีหลายรูปแบบขึ้นอยูกับการนำไปใชงาน เชน ไมโครมิเตอรวัดนอก ไมโครมิเตอรว ัดใน ไมโครมิเตอรวัดลึก ไมโครมิเตอรแบบพิเศษตางๆ ไมโครมเิ ตอรเหลานี้อาศัยการสรา ง และการอานสเกลคลายกัน

24 จุดประสงคการเรียนรู จุดประสงคท ั่วไป 1. มคี วามรคู วามเขาใจและมีทักษะในการใชไมโครมเิ ตอร 2. มีมนุษยสัมพนั ธ มวี ินัย มคี วามรับผิดชอบ มีความสนใจใฝรู จดุ ประสงคเ ชิงพฤตกิ รรม 1. บอกโครงสรา งสว นประกอบของไมโครมิเตอรไ ด 2. บอกหลักการทำงานของไมโครมิเตอร 3. อานคา วัดละเอียดของไมโครมิเตอรได 4. ปฏบิ ตั ิงานดวยความต้งั ใจ ใหความรว มมอื กบั เพอ่ื น 5. แตงกายถูกตองตามระเบยี บ เขา เรียนตรงเวลา สาระการเรยี นรู 4.2 ไมโครมเิ ตอรคาลปิ เปอร 4.2.1 ประวตั ิความเปน มาของไมโครมเิ ตอร 4.2.2 หลักการสรา งของไมโครมเิ ตอร 4.2.3 ไมโครมเิ ตอรวัดนอก 4.2.4 เวอรเ นียรไ มโครมิเตอร 4.2.5 ไมโครมิเตอรว ดั ใน 4.2.6 ไมโครมเิ ตอรวดั ลกึ 4.2.7 ไมโครมเิ ตอรแ บบพิเศษ กจิ กรรมการเรียนรู 1. ครูทบทวนเรื่องการใชเวอรเนียรคาลิปเปอรซึ่งไดเรียนในชั่วโมงท่ีแลว โดยการซักถาม และบอกให นักเรียนทราบวาเคร่ืองมอื วัดอีกชนิดหน่ึงท่ีใหคาความละเอียดไดม ากกวาเวอรเนียรคาลปิ เปอร คือ ไมโครมเิ ตอร 2. ใหนักเรียนแบงเปนกลุมๆละ 6 คน มอบหมายใหนกั เรยี นชว ยกันออกแบบรูปรางของไมโครมิเตอร วา ควรมรี ูปรางอยา งไร มีสว นประกอบอะไรบาง 3. ครนู ำแผนใสรูปไมโครมิเตอรใหนกั เรียนดเู ปรยี บเทยี บกบั รปู ท่นี ักเรียนออกแบบ 4. ครูอธิบายประวตั คิ วามเปนมาและโครงสรางสวนประกอบของไมโครมเิ ตอร 5. แจกไมโครมิเตอรว ัดนอกของจรงิ ใหนกั เรียนแตละกลมุ ๆ 3 ตวั 6. อธิบายและสาธติ หลักการสรา งไมโครมเิ ตอรโดยใชนอต สกรู และบรรทดั เหล็ก เปน ส่อื ในการสาธติ

25 7. แบงนักเรียนออกเปน 3 กลุม ใหแตละกลุมสรางสเกลที่กานปลอก และสเกลที่ปลอกหมุนวัด สำหรับไมโครมิเตอรว ดั ละเอียด 0.01 มม. และ 0.001 น้วิ 0.0001 น้วิ และใหหมนุ เวยี นเปลย่ี นกัน ตรวจจนครบทกุ กลุม 8. ครูอธบิ ายและสาธิตการใชไ มโครมเิ ตอรว ดั ใน ไมโครมเิ ตอรวดั ลึก ไมโครมเิ ตอรแ บบพิเศษ 9. มอบหมายแบบฝก ปฏิบตั ิ 10. ครูอธิบายและสาธติ การตรวจสอบความเรยี บผมิ สมั ผสั ของแกนรบั และแกนวัดของไมโครมเิ ตอร 11. ครูอธิบายและสาธิตการปรับ ความตึง หลวมของปลอกหมนุ วัด 12. ครอู ธบิ ายและสาธติ การปรับตงั้ ศูนยของไมโครมิเตอร 13. ใหนักเรียนทดลองปรับศูนยไมโครมิเตอร ในกรณีท่ีไมโครมิเตอรตัวท่ีนักเรียนใชวัดเกิดการ คลาดเคลอ่ื นศนู ย 14. บอกขอ ควรระวงั และการดแู ลรักษาไมโครมิเตอร 15. แจกไมโครมิเตอรวัดนอกชนิดวัดละเอียด 0.01 มม. 0.001 นิ้ว 0.0001 นิ้ว ใหนักเรียนคนละ 1 ตัว เพือ่ ฝก วัดช้นิ งานสำเร็จ สือ่ การเรียนรู 1. สือ่ ส่งิ พิมพ 1. หนงั สือการวดั ละเอยี ด 2. หนังสอื แบบฝก ปฏบิ ัติ การวดั ละเอยี ด 2. ส่ือโสตทศั น 2.1. คอมพวิ เตอรห รือเครื่องเลน VCD 2.2. เครอ่ื งฉาย LCD โปรเจคเตอรพรอมจอรบั ภาพหรือทวี ี 2.3. แผนใส 3. ของจริง ไมโครมิเตอรว ัดนอกชนดิ วดั ละเอยี ด 0.01 มม. 0.001 นว้ิ 0.0001 นว้ิ ไมโครแบบพเิ ศษ

26 การวดั ผลประเมนิ ผล การประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรม 2. นักเรียนใชไมโครมเิ ตอรวัดชน้ิ งานไดถกู ตอ ง 3. ประเมินจากการสงั เกตการใชไมโครมเิ ตอรว ัดช้ินงาน 4. ทำแบบทดสอบถูกตอง 50 % ขนึ้ ไป 5. ตรวจแบบฝก หดั เรอ่ื งความรเู บอ้ื งตน เก่ียวกับการวดั ละเอียด จำนวน 10 ขอ 6. ทดสอบหลงั จบบทเรยี น

27 บันทึกผลหลงั การจดั การเรียนรู 1. ขอ สรุปหลงั การจัดการเรียนรู ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 2. ปญ หาทพี่ บ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 3. แนวทางแกป ญหา ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................

28 รหัส 20102-2004 ชื่อวิชา วัดละเอียด แผนการสอน สอนคร้ังท่ี 10 หนวยท่ี 5 ชื่อหนวย เครือ่ งมือวดั มุม 2 หนว ยกิต (3 ชม. /สัปดาห) เวลา 3 ช่ัวโมง ช่อื เรอ่ื ง ฉากเครื่องกลและใบวดั มุม เวลา 3 ช่วั โมง หัวขอเรือ่ ง 5.1 ฉากเครื่องกล - ลกั ษณะโครงสรางฉากเครื่องกล - การใชฉ ากวดั ตรวจสอบมมุ ของชิ้นงาน - คาผิดพลาดท่เี กดิ จากการใชฉาก - การตรวจสอบความเที่ยงตรงของฉาก 5.2 ใบวดั มุม สมรรถนะประจำหนว ยการเรียนรู ใชงานฉากเครอ่ื งกล ใบวดั มุม ในการวัดชนิ้ งาน สาระสำคญั 1. ฉากเครื่องกลเปน เครอื่ งมือวัดตรวจสอบมมุ เพอ่ื ทราบวา มมุ ของชนิ้ งานเปนมุมฉากหรอื ไม 2. ใบวัดมุมเปนเคร่ืองมือวัดหรือตรวจสอบมุมของชิ้นงานที่มีขนาดตั้งแต 0-180 องศา ใหคา วัดละเอียดไมมากนัก จดุ ประสงคการเรยี นรู จดุ ประสงคทว่ั ไป 1. มคี วามรคู วามเขาใจและมีทักษะในการใชฉากเคร่อื งกล 2. มคี วามรคู วามเขา ใจและมที ักษะในการใชใ บวัดมุม จดุ ประสงคเชิงพฤติกรรม 1. บอกรปู รา งลักษณะของฉากเครอื่ งกลได 2. นำฉากเครื่องกลนำไปใชวัดตรวจสอบชนิ้ งานได 3. บอกรปู รางลกั ษณะของใบวัดมุมได 4. ใชใ บวดั มมุ ตรวจสอบชนิ้ งานได 5. ปฏบิ ัติงานดวยความตัง้ ใจ ใหค วามรวมมือกบั เพ่ือน

29 6. แตงกายถกู ตอ งตามระเบียบ เขาเรียนตรงเวลา สาระการเรยี นรู 5.1 ฉากเครอื่ งกล 5.1.1 ลักษณะของฉากเครือ่ งกล 5.1.2 การใชฉ ากวดั ตรวจสอบมุมช้ินงาน 5.1.3 คาผดิ พลาดทีเ่ กิดข้ึนจากการใชฉาก 5.1.4 การตรวจสอบความเที่ยงตรงฉาก 5.2 ใบวดั มมุ 5.2.1 ลกั ษณะโครงสรางสว นประกอบของใบวัดมมุ 5.2.2 การแบง สเกลของใบวดั มุม 5.2.3 วธิ กี ารอา นคา วัดละเอียดใบวัดมุม 5.2.4 การวดั ช้นิ งานดว ยใบวัดมมุ กิจกรรมการเรยี นรู 1. ใหนักเรยี นเขียนโครงสรา งของฉากเคร่อื งกลจากทน่ี กั เรยี นศกึ ษามา 2. ครอู ธบิ ายโครงสรางของฉากเครือ่ งกลโดยใชฉ ากของจริง 3. ครูอธิบายและสาธิตการใชฉากวดั ตรวจสอบมุมชิ้นงาน และแสดงใหเห็นคาผิดพลาดที่เกิดขึ้น ในการใชฉาก 4. อธิบายและสาธิตวธิ ีการตรวจสอบความเทยี่ งตรงฉาก 5. ใหน ักเรียนแสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกบั ขอควรระวังและการดแู ลรกั ษาฉาก 6. สรปุ ใหนกั เรียนไดทราบถงึ ขอควรระวังและการดูแลรกั ษาฉาก 7. ใหน ักเรยี นฝกการใชฉากตรวจสอบมุมชน้ิ งานสำเรจ็ 8. มอบหมายแบบฝกปฏบิ ตั ิ 9. ใหน กั เรียนเขยี นบรรทัดวัดมมุ ครงึ่ วงกลมจากประสบการณที่ไดศ ึกษามาจากวชิ าคณติ ศาสตร 10. อธบิ ายโครงสรา งและการแบง สเกลของใบวัดมมุ 11. สาธิตการอานคาวดั ละเอยี ดใบวัดมุม และการวัดชนิ้ งานดว ยใบวดั มุม 12. แบง นักเรยี นออกเปนกลุม ๆละ 4 คน ฝกปฏิบตั กิ ารใชใบวดั มมุ ชิ้นงานสำเร็จ ส่อื การเรยี นรู 1. สอ่ื สิ่งพมิ พ อำพนั เมธนาวนิ . การวดั ละเอียด. นครราชสีมา : วิทยาลัยเทคนิคนครราชสมี า, 2541 1. หนังสือแบบฝกปฏิบตั ิ การวดั ละเอยี ด

30 2. ส่ือโสตทัศน 2.1. คอมพวิ เตอรหรือเครอื่ งเลน VCD 2.2. เครอื่ งฉาย LCD โปรเจคเตอรพ รอมจอรบั ภาพหรอื ทวี ี 2.3. แผนใส 3. ของจรงิ ฉากเครอื่ งกลแบบตา งๆ ใบวดั มมุ การวัดผลประเมนิ ผล การประเมนิ ผล 1. สงั เกตพฤติกรรม 2. นกั เรยี นใชฉากเครอื่ งกล ใบวดั มุม วัดชนิ้ งานไดถูกตอ ง 3. ประเมนิ จากการสังเกตการใชฉ ากเครือ่ งกล ใบวัดมมุ วดั ชิน้ งาน 4. ทำแบบทดสอบถูกตอ ง 50 % ขึน้ ไป 5. ตรวจแบบฝก หัดเรอ่ื งความรเู บือ้ งตน เกีย่ วกบั การวดั ละเอียด จำนวน 10 ขอ 6. ทดสอบหลงั จบบทเรยี น

31 บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรียนรู 1. ขอ สรปุ หลังการจดั การเรยี นรู ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 2. ปญ หาทพ่ี บ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 3. แนวทางแกป ญ หา ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................

32 แผนการสอน สอนครั้งท่ี 11 รหัส 20102-2004 ช่ือวิชางานวดั ละเอียด 2 หนวยกติ (3 ชม. /สัปดาห) เวลา 3 ช่ัวโมง หนวยท่ี 5 ช่ือหนว ย เครอื่ งมือวดั มมุ เวลา 3 ช่ัวโมง ช่อื เรื่อง บรรทดั วัดมุมสากลและหลอดแกวระดบั น้ำ หวั ขอเรอื่ ง 5.3 บรรทดั วัดมุมสากล - ลักษณะโครงสรา งสวนประกอบบรรทดั วดั มมุ สากล - การแบงสเกลของบรรทัดวดั มมุ สากล - วธิ กี ารอานคา วัดละเอียดบรรทัดวัดมมุ สากล - การวดั ชิน้ งานดว ยบรรทัดวดั มมุ สากลและการอา นคา มมุ ของชน้ิ งาน 5.4 หลอดแกว ระดับนำ้ - สวนประกอบสำคัญของหลอดแกวระดบั นำ้ - ลักษณะของหลอดแกวระดับน้ำแบบตา ง ๆ - วิธีการใชห ลอดแกวระดับน้ำ - วธี กี ารปรับศนู ยห ลอดแกว ระดบั นำ้ สมรรถนะประจำหนว ยการเรยี นรู ใชงานบรรทดั วดั มุมสากลและหลอกแกว ระดบั นำ้ ในการวดั ชนิ้ งาน สาระสำคญั 1. บรรทัดวัดมุมสากลเปนเครื่องมือวัดหรือตรวจสอบมุมของช้ินงาน ใหคาวัดละเอียดถึง 5 ลิปดา สามารถวดั ขนาดมุมของชน้ิ งานไดห ลายรูปรา งมากกวา ใบวดั มุม 2. หลอดแกวระดับน้ำเปนเครื่องมือวัดละดับ ใชสำหรับตรวจสอบหรือปรับผิวหนาแนวระดับ ราบหรือแนวดงิ่ โดยการวัดความเบ่ียงเบนไปจากตำแหนง จริง จุดประสงคการเรียนรู จดุ ประสงคท ั่วไป 1 มีความรคู วามเขา ใจและมีทักษะในการใชบ รรทดั วัดมมุ สากล 2 มีความรคู วามเขาใจและมที กั ษะในการใชห ลอดแกว ระดับน้ำ

33 จุดประสงคเ ชงิ พฤติกรรม 1. บอกรปู รางลักษณะของบรรทดั วัดมุมสากลได 2. อานคา วัดละเอยี ดที่ขีดสเกลแบง องศาบนบรรทัดวดั มุมสากลได 3. บอกชนิดของหลอดแกวระดับน้ำได 4. นำหลอดแกวระดบั น้ำไปใชง านได สาระการเรียนรู 5.3 บรรทัดวัดมุมสากล 5.1.1 ลักษณะโครงสรา งสว นประกอบบรรทดั วัดมุมสากล 5.1.2 การแบง สเกลของบรรทัดวดั มมุ สากล 5.1.3 วธิ กี ารอานคา วดั ละเอยี ดบรรทดั วัดมมุ สากล 5.1.4 การวดั ช้ินงานดว ยบรรทดั วัดมมุ สากลและการอา นคามุมของช้นิ งาน 5.4 หลอดแกว ระดับนำ้ 5.2.1 สวนประกอบสำคญั ของหลอดแกวระดับนำ้ 5.2.2 ลักษณะของหลอดแกว ระดับน้ำแบบตา ง ๆ 5.2.3 วธิ กี ารใชห ลอดแกวระดับนำ้ 5.2.4 วิธกี ารตรวจปรบั ศูนยข องหลอดแกว ระดบั น้ำ กิจกรรมการเรียนรู 1. ครอู ธิบายโครงสรางและการแบงสเกลของบรรทดั วดั มุมสากล 2. ใหนกั เรยี นบอกขอแตกตา งระหวางใบวัดมมุ กบั บรรทัดวัดมุมสากล 3. ครูอธิบายและสาธิต การอานคาวัดละเอียดของบรรทัดวัดมุมสากลและการวัดชิ้นงานดวยบรรทัด วดั มุมสากล 4. ใหนกั เรียนชวยกนั สรปุ ขอ ควรระวังและการดแู ลรักษาบรรทดั วดั มุมสากล 5. ใหน กั เรียนออกมาสาธิตการใชบ รรทัดวัดมมุ สากล วดั ชนิ้ งานสำเรจ็ 6. ใหนักเรียนฝกอานคา มุมชน้ิ งานโดยใชบรรทัดวัดมุมสากล 7. มอบหมายแบบฝกปฏบิ ตั ิ 8. อธบิ ายการใชงานหลอดแกวระดบั นำ้ แบบตาง ๆ และสวนประกอบท่ีสำคญั 9. สาธิตการใชห ลอดแกวระดับน้ำ โดยทดสอบความไดร ะดับของแทน ระดบั 10.สาธติ การปรับศนู ยห ลอดแกว ระดับน้ำ โดยใหน กั เรียนมสี วนรว มในการปรับศูนย 11.บอกขอ ควรระวงั และการดแู ลรกั ษาหลอดแกว ระดบั น้ำ 12.ใหนกั เรียนฝก ใชหลอดแกว ระนำ้ ตรวจสอบความไดระดบั ของแทนระดับ

34 สื่อการเรียนรู 1. ส่อื สิง่ พมิ พ 1. หนังสือการวดั ละเอยี ด 2. หนงั สือแบบฝกปฏบิ ัติ การวดั ละเอียด 2. สื่อโสตทัศน 2.1. คอมพวิ เตอรห รอื เคร่ืองเลน VCD 2.2. เคร่ืองฉาย LCD โปรเจคเตอรพ รอ มจอรับภาพหรอื ทวี ี 2.3. แผน ใส 3. ของจรงิ บรรทัดวดั มุมสากล หลอดแกว ระดับน้ำ การวัดผลประเมินผล การประเมนิ ผล 1. สังเกตพฤตกิ รรม 2. นักเรยี นใชบรรทัดวดั มุมสากล หลอดแกวระดับน้ำ วัดชิ้นงานไดถกู ตอ ง 3. ประเมินจากการสงั เกตการใชบ รรทดั วดั มมุ สากล หลอดแกวระดบั น้ำ วดั ชนิ้ งาน 4. ทำแบบทดสอบถกู ตอง 50 % ข้นึ ไป 5. ตรวจแบบฝกหัดเรอ่ื งความรูเ บือ้ งตน เกย่ี วกับการวดั ละเอียด จำนวน 10 ขอ 6. ทดสอบหลงั จบบทเรยี น

35 บันทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรู 1. ขอสรปุ หลงั การจัดการเรียนรู ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 2. ปญ หาทพ่ี บ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 3. แนวทางแกปญ หา ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................

36 แผนการสอน สอนครง้ั ท่ี 12-13 รหัส 20102-2004 ช่ือวิชางานวัดละเอียด 2 หนวยกิต (3 ชม. /สปั ดาห) เวลา 3 ชั่วโมง เวลา 3 ช่ัวโมง หนวยท่ี 6 ชอื่ หนว ย เครื่องมือวดั และตรวจสอบความหยาบผิว ชือ่ เร่อื ง แผนเทยี บผิวและบรรทดั ตรวจสอบความหยาบผวิ หัวขอ เรอื่ ง 6.1 แผน เทยี บผิว - การกำหนดสัญลกั ษณความหยาบผวิ ตามมาตรฐานเยอรมัน DIN 140 - การกำหนดคา ความหยาบผิวในรปู สญั ลักษณตามมาตรฐาน ASA - ลกั ษณะโครงสรางแผน เทียบผิว - การใชแผน เทียบผิวตรวจสอบผิวงาน 6.2 นากิ าวดั ผิว - สัญลักษณคาความหยาบผิว - ลักษณะโครงสรา งนากิ าวัดผิว - วิธีการใชนากิ าวัดผิว วัดความหยาบผิวงาน สมรรถนะประจำหนว ยการเรียนรู ใชงานแผนเทียบผิวและบรรทัดตรวจสอบความหยาบผวิ ในการวัดชน้ิ งาน สาระสำคัญ 1. แผนเทียบผิว เปนเคร่ืองมือที่ใชตรวจสอบความหยาบผิว ของผิวงานท่ีผานการตะไบ การ กลงึ การกดั การเจียระไน ซ่งึ สามารถทำการตรวจสอบไดสะดวกรวดเร็ว 2. นาิกาวดั ผิวเปนเคร่ืองมือทใี่ ชวดั คาความหยาบผวิ งานที่ผา นการปรับแตง หรอื ปาดผิวดวย เครือ่ งมือกลโดยวดั คา ความสูงเฉล่ยี ของยอดคลื่น จุดประสงคก ารเรียนรู จดุ ประสงคทว่ั ไป 1. มคี วามรูความเขา ใจและมีทักษะในการใชแ ผน เทยี บผิว 2. มีความรคู วามเขาใจและมีทกั ษะในการใชน าิกาวัดผวิ

37 จดุ ประสงคเชงิ พฤตกิ รรม 1. บอกรปู รางลักษณะของแผนเทยี บผวิ และนากิ าวดั ผิว 2. นำแผนเทยี บผิวไปใชงานได 3. นำนากิ าวดั ผวิ ไปใชง านได สาระการเรยี นรู 6.1 แผนเทียบผิว - การกำหนดสญั ลักษณค วามหยาบผิวตามมาตรฐานเยอรมนั DIN 140 - การกำหนดคาความหยาบผิวในรูปสัญลกั ษณตามมาตรฐาน ASA - ลกั ษณะโครงสรางแผน เทยี บผิว - การใชแ ผนเทียบผวิ ตรวจสอบผิวงาน 6.2 นาิกาวดั ผิว - สัญลักษณค าความหยาบผิว - ลกั ษณะโครงสรา งนากิ าวัดผิว - วธิ กี ารใชน ากิ าวัดผวิ วดั ความหยาบผวิ งาน กิจกรรมการเรียนรู 1. อธิบายสัญลักษณความหยาบผิวตามมาตรฐานเยอรมัน DIN 140 และการกำหนดคาความ หยาบผวิ ตามมาตรฐาน ASA 2. อธิบายโครงสรา งแผน เทียบผวิ 3. สาธิตการใชแ ผนเทยี บผิว 4. แบงนักเรียนออกเปน 3 กลุม คือ กลุมช้ินงาน กลุมชิ้นงานไส กลุมช้ินงานเจียระไน ใหทำการ เปรียบเทียบผิวชนิ้ งานกบั แผนเทยี บผิว 5. อธิบายสัญลักษณคาความหยาบผวิ 6. อธิบายโครงสรางนากิ าวัดผวิ และการใชนากิ าวดั ผวิ ความหยาบผิวงาน 7. สรุปวิธีการใชแผน เทียบผิวและนากิ าวดั ผิว วัดผิวช้นิ งานสำเรจ็ 8. สรุปขอ ควรระวงั และการดูแลรกั ษาแผน เทียบผวิ และนากิ าวัดผวิ

38 สื่อการเรียนรู 1. สอื่ สิ่งพมิ พ 1. หนังสือการวดั ละเอียด 1. หนงั สอื แบบฝกปฏบิ ตั ิ การวัดละเอียด 2. สือ่ โสตทศั น 2.1. คอมพิวเตอรหรือเครอ่ื งเลน VCD 2.2. เครอื่ งฉาย LCD โปรเจคเตอรพรอ มจอรบั ภาพหรอื ทีวี 2.3. แผน ใส 3. ของจรงิ แผนเทยี บผิว และนาิกาวัดผวิ การวัดผลประเมนิ ผล การประเมินผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรม 2. นกั เรียนใชแผนเทียบผวิ และนาิกาวัดผิว วดั ชิ้นงานไดถูกตอ ง 3. ประเมนิ จากการสังเกตการใชแ ผนเทยี บผวิ และนาิกาวดั ผิว วดั ชิ้นงาน 4. ทำแบบทดสอบถกู ตอง 50 % ขึ้นไป 5. ตรวจแบบฝก หดั เรือ่ งความรเู บอ้ื งตนเกี่ยวกับการวัดละเอียด จำนวน 10 ขอ 6. ทดสอบหลงั จบบทเรยี น

39 บนั ทึกผลหลังการจัดการเรยี นรู 1. ขอสรุปหลงั การจดั การเรยี นรู ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 2. ปญหาทพี่ บ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 3. แนวทางแกป ญ หา ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................

40 แผนการสอน สอนครัง้ ท่ี 14 รหสั 20102-2004 ชอื่ วชิ า วัดละเอยี ด 2 หนวยกติ (3 ชม. /สัปดาห) เวลา 6 ชั่วโมง หนวยที่ 7 ชอ่ื หนวย เครอื่ งมือวดั และตรวจสอบคาคงท่ี เวลา 6 ช่ัวโมง ชื่อเร่ือง เกจทรงกระบอก เกจกามปู เกจสอบรศั มี หวั ขอ เรอื่ ง 7.1 เกจทรงกระบอก - ลกั ษณะโครงสรางของเกจทรงกระบอก - การใชเกจทรงกระบอกตรวจสอบรู 7.2 เกจกา มปู - ลกั ษณะโครงสรางของเกจกา มปู - การใชเกจกามปูตรวจสอบเพลา 7.3 เกจสอบรศั มี - ลกั ษณะโครงสรางของเกจสอบรศั มี - การใชเกจสอบรศั มีตรวจสอบชน้ิ งาน สมรรถนะประจำหนวยการเรียนรู ใชงานเกจทรงกระบอก เกจกา มปู เกจสอบรัศมี ในการวดั ช้ินงาน สาระสำคญั 1. เกจทรงกระบอกเปนเครื่องมือท่ีใชตรวจสอบขนาดของรู ในกระบวนการผลิต เพ่ือตรวจสอบวารู น้นั ๆ มีขนาดอยใู นพิกดั ความเผือ่ หรอื ไม 2. เกจกามปู เปนเคร่ืองมือที่ใชตรวจสอบขนาดของเพลา ในกระบวนการผลิตเพื่อตรวจสอบวา ขนาด ของเพลาน้ัน ๆ มีขนาดอยูในพิกดั ความเผื่อหรือไม 3. เกจสอบรัศมี เปนเครอื่ งมือวัดสำหรับตรวจสอบรัศมีความโคงของชิ้นงาน ท้ังรศั มีโคงนอกและรัศมี โคงใน จดุ ประสงคก ารเรียนรู จดุ ประสงคท ่วั ไป 1. มคี วามรูความเขาใจและมีทกั ษะในการใชเกจทรงกระบอก 2. มคี วามรคู วามเขา ใจและมีทกั ษะในการใชเ กจกามปู 3. มคี วามรคู วามเขาใจและมีทักษะในการใชเกจสอบรัศมี

41 จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจขนาดพิกัดความเผื่อของรดู วยเกจทรงกระบอกไดอยางถูกตอง 2. ตรวจสอบขนาดพกิ ดั ความเผือ่ ของเพลาดว ยเกจกามปูไดอยา งถูกตอง 3. ตรวจสอบรัศมีโคงของชนิ้ งานดว ยเกจสอบรศั มีไดอยางถกู ตอง สาระการเรียนรู 7.1 เกจทรงกระบอก - ลกั ษณะโครงสรางของเกจทรงกระบอก - การใชเกจทรงกระบอกตรวจสอบรู 7.2 เกจกามปู - ลกั ษณะโครงสรางของเกจกามปู - การใชเกจทรงกา มปตู รวจสอบเพลา 7.3 เกจสอบรศั มี - ลกั ษณะโครงสรา งของเกจสอบรัศมี - การใชเ กจสอบรัศมตี รวจสอบช้ินงาน กจิ กรรมการเรียนรู 1. ครูถามนักเรียนวาในการตรวจสอบเพลา และรูจำนวนมากๆ เครื่องมือที่ใชวัดควรจะมี ลกั ษณะอยา งไร 2. อธิบายลักษณะโครงสรางของเกจทรงกระบอก 3. ใหน ักเรยี นทดลองใชเ กจทรงกระบอกตรวจสอบรู 4. มอบหมายแบบฝกปฏิบัติ 5. อธิบายลกั ษณะโครงสรา งของเกจกา มปู 6. ใหน กั เรยี นทดลองใชเ กจกา มปตู รวจสอบเพลา 7. มอบหมายแบบฝก ปฏบิ ตั ิ 8. อธบิ ายลกั ษณะโครงสรา งของเกจสอบรศั มี 9. ใหนักเรยี นทดลองใชเกจสอบรศั มตี รวจสอบช้นิ งาน 10. มอบหมายแบบฝกปฏบิ ัติ 11. ใหนักเรียนชวยกันสรุปขอควรระวังและการดูแลรักษา เกจทรงกระบอก เกจกามปู เก จสอบรัศมี 12. สรปุ การใชง าน เกจทรงกระบอก เกจกา มปู เกจสอบรัศมี

42 13. แบงนักเรียนออกเปน 4 กลุม ใหใชเกจทรงกระบอก เกจกามปู เกจสอบรัศมี วัดช้ินงาน สำเรจ็ ส่ือการเรยี นรู 1. สอื่ สิ่งพมิ พ 1. หนังสือการวดั ละเอยี ด 2. หนงั สือแบบฝกปฏบิ ตั ิ การวดั ละเอยี ด 2. สื่อโสตทัศน 2.1. คอมพวิ เตอรห รอื เครื่องเลน VCD 2.2. เคร่อื งฉาย LCD โปรเจคเตอรพ รอ มจอรับภาพหรอื ทวี ี 2.3. แผน ใส 3. ของจรงิ เกจทรงกระบอก เกจกา มปู เกจสอบรศั มี การวดั ผลประเมินผล การประเมนิ ผล 1. สังเกตพฤติกรรม 2. นกั เรียนใชเกจทรงกระบอก เกจกามปู เกจสอบรัศมี วัดชนิ้ งานไดถ กู ตอง 3. ประเมนิ จากการสังเกตการใชเกจทรงกระบอก เกจกามปู เกจสอบรศั มีวัดชน้ิ งาน 4. ทำแบบทดสอบถูกตอง 50 % ขึน้ ไป 5. ตรวจแบบฝกหดั เร่อื งความรูเบื้องตน เกี่ยวกบั การวดั ละเอยี ด จำนวน 10 ขอ 6. ทดสอบหลังจบบทเรียน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook