Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เนื้อหาหน่วยที่ 2(แก้แล้ว)

เนื้อหาหน่วยที่ 2(แก้แล้ว)

Published by Sirichai Pongsiri, 2020-07-15 02:29:28

Description: เนื้อหาหน่วยที่ 2(แก้แล้ว)

Search

Read the Text Version

36 หน่วยท่ี 2 ตลาดและการจาหน่ายผลติ ภัณฑ์สตั ว์ สาระการเรียนรู้ 2.1 เศรษฐกิจการเกษตรโลก 2.2 เศรษฐกิจไทยในภาพรวม 2.3 การตลาดของผลติ ภณั ฑ์สัตว์ 2.4 การจาหน่ายและการขายผลิตภัณฑ์สัตว์ 2.5 การบรโิ ภค สาระสาคญั การศึกษาความเป็นไปได้ของตลาดและการวางแผนการตลาดที่เหมาะสม จะทาให้สามารถ ดึงดดู ลูกค้าได้ การศึกษาทางด้านการตลาดจะทาให้ทราบปัจจัยทางด้านการตลาด ผู้ประกอบธุรกิจ จะต้องวางกลยุทธ์ไว้ล่วงหน้า สาหรับแหล่งทาผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์น้ันมีท้ังหมด 4 ระดับ คือ ระดับ ครอบครัว รา้ นผลติ และจาหน่ายผลิตภัณฑ์สัตว์ หน่วยราชการและโรงงานเอกชน ซึง่ จะจดั จาหน่าย ไปตามช่องทางตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. บอกตลาดของผลิตภัณฑส์ ตั วไ์ ด้ 2. บอกความหมายของการขายได้ 3. บอกความสาคญั ของการขายได้ 4. บอกประโยชนข์ องการขายได้ 5. บอกระดับของตลาดการจาหนา่ ยผลผลิตทางการตลาดได้ 6. บอกความหมายของผู้บริโภคได้ 7. แยกประเภทความตอ้ งการสนิ ค้าของผ้บู รโิ ภคได้ 8. บอกอทิ ธพิ ลทมี่ ผี ลตอ่ การยอมรบั สนิ ค้าของผูบ้ รโิ ภคได้ 9. มีลักษณะนิสัยท่ีพึงประสงค์ ได้แก่ มีความสนใจใฝ่รู้ ความมีวินัย มีความรับผิดชอบ มีความซือ่ สัตย์ มคี วามขยนั อดทน มคี วามคิดสร้างสรรค์ มีคณุ ธรรม และมีความสภุ าพเรยี บร้อย เน้อื หาสาระ กรมเศรษฐกจิ การพาณชิ ย์(2559) ได้กล่าวไวว้ ่า จากการท่รี ะบบเศรษฐกิจของประเทศไทย มีรากฐานมาจากภาคการเกษตรมาเป็นระยะเวลานานนับต้งั แตแ่ รกของการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย โดยเริ่มต้นจากการแปรรูปสินค้าข้ันปฐม (Primary product) ในช่วง 30 ปีท่ีผ่านมา อุตส าห ก ร ร ม ก าร เก ษ ตร มีการพัฒนาขึ้นเป็นลาดับ โดยเฉพาะอย่างย่ิง การแปรรูปต่าง ๆ จนพัฒนามาเป็นการผลิตสินค้าประเภทอาหารแปรรูป ซ่ึงมีทั้งการผลิตเพ่ือบริโภคภายในประเทศ

37 และเพื่อการส่งออกโดยลักษณะเด่นของอตุ สาหกรรมอาหารแปรรูปจะควบคู่กับการพฒั นาของระบบ เศรษฐกิจ คือ การเป็นอุตสาหกรรมที่ช่วยเพ่ิมมูลค่าให้กับสินค้าเกษตรขั้นปฐม ซ่ึงสินค้าที่ผ่าน การแปรรูปดังกล่าวอาจจะอยู่ในรูปของสินค้าข้ันกลาง (Intermediate product) ซึ่งผู้ซื้อต้อง นาไปแปรรูปอีกครั้งหนึ่งก่อนที่จะนามาบริโภคหรือในรูปสินค้าขั้นสุดท้าย (Final product) ที่สามารถบริโภคได้เลย น อก จาก นั้น ยัง เป็น อุตสาหก รร มที่ใช้วัตถุดิบภายใน ปร ะ เท ศ ในสัดส่วนที่สูงอีกด้วย (Resource base industry) และนามาซงึ่ เงนิ ตราต่างประเทศจานวนมาก ในแต่ละปี อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปโดยท่ัวไปจะเน้นการใช้แรงงาน (Labor intensive) จึงเท่ากับว่าการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมนี้ ช่วยเพิ่มการมีงานทา แต่ในทางตรงกันข้าม ถา้ เกิดปัญหาเกี่ยวกับแรงงานไม่วา่ จะเปน็ เรือ่ งปัญหาค่าแรงท่สี ูงข้นึ หรือปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ก็จะเป็นอุปสรรคที่สาคัญสาหรับการขยายตวั ของอุตสาหกรรมนี้ มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา(2559) ได้กล่าวไว้ว่า ในปัจจุบันประเทศไทยเป็นประเทศ ผู้ผลิตและส่งออกสินค้าอาหารท่ีมีคุณภาพดี และมีช่ือเสียงที่สาคัญแห่งหนึ่งของโลก เนื่องจากเป็น อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในการผลิตเพ่ือการส่งออก มีความพรอ้ มทางด้านวัตถุดบิ รวมถงึ ศักยภาพ ของผู้ประกอบการไทย ท่ีสามารถพัฒนาคุณภาพ และรูปแบบของสินค้าให้เป็นที่ต้องการของตลาด ได้ ทาให้ไทยเป็นประเทศผู้ส่งออกสินค้าอาหารแปรรูปในอันดับต้น ๆ ของโลกหลายรายการ อาทิ เช่น ไก่แช่แขง็ และทนู ่ากระป๋อง เป็นตน้ ปรมิ าณการผลิตอาหารพวกเนื้อสัตวท์ ่ีผลิตได้จากโรงงาน แปรรปู มแี นวโน้มเพิ่มข้ึนเรื่อย ๆ ตามความต้องการบริโภคทม่ี ีมากขึน้ สง่ ผลให้ประเทศไทยยงั ตอ้ ง มีการนาเข้าเน้ือสัตว์จากต่างประเทศเข้ามา จากความพยายามที่จะผลิตอาหารพวกเนื้อสัตว์ ให้เพียงพอต่อความต้องการ ทาให้เกิดอุตสาหกรรมการเล้ียงสัตว์และแปรรูปเนื้อสัตว์ชนิดต่าง ๆ เพิ่มขึ้นมาก สัตว์ที่มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจในปัจจุบัน คือ สุกร โคเนื้อ โคนม แพะ แกะ ไก่ เน้ือ ไก่ไข่ และเป็ด เป็นต้น นอกจากน้ียังมีการปรับปรุงพัฒนาสัตว์ท่ีอดีตเป็นสัตว์ป่านามาเลี้ยง เปน็ สัตวเ์ ลยี้ งอีกมากมายหลายชนิด เชน่ กวาง นกกระจอกเทศ อกี ด้วย 2.1 เศรษฐกิจการเกษตรโลก สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(2559) ได้รายงานว่า สถานการณ์ด้านราคาสินค้าเกษตรและอาหารในตลาดโลก ซึ่งจัดทาโดยองค์การอาหารและเกษตร แห่งสหประชาชาติ (FAO) พบว่า ราคาอาหารเฉล่ียในปี 2559 ลดลงจากช่วงเดียวกันของปี 2558 ร้อยละ 3.8 โดยกลุ่มสินค้าที่มีราคาลดลง ได้แก่ ธัญพืช เน้ือสัตว์ และผลิตภัณฑ์นม สว่ นกลมุ่ สินคา้ ที่มรี าคาเพมิ่ ขึ้น ได้แก่ น้ามันพชื นา้ ตาล สาเหตุของราคามีการเปล่ียนแปลงนัน้ เกิดจาก 2.1.1 ราคาธัญพืชลดลง เนื่องจากผลผลิตข้าวสาลีและข้าวโพดของโลกเพ่ิมข้ึน ทาให้มี สินค้าคงคลังสูงขนึ้ 2.1.2 ราคาเนื้อสัตว์ลดลง เนื่องจากผลผลิตสุกรของโลกมีปริมาณเพิ่มขึ้น ขณะท่ี ความตอ้ งการชะลอตวั ลง 2.1.3 ราคาผลิตภัณฑ์นมลดลง เน่ืองจากอุปทานในตลาดโลกเพ่ิมข้ึนมาก ขณะที่ ความต้องการบริโภคไม่เปลย่ี นแปลงมากนัก

38 2.1.4 ราคาน้ามันพืชเพ่ิมขึ้น เนื่องจากผลผลิตปาล์มน้ามันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะมาเลเซียซ่ึงเป็นแหล่งผลิตที่สาคัญมีปริมาณลดลง ทาให้ราคาปาล์มน้ามันปรับตัวเพ่ิมขึ้น ขณะท่ีราคาน้ามันพืชชนิดอื่น ๆ เช่น ถ่ัวเหลือง ทานตะวัน และเรพซีด เป็นต้น มีทิศทางเพ่ิมขึ้น เช่นกนั 2.1.5 ราคาน้าตาลเพ่ิมขึน้ เน่ืองจากการผลติ น้าตาลของโลกลดลง ขณะทค่ี วามตอ้ งการ นา้ ตาลมแี นวโนม้ สงู ข้ึน 2.2 เศรษฐกิจไทยในภาพรวม สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ(2559) ได้กลา่ วไว้วา่ ในปี 2559 เศรษฐกิจไทยมีการขยายตัวร้อยละ 3.2 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการใช้จ่ายของครัวเรือน การลงทุนรวม การส่งออกสินค้าและบรกิ ารและท่องเที่ยวทข่ี ยายตัวเพิ่มข้ึน ท้ังนี้ มูลค่าการส่งออก สินค้าทั้งหมดของไทยอยู่ที่ 6,015,926 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2558 ซงึ่ อยูท่ ่ี 6,015,771.7 ล้านบาท หรอื เพม่ิ ข้ึนร้อยละ 3.9 ภาวะเศรษฐกิจการการเกษตรปี 2559 ลดลงร้อยละ 0.5 เมื่อเทียบกับปี 2558 โดย สาขาพืชและสาขาบริการทางการเกษตรลดลง ขณะท่ีสาขาปศุสัตว์ สาขาประมง และสาขาป่าไม้ ขยายตัวเพิม่ ขน้ึ 2.2.1 ปจั จัยทที่ าให้เศรษฐกจิ การเกษตรลดลง มีสาเหตุมาจากดังตอ่ ไปนี้ 2.2.1.1 ปรากฏการณ์เอลนีโญและสภาพอาการที่แปรปรวน ส่งผลให้มีปริมาณ น้าฝนน้อยกว่าปกติ ก่อให้เกิดภัยแล้งในหลายพื้นทข่ี องประเทศ ตั้งแต่ช่วงปลายปี 2558 ต่อเนื่อง มาจนถึงต้นปี 2559 โดยปริมาณน้าใช้การได้ในเข่ือนหลัก ต่างๆ อยู่ในเกณ ฑ์น้อยมาก กรมชลประทานจึงต้องควบคุมและจัดสรรการใช้น้า เพื่อให้ประชาชนมีน้าอุปโภคบริโภค รวมถึง การรักษาระบบนิเวศก่อน ทาให้มีปริมาณน้าไม่เพียงพอต่อการเพาะปลูกพืชหลายชนิด โดยเฉพาะ การปลกู ข้าวนาปรังในพน้ื ทลี่ มุ่ น้าเจา้ พระยาบรเิ วณภาคเหนอื ตอนล่างและภาคกลาง 2.2.1.2 การทาประมงทะเลยังคงประสบปัญหาในเร่ืองของการปรับตัวและ การปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายประมงของผปู้ ระกอบการเรอื ประมง 2.2.1.3 การสง่ ออกสนิ ค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์มที ิศทางลดลง เนอ่ื งจากเศรษฐกิจ ของประเทศจนี มีการชะลอตัว 2.2.2 ปจั จยั ทีท่ าใหเ้ ศรษฐกจิ การเกษตรเพมิ่ ข้นึ เนอื่ งจากดังตอ่ ไปนี้ 2.2.2.1 ในปี 2559 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กาหนดให้เป็นปีแห่งการลด ตน้ ทนุ การผลติ และเพิม่ โอกาสในการแขง่ ขัน 2.2.2.2 การผลิตปศุสัตวส์ ่วนใหญ่เป็นฟารม์ มาตรฐานที่มีการวางแผนการผลิตและ ดูแลอย่างเป็นระบบ แม้ปัญหาอากาศท่ีร้อนและแห้งแล้งจะกระทบต่อการเลี้ยงสัตว์ แต่ปริมาณ ผลผลิตปศสุ ตั วโ์ ดยรวมยงั คงเพ่ิมข้นึ 2.2.2.3 สถานการณ์การผลิตกุ้งทะเลเลี้ยงปรับตัวดีข้ึนมาก เน่ืองจากการจัดการ ปัญหาโรคกุ้งตายดว่ นทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ ประกอบกบั เกษตรกรมกี ารบริหารจดั การฟารม์ ท่ดี ีข้นึ

39 2.2.2.4 ราคาน้ามันเชื้อเพลิงภายในประเทศที่ทรงตัวในระดับต่า ทาให้ต้นทุน การผลติ ทางการเกษตรไม่เปล่ียนแปลงมากนัก 2.3 การตลาดของผลิตภณั ฑ์สตั ว์ ศนู ย์วิจัยและพัฒนา กรมปศุสัตว์(2559) ได้กล่าวไวว้ ่า สภาวการณ์ของตลาดสินค้า ปศุสัตว์ในปี 2559 ขยายตัวร้อยละ 2.8 เมื่อเทียบกับปี 2558 เนื่องจากมีปริมาณการผลิต สินค้าปศุสัตว์เพิ่มข้ึน ตามความต้องการบริโภคของตลาดท้ังในและต่างประเทศ ประกอบกับ ระบบฟาร์มส่วนใหญ่มีมาตรฐาน มีการเฝ้าระวังและควบคมุ โรคระบาดได้ดี ทาให้ผลผลิตปศุสัตว์ ที่สาคัญเพ่ิมข้ึนทั้งไก่เน้ือ สุกร ไข่ไก่ โคเน้ือ และนา้ นมดิบ โดยมีรายละเอียดดงั นี้ 2.3.1 ตลาดสุกรไทย การผลิตสุกรในประเทศไทยเป็นการผลิตเพื่อตอบสนองการบริโภค ภายในประเทศเป็นส่วนใหญ่ การผลิตสุกรไทยในเชิงธุรกิจพาณิชย์ในปัจจุบันสามารถผลิตสุกร ที่มีคุณภาพเป็นท่ียอมรับกันภายในประเทศ นอกจากน้ันยังมีการส่งออกไปยังตลาดต่างประเทศ ซง่ึ รูปแบบของการตลาดสุกรเพ่อื การสง่ ออกมีดงั น้ี 2.3.1.1 สุกรมีชีวิต การส่งออกค่อนข้างจะจากัดภายในทวีปเอเชียเท่าน้ัน เนื่องจากปัจจุบันฟาร์มสุกรของไทยยังประสบปัญหาเรื่องโรคและพยาธิตา่ ง ๆ โดยเฉพาะโรคระบาด ท่ีก่อให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรง เช่น โรคอหิวาตกโรคในหมู โรคปากและเท้าเป่ือย เป็นต้น ลกู ค้าของไทยสาหรบั ตลาดสกุ รมีชีวิต ได้แก่ ฮ่องกง และสงิ คโปร์ 2.3.1.2 เนื้อสุกร ปริมาณการส่งออกมีการเปลี่ยนแปลงทุกเวลา เนื่องจาก มกี ารเปลี่ยนแปลงของราคาตามภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศและของต่างประเทศ ตลาดส่วนใหญ่ จะเป็นในทวีปเอเชีย เช่น ฮอ่ งกง ญ่ีปุ่น มาเลเซยี และอินโดนีเซยี เป็นตน้ สถานการณ์การผลิตเน้อื สุกรของโลกในปี 2559 เพิ่มข้ึนร้อยละ 0.3 ตามความต้องการ ของผู้บริโภคท่ีเพิ่มขึ้นและคาดการณ์ว่าการผลิตสุกรของโลกในปี 2559 เท่ากับ 111,011 พันตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 เมื่อเทียบกับปี 2559 ประเทศท่ีมีการผลิตสุกรเพ่ิมขึ้น คือ จีน สหภาพ - ยโุ รป บราซิล รสั เซีย และเวยี ดนาม อย่างไรก็ตาม จีนยังคงมีความต้องการนาเขา้ เนื้อสุกรเพ่มิ ข้ึน เท่ากับ 2,120 พันตัน เน่ืองจากผลผลิตภายในประเทศไม่เพียงพอ สาหรับไทยในปี 2559 มีปริมาณการผลิตสุกร 17.10 ล้านตัว ขยายตัวเพิ่มขึน้ จากปี 2558 ร้อยละ 4.4 และเกดิ ปัญหา ปรมิ าณสุกรล้นตลาดในช่วงปลายปี 2559 ทาให้ราคาไม่จูงใจให้เกษตรกรเพิ่มปริมาณการผลิตในปี 2559 ดงั นนั้ คาดวา่ ราคาจึงมีแนวโนม้ สูงข้ึน ในขณะทค่ี วามตอ้ งการผลผลิตสุกรร้อยละ 94 จะถูก นามาใชเ้ พอื่ การบรโิ ภคภายในประเทศ และอีกรอ้ ยละ 6 ส่งออกไปตา่ งประเทศ คือ กมั พูชา และ ลาว ท่มี ีการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากกว่าร้อยละ 6 และมีความตอ้ งการจากประเทศญ่ีปุ่นอีกด้วย ซึ่งภาวการณ์แข่งขันในปี 2559 คาดว่าจากนโยบายของประธานาธิบดีคนใหม่ของสหรัฐอเมริกา ท่ีจะชะลอการสนับสนุนความตกลงหุ้นส่วนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจเอเชีย – แปซิฟิก แต่ตลาดสุกร ไม่ถกู บังคับให้นาเข้าเนื้อสุกรจากสหรัฐอเมริกา ในภาวะท่ีการผลติ เนื้อสุกรคอ่ นข้างเป็นปกติ ดังน้ัน รฐั บาลจงึ มีนโยบายรัฐ โดยใหค้ วามสาคญั ต่อการเตรยี มความพร้อมรับมอื โรคปากและเท้าเปอ่ื ย และ โรคเพิร์ธ ซ่ึงได้สร้างความเสียหายให้กับการผลิตสุกรขุนของไทยเป็นอย่างมากในช่วง 2 – 3 ปี ท่ีผ่านมา ดังนั้น หากเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรสามารถระมัดระวังป้องกันโรคดังกล่าวได้ จะทาให้

40 สามารถเพิ่มประสิทธภิ าพการผลิตสุกรในประเทศ เพื่อรองรับความต้องการของตลาดทั้งในประเทศ และตา่ งประเทศไดม้ ากขึ้น 2.3.2 ตลาดโคเนื้อ อัตราการขยายตัวของจานวนโคเนื้อลดลงเฉลี่ยร้อยละ 8.48 ต่อปี เน่ืองจากราคาเนื้อโคค่อนข้างต่าจึงไม่จูงใจให้มีการขยายการเลี้ยง นอกจากน้ียังเกิดการแพร่ข่าว โรคระบาดทาให้ผู้บริโภคเกิดความไม่มีความม่ันใจในด้านความปลอดภัย ดังน้ัน รัฐบาลมีแผนการ ที่จะส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตโคเนื้อเพ่ิมมากขึ้น กลยุทธ์ในการดาเนินการก็มีมากมาย แตก่ ารผลิตก็ยังไม่เพยี งพอต่อความต้องการ จึงได้มกี ารลักลอบนาเข้าโคมีชีวติ จากประเทศเพ่อื นบ้าน เนื่องจากเนือ้ โคขนุ ทผ่ี ลิตขึน้ ภายในประเทศมีไมเ่ พียงพอและคณุ ภาพยังดอ้ ยกว่าการนาเข้า ตลาดเนอื้ โคใน ประเทศแบ่งได้ ดังนี้ 2.3.2.1 ตลาดพื้นบ้าน เป็นตลาดที่อยู่ในหมู่บ้าน ชุมชนในชนบท โคเนื้อท่ีได้ จะเป็นเนือ้ โคที่ปลดระวางหรอื โคแก่ ภายในหมู่บา้ นหรือพ่อคา้ ซอ้ื มาจากหมู่บ้านใกลเ้ คียง 2.3.2.2 ตลาดในเมือง เป็นตลาดที่อยู่ในชุมชนขนาดใหญ่ เช่น อาเภอ หรือ จงั หวดั ความต้องการบริโภคเน้ือโคสงู และต้องการเน้ือท่ีมีคุณภาพดีกว่าตลาดพ้ืนบ้าน เนื้อโคได้จาก โคมัน โคมัน หมายถึง โคแก่ท่ีเกษตรกรนามาขุนอีกประมาณ 3 – 4 เดือน โดยมีการให้อาหารหยาบ เตม็ ทีแ่ ละมีการเสรมิ อาหารขน้ ใหด้ ้วย ดงั นัน้ จงึ สงั เกตได้ว่าเนอื้ โคชนิดน้ีมไี ขมนั สีเหลือง 2.3.2.3 ตลาดใน ห้างสรรพ สิน ค้า ตลาดชนิดน้ีมีเฉพ าะใน เมืองใหญ่ ๆ โดยห้างสรรพสินค้าจะมีพื้นท่ีส่วนหนึ่งเป็นตลาดอาหารขายสินค้าประเภทเนื้อสัตว์ต่าง ๆ ซ่ึงเน้ือโค ในตลาดน้ีจะเปน็ โคขนุ โคขุน หมายถึง โคพนั ธ์ุเน้อื ท่ีมีการเล้ยี งดู การใหอ้ าหาร การจัดการอยา่ งดี และฆา่ ท่ีอายุไม่เกิน 3 ปี เนอ้ื ที่ไดจ้ ะมีการบรรจโุ ดยการแยกชน้ิ สว่ นตามคุณภาพของเนอ้ื โดยบรรจุ ในถาดโฟม แชใ่ นตู้เยน็ และเนื้อแตล่ ะส่วนมรี าคาต่างกัน (ดงั ภาพที่ 2.1) 2.3.2.4 ตลาดเนื้อนาเข้าจากต่างประเทศ เนื้อชนิดนี้ต้องนาเข้าจากต่างประเทศ เป็นเน้ือคุณภาพสูง ราคาแพง ซ่ึงผู้บริโภคหาซ้ือได้จากร้านขายเน้ือโดยเฉพาะหรือหาบริโภคได้ ในภัตตาคารตามโรงแรมชนั้ หนง่ึ ท่วั ไป

41 ภาพที่ 2.1 เนอ้ื โคท่จี าหน่ายในประเทศไทย ทีม่ า : แนวหน้า(2559) 2.3.3 ตลาดไก่เนื้อ ศูนย์วจิ ัยและพัฒนากรมปศุสัตว์(2559) ได้กล่าวไว้ว่า อุตสาหกรรม การผลิตเนื้อไก่ของไทยได้มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว โดยมีปัจจัยเกื้อหนุน ต่อการพัฒนาการเล้ียง คือ พนั ธุด์ มี ีประสทิ ธิภาพการใช้อาหารสงู มีอัตราการเตบิ โตรวดเร็วและ การจัดการฟาร์มท่ีดีเยี่ยม แม้ว่าเนื้อไก่จะเป็นโปรตีนที่มีราคาต่าสุด ในราคาเน้ือสัตว์เศรษฐกิจ แต่อัตราการบริโภคต่อตัวของประชากรไทยมีค่าเฉลี่ยเพียง 10.2 กิโลกรัมต่อปี การผลิตเน้ือไก่ ของไทยมากกว่าร้อยละ 50 เพื่อการบริโภคภายในประเทศ ปรมิ าณการผลิตเนื้อไก่ของโลกเพิม่ ข้ึน โดยเพิ่มข้ึนเฉล่ียร้อยละ 10 - 15 ต่อปี ประเทศไทยมีสถานะเป็นผู้ส่งออกติด 1 ใน 5 ของโลก โดยส่งออกไก่ได้ประมาณ 7.5 แสนตัน มูลค่ากวา่ 9.6 หมนื่ ล้านบาท เนือ่ งจากประเทศญ่ปี ุ่นและ เกาหลีใต้มีการนาเข้าไก่สดแช่แข็ง แช่เย็น และไก่แปรรูปเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ืองและประเทศ ซาอุดิอาระเบียที่จะกลับมาซื้อไก่สดจากประเทศไทย ตลาดส่งออกหลักของประเทศไทย คือ ประเทศญี่ปุ่น สัดส่วนร้อยละ 50 สหภาพยุโรป ร้อยละ 40 ที่เหลือร้อยละ 10 ส่งออกไป ประเทศเกาหลีใต้ ฮ่องกง สิงคโปร์ มาเลเซยี ตะวนั ออกกลาง และตลาดอื่น ๆ โดยมีประเทศบราซิล เป็นผู้ผลิตและส่งออกไก่เนื้อเช่นเดียวกับประเทศไทย แต่ไทยยังค่อนข้างได้เปรียบด้านต้นทุน การขนสง่ ในภมู ภิ าคเอเชยี โดยเฉพาะการสง่ ออกไปประเทศญปี่ ุ่น อกี ทัง้ คุณภาพของการตดั แตง่ เนื้อ และการแปรรูปไก่ของไทยมคี ุณภาพมาตรฐานเป็นท่ียอมรับของตลาดโลก (ดังภาพท่ี 2.2) อย่างไรก็ตาม ไทยยังเผชิญปัญหาต้นทุนอาหารสัตว์ที่เพ่ิมสูงข้ึน ปัญหาค่าเงินบาทและค่าเงินของประเทศคู่ค้าท่ีมี ความผันผวน ตลอดจนภาวะเศรษฐกิจโลกท่ีส่งผลกระทบ ทาให้การส่งออกไก่ของไทยไม่เป็น ไปตามที่คาดการณ์ ดังน้ัน รัฐบาลจึงมีนโยบายภาครัฐ ในการยกเว้นการเก็ บค่าอากรและ คา่ ธรรมเนียมจาหนา่ ยเนือ้ สตั ว์เพ่อื ช่วยลดต้นทุนการสง่ ออกและสรา้ งความไดเ้ ปรียบเรื่องราคา สง่ ผล ใหไ้ ทยสามารถส่งออกไก่เนือ้ ได้เพ่มิ ขน้ึ ซ่ึงจะเป็นการสนับสนุนใหอ้ ตุ สาหกรรมไกเ่ น้อื ของไทยสามารถ แข่งขันกับประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกา และประเทศผู้ส่งออกอื่น ๆ ได้ จนกระทั่งอุตสาหกรรม

42 ไก่เนื้อไทยได้รับความเช่ือม่ันจากนานาประเทศ ซึ่งเป็นปัจจัยบวกท่ีจะทาให้ราคาไก่เน้ือมีทิศทาง เพม่ิ ขน้ึ ทัง้ ราคาภายในประเทศและราคาสง่ ออก ภาพท่ี 2.2 การชาแหละเนอื้ ไก่ทไี่ ด้มาตรฐานของประเทศไทย ท่มี า : ประชาชาติธรุ กจิ (2559) รูปแบบสินค้าไก่เนื้อที่ส่งออกไปยังต่างประเทศ โดย มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา(2559) ได้แบง่ ออกเปน็ 2 รูปแบบ คอื 2.3.3.1 ไก่เนื้อแชแ่ ข็ง โดยมปี ระเทศที่เปน็ คูค่ ้าหลัก คอื ญป่ี ุ่น เยอรมันนี สิงคโปร์ และฮ่องกง เน้ือไก่แชแ่ ขง็ มี 2 ประเภท คอื 1) ไกช่ าแหละแช่แขง็ ท้งั ตวั 2) ไก่ตดั แต่ง เช่น เนอ้ื อก สนั ใน ขา ปีก นอ่ ง และสะโพก 2.3.3.2 ผลิตภัณฑ์ไก่ แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ 1) ผลิตภัณฑ์เนื้อไก่สด เช่น ยากิโตริ (ไก่เสียบไม้แช่แข็ง) เน้ือน่อง ชุบแปง้ ขนมปังแช่เยือกแข็ง เปน็ ต้น 2) ผลิตภัณฑ์เนื้อไก่กึ่งสด เช่น เน้ือไก่ชุบแป้งพันสาหร่ายทอดก่ึงสุก นอ่ งไก่ชบุ แปง้ ทอดก่ึงสกุ 3) ผลิตภัณฑ์เน้ือไก่สุก เช่น ปีกไก่ชุบแป้งทอด ลูกชิ้น ไก่เสียบไม้ย่าง กะหล่าปลหี อ่ เนอื้ ไก่สุก เป็นต้น 2.3.4 ตลาดเนอ้ื แพะ ความนิยมชมชอบในการบริโภคเนื้อแพะและนมแพะปัจจุบนั ยังไม่มี มากนัก ทั้งน้ี เน่ืองจากความคิดเดิม ๆ ท่ีส่วนใหญ่มักจะคิดว่าผลผลิตที่มาจากแพะมีกลิ่นสาบ การบริโภคเน้ือแพะในประเทศยังไม่ได้รับความนิยมมากนัก การบริโภคยังมีอยู่ในกลุ่มเล็ก ๆ เช่น แถบจังหวัดชายแดนภาคเหนอื และภาคใต้ ลักษณะของตลาดเนือ้ แพะในประเทศไทยจะคลา้ ยคลงึ กับ ตลาดเนอื้ แพะในประเทศมาเลเซีย ตลาดเน้ือแพะทส่ี าคัญนอกจากตลาดเน้ือแพะในประเทศมาเลเซีย แลว้ ยังมปี ระเทศอินโดนเี ซยี ฟจิ ิ และกล่มุ ประเทศอาหรับในตะวนั ออกกลาง 2.3.5 ตลาดเน้ือแกะ การบริโภคยังไม่เป็นท่ีแพร่หลายมากนัก ส่วนใหญ่จะบริโภค เนอื้ แกะในกลุม่ ของคนไทยมุสลิม ชนชาวเขา และชาวกะเหรย่ี ง

43 2.3.6 ตลาดเป็ดเน้ือ การจาหน่ายเป็ดเนื้อในปัจจุบันยังสามารถจาหน่ายและยังเป็น ทต่ี อ้ งการของตลาดได้เป็นอย่างดโี ดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในช่วงเทศกาลตรษุ จีน 2.3.7 ตลาดกวาง การจาหน่ายผลผลิต เช่น เนื้อกวาง เขากวางอ่อน หรือหนังกวาง โดยเฉพาะเขากวางออ่ นอบแห้งเป็นอาหารทช่ี าวเอเชียนิยมรบั ประทาน ราคาเขากวางอาจมีราคาสูง ถึงกิโลกรัมละ 20,000 ถึง 30,000 บาท ปัจจบุ นั ประเทศนิวซีแลนด์เปน็ ประเทศผสู้ ่งออกเขากวางอ่อน ที่สาคัญท่ีสดุ ของโลก สาหรับตลาดเขากวางอ่อนในประเทศไทยยงั มีศกั ยภาพขยายตัวไดอ้ กี มาก 2.3.8 ตลาดนกกระจอกเทศ นกกระจอกเทศเมื่อมีอายุประมาณ 10 – 14 เดือน จะมี น้าหนัก ประมาณ 90 – 110 กิโลกรัม เป็นวัยที่มีอัตราการเจริญเติบโตสูงสุด แต่ต้นทุนการผลิต ต่า นกกระจอกเทศจะถูกส่งเข้าโรงงานแปรรูปเม่ืออายุ 12 – 14 เดือน ซึ่งจะมีน้าหนักประมาณ 85 – 110 กโิ ลกรมั ผลผลิตที่สาคัญ คือ เนื้อนกกระจอกเทศซึ่งเนื้อมีสีแดงและรสชาติคล้ายเน้ือโค (ดังภาพท่ี 2.3) แต่ไขมันและโคเลสเตอรอลต่ากว่าเนื้อโคมาก ซึ่งจะเหมาะสมสาหรับผู้มีปัญหา เร่ืองเกี่ยวกับสุขภาพและผู้ไม่รับประทานเนื้อโค เน้ือนกกระจอกเทศมีราคาสูง ราคาจาหน่าย ภายในประเทศรวมค่าจัดส่ง กิโลกรัมละ 100 บาท สาหรบั ราคาในตา่ งประทศประมาณกิโลกรมั ละ 500 – 800 บาท นอกจากน้ยี ังมีผลผลิตอ่ืน ๆ อีก เชน่ หนัง ขน และ ไข่ มีรายละเอยี ดดังน้ี ภาพที่ 2.3 เนือ้ นกกระจอกเทศ ทีม่ า : Fermer(2019) 2.3.8.1 หนัง ขนาดประมาณ ตัวละ 1.2 – 1.4 ตารางเมตร หนังของ นกกระจอกเทศที่มีคุณภาพดีจะมีราคาสูงมาก และแพงกว่าหนังจระเข้ หนังนกกระจอกเทศ ส่วนใหญ่นิยมนาไปทารองเท้าบู๊ต กระเป๋า เข็มขัด เสื้อแจ๊คเก็ต และส่วนประกอบของเฟอร์นิเจอร์ เปน็ ตน้ 2.3.8.2 ขน นกกระจอกเทศสามารถให้ขนไดป้ ีละ 2 คร้งั น้าหนักรวมประมาณ 1.5 – 2 กิโลกรัม นิยมนาไปทาเคร่ืองประดับ ตกแต่งเส้ือผ้า ดอกไม้ และท่ีสาคัญคือ ใช้ทา ไมป้ ัดฝุ่น ซึ่งเหมาะที่จะใช้กับเครือ่ งคอมพิวเตอร์หรอื เครอื่ งอิเล็กโทรนคิ ทบ่ี อบบาง

44 2.3.8.3 ไข่ เนื่องจากไข่นกกระจอกเทศมีขนาดใหญ่มีน้าหนักฟองละประมาณ 900 – 1,650 กรัม และเปลือกมีสีสวยจึงนิยมนาไข่ท่ีไม่ใช้หรือไข่เช้ือตายมาแกะสลักหรือ วาดลวดลายบนเปลอื กไข่ ขายไดถ้ ึงฟองละ 1,000 – 3,000 บาท 2.4 การจาหนา่ ยและการขายผลติ ภณั ฑ์สัตว์ 2.4.1 ความหมายของการขาย อรุณณี(2559) ได้กลา่ วไวว้ า่ การขาย (Selling) หมายถงึ การวิเคราะห์ความต้องการและความจาเป็นที่จะต้องซ้อื สนิ ค้า หรือคาดว่าจะซ้ือสินค้า เพื่อนาข้อมูลความต้องการของผู้ซื้อมาสร้างผลิตภัณฑ์สินค้าที่มีขนาด สีสัน จานวน ตรงตามความต้องการของลูกค้า ซึ่งข้อมูลความต้องการของลูกค้าอาจจะได้มาจาก การสุม่ ตวั อย่างหรือขอ้ มลู ทางการวจิ ยั การบริหารงานขาย (Sale management) จากความหมายของสมาคมการตลาดแห่ง สหรัฐอเมริกา (AMA) ได้ให้ความหมายว่า การวางแผน การควบคมุ การขายและการบังคับบัญชา รวมถึงการจัดหา การเตรียมงาน การคัดเลือก การมอบหมายงานให้ปฏิบัติการกาหนดเส้นทาง การขาย การจงู ใจพนกั งาน การจ่ายค่าตอบแทนพนกั งาน และการเตรยี มงานการขาย การขายโดยพนักงาน (Personal selling) หมายถึง การนาผลิตภัณฑ์หรอื สินค้าที่ผลิตจาก บริษัทไปขายหรือจาหน่ายถึงมือลูกค้า โดยพนักงานขายของบริษัท โดยพนักงานทาการโอน กรรมสิทธ์ิในสินค้าให้แก่ลูกค้า โดยใช้เอกสารทางธุรกิจของทางบริษัท ซ่ึงพนักงานจะมีหน้าท่ี เปิดการเสนอขายสินคา้ ด้วยเทคนคิ และวิธีการต่าง ๆ 2.4.2 ความสาคัญของอาชีพการขาย อรุณณี(2559) ได้กล่าวไว้ว่า อาชีพการขาย มคี วามสาคัญดังต่อไปนี้ 2.4.2.1 การขายช่วยให้เกิดธุรกิจต่าง ๆ ขึ้น และเกิดการไหลเวียนเงินตราส่งผลให้ เศรษฐกจิ เจริญรงุ่ เรือง พนกั งานขายถอื วา่ เป็นผ้ทู ่ีมหี น้าที่สาคัญในธุรกิจ ทที่ าให้เศรษฐกิจการผลิตกับ ผ้บู รโิ ภคไดม้ ีการประสานกัน โดยผู้บริโภคเสนอความต้องการ โรงงานเป็นผ้ผู ลิต พนักงานขายเป็น ผนู้ าสนิ คา้ ไปสู่ผบู้ รโิ ภค 2.4.2.2 การขายมีความสาคัญต่อสังคมอย่างมาก การขายมีส่วนให้สังคมโดยนา สินค้าจากโรงงาน อุตสาหกรรมมามอบให้สังคม ตลอดจนเงินภาษีที่โรงงานอุตสาหกรรมจ่ายให้กับ รัฐบาลและเงินตราที่โรงงานบริจาคช่วยส่วนรวม เช่น โครงการต่อต้านยาเสพติด โครงการ เมาไม่ขบั เป็นตน้ 2.4.2.3 การขายเป็นงานที่สามารถสนองความต้องการของมนุษย์ ซึ่งมนุษย์มี ความตอ้ งการในหลายเร่ือง เร่ืองเบ้ืองต้นก็คอื ปัจจยั 4 จากน้ันก็ตอ้ งการสนิ ค้าต่าง ๆ อกี จานวนมาก ยกตัวอยา่ ง เช่น เครื่องสาอางประจาตวั สภุ าพสตรี เช่น สบู่ ครมี ลา้ งหน้า แปง้ ทาหน้า ยาสระผม ลิปสติก ครีมบารุงผิว ฯลฯ ฉะน้ัน บริษัทหรือโรงงานต่าง ๆ พยายามผลิตขึ้นเพื่อตอบสนอง ความต้องการของมนุษย์ พนักงานขายมีหน้าท่ีนาสินค้าดังกล่าวออกมาเผยแพร่ จะทาให้เกิด การไหลเวยี นเงินตราภายในประเทศเพ่มิ ขึน้ สง่ ผลใหเ้ ศรษฐกิจเจรญิ รุ่งเรอื ง

45 2.4.3 แนวความคิดเกี่ยวกับการขาย อรุณณี(2559) ได้กล่าวไว้ว่า การผลิตสินค้าและ บริการต่าง ๆ น้ัน สง่ิ ท่ีสาคัญอีกประการหนึ่งที่ขาดไม่ได้ คือ แนวความคดิ เก่ียวกับการขาย ซึ่งแบ่งออกเป็น ระยะได้ ดงั นี้ 2.4.3.1 ระยะการผลิตเป็นหลัก การผลิตถือว่ามีความสาคัญมากเพราะบริษัทหรือ โรงงานใดก็แล้วแต่ จะผลิตสินค้าออกสู่ลูกค้าและผู้บริโภคไม่ต้องมีข้อมูลและช่วงเวลาความต้องการ ของลูกค้า เช่น บริษัทที่ผลิตขายสมุดหนังสือ ความต้องการของลูกค้าจะมากช่วงเปิดเทอม สว่ นกลางเทอมและปลายเทอม ความต้องการจะไม่มากนัก ฉะนั้น บริษัทต้องมีช่วงระยะการผลิต คือ ก่อนเปิดเทอม เพ่ือทาการปรับปรุงสินค้าที่ผลิตให้มีคุณภาพสามารถสู้กับตลาดคู่แข่งได้ โดยระยะช่วงในการผลิตอาจจะทาการปรับปรุงเนื้อหา รูปภาพ และสสี นั ต่าง ๆ ของหนงั สือให้ดขี ึ้น หรือทาการปรบั ปรงุ ระบบการบริหารการจดั การและเทคโนโลยใี นการผลติ ให้ทนั สมัยย่ิงข้นึ 2.4.3.2 ระยะการขายเป็นหลัก เป็นระยะเวลาทมี่ ีการผลิตสินค้าออกมาและขายให้กับ ผู้บริโภค ในช่วงน้ีลูกค้าจะมีความต้องการสินค้าหรือบริการมากข้ึน ฉะน้ัน จึงจาเป็นท่ีจะต้อง ดาเนินการใด ๆ ก็แล้วแต่ให้สินค้ากระจายถึงลูกค้ารายย่อยให้ได้เพราะลูกค้ารายย่อยจะทาการ กระจายสินค้าไปถึงผบู้ รโิ ภคได้ท่ัวท้ังภูมิภาค 2.4.3.3 ระยะของการตลาดในฐานะเป็นหน่วยหนึ่งของธุรกิจ ฝ่ายการตลาด ถูกยกฐานะให้เป็นฝ่ายหน่ึงของบริษัท เน่ืองจากมีการแข่งขันมากข้ึน ผู้ผลิตต้องพยายามปรับปรุง สนิ คา้ และบรกิ ารให้ดีขึน้ เพ่ือตอบสนองความต้องการของลกู คา้ และสามารถสกู้ บั คู่แข่งตา่ งบรษิ ทั ได้ 2.4.3.4 ระยะของการตลาดในฐานะเป็นนโยบายหลัก เมื่อสินค้าที่ผลิตออกสู่ ท้องตลาดเป็นระยะเวลาพอสมควร บริษัทโดยผู้จัดการฝ่ายขายหรือพนักงานขายจะทราบ ความต้องการสินค้าและบริการของลูกค้าทั่วประเทศว่า มีความต้องการสินค้าโดยเฉล่ียเดือนละ ประมาณเท่าใดก็จะนาข้อมูลนั้นมาผลิตสินคา้ ให้มีเพียงพอกับความต้องการของลูกค้าและกาหนดเป็น นโยบายหลกั ในการผลติ ประจาปตี ่อไป 2.4.4 ประเภทของการประกอบอาชีพ ทางการขาย ศิริพร(2559) ได้กล่าวไว้ว่า การประกอบอาชีพการขายสินค้าและบริการมีมากมายหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับสินค้าและบริการ ท่ีเสนอขาย เพ่ือให้สินค้าที่ผลิตออกมาสู่ลูกค้าถึงมือผู้บริโภคได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ จงึ แบง่ ประเภทของการประกอบอาชีพทางการขายออกเป็นประเภทตา่ ง ๆ ดังนี้ 2.4.4.1 การขายปลีก (Retail selling) หรือที่เรียกว่า “รีเทล เซลล์ลิ่ง” ลักษณะ การขายทีม่ ุ่งให้กับลูกคา้ หรอื ผู้บรโิ ภคในขน้ั สุดทา้ ย แยกออกได้ดงั ต่อไปนี้ 1) การขายในร้าน การขายในร้านเป็นการขายของร้านขายปลีกทุกประเภท เช่น ร้านขายของราคาถูก ร้านขายของแบบลูกโซ่ ร้านขายของท่ัวไป ร้านขายของเฉพาะอย่าง และซุปเปอร์มาร์เกต็ เป็นต้น (ดงั ภาพท่ี 2.4) 2) การขายนอกร้าน ได้แก่ การขายตามสถานที่ทางาน (Door to door selling) หรือท่ีเรียกว่า “ดอร์ ทู ดอร์ เซลล์ล่ิง” และขายถึงประตูบ้าน เช่น การขายเครื่องสาอาง ของบรษิ ทั ขายตรงตา่ ง ๆ การขายประกัน การขายอาหารเสริม และการขายเคร่ืองใช้ไฟฟ้า เปน็ ตน้

46 ภาพที่ 2.4 ร้านขายปลกี ทมี่ า : ทิพาพร(2560) 2.4.4.2 การขายในอุตสาหกรรม (Industrial selling) หรือที่เรียกว่า “อินดัสเทรียล เซลลล์ ่งิ ” สามารถจาแนกตามลกั ษณะของผซู้ ื้อสินคา้ โดยมีการขาย ดงั ลักษณะตอ่ ไปนี้ 1) การขายให้แก่พ่อค้าคนกลาง โดยพ่อค้าคนกลางส่งขายให้พ่อค้าปลีก พ่อค้าปลีกขายสง่ ตอ่ ให้ผบู้ ริโภค 2) การขายให้แกอ่ งค์การธุรกิจ หรือบรษิ ัทอ่ืน โดยที่องคก์ ารธุรกจิ หรอื บริษัท เหล่านจ้ี ะนาเอาวัสดุ อปุ กรณ์หรือสนิ ค้าท่ีซือ้ มาประกอบเป็นสินคา้ และนาส่งออกขายตอ่ ไป น อกจากนี้ การขายใน อุตสาหกรรมยังจาแน กเป็นรูปแบบต่าง ๆ ได้อีก ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี 1) การขายเพ่ือการค้า (Trade selling) หรือที่เรียกว่า “เทรด เซลล์ล่ิง” การขายแบบนี้เป็นความพยายามเพม่ิ ยอดขายของลูกค้ารายเดิม และลกู คา้ รายใหม่ทก่ี จิ การคาดหวังไว้ 2) การขายสาหรับธุรกิจรายใหม่ (New business selling) หรือท่ีเรียกว่า “นวิ บวิ สเิ นส เซลล์ล่งิ ” พนักงานจะรับคาส่งั ซื้อจากลูกคา้ รายใหม่ ทไ่ี มเ่ คยติดตอ่ กนั เลย 3) การขายเพื่อการส่งเสริมการจาหน่าย (Missionary selling) หรือท่ีเรียกว่า “มิสชั่นนารี เซลล์ลิ่ง” พนักงานขายจะทาหน้าท่ีเป็นตัวแทนผู้ผลิตทาการตดิ ต่อกับลูกค้ารายเดิมและ ลกู คา้ รายใหม่ แล้วคอ่ ยให้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวสินค้าและบริการ พนกั งานขายประเภทนีไ้ ม่รับคาส่ังซ้ือ จากลูกค้าโดยตรง แต่จะช้ีแนะให้ลูกค้าซ้ือสินค้าของกิจการจากตัวแทนจาหน่ายในจังหวัดและ เขตพ้นื ท่นี น้ั ๆ 4) การขายสินค้าเทคนิค (Technical selling) หรือท่ีเรียกว่า “เทคนิคอล เซลล์ล่ิง” ต้องใช้พนักงานขายที่มีความรู้ ความสามารถในการประกอบ แก้ไข และสาธิตสินค้า ประเภทน้นั ได้ดว้ ย 2.4.5 เทคนิคการสร้างความสาเร็จในอาชีพทางการขาย ไทยเอสเอ็มอีเอสเซ็นเตอร์(2559) ได้กล่าวไวว้ ่า พนักงานขายที่ดี ต้องเตรียมพร้อมที่จะเผชิญกับปัญหาทา้ ทายและปัญหาที่แปลกใหม่ ซง่ึ อาจเกิดข้นึ ในการดาเนนิ การขาย ดังน้นั พนกั งานขายจาเปน็ ตอ้ งมีเทคนิคในการดาเนินงานการขาย ซึง่ มีรายละเอียดดังตอ่ ไปนี้

47 2.4.5.1 มีการตัดสินใจที่ดี โดยการใช้ประสบการณ์ที่ผ่านมาในอดีตเป็นข้อมูลในการ ตัดสินใจ 2.4.5.2 ต้องรู้เขารู้เรามีความรู้เรื่องคู่แข่งขันต่างบริษัท ลูกค้า และนโยบายของ แตล่ ะบริษทั ในการขาย 2.4.5.3 มีความคิดริเริ่มรวดเร็วและเรียบร้อย ในการทาการขายต้องเผชิญกับ ปัญหามากมาย ฉะน้ันต้องเป็นคนที่ปรับปรุงตัวให้ทันสมัยตลอดเวลานับเป็นส่ิงท่ีสาคัญอย่างยิ่ง พนักงานขายโดยท่ัวไปควรมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ท่ีดี เพ่ือนามาปรับปรุงใช้กับงานขายที่ต้อง เผชิญหน้ากับคแู่ ข่งในตลาดอย่ตู ลอดเวลา 2.4.5.4 เข้าใจในคุณลักษณะ คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์สามารถอธบิ าย ประกอบและ ถอดเก็บวัสดุอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ได้ 2.4.5.5 มีเทคนิควิธีการดาเนินการขาย เช่น ขายโดยเงินสด เงินผ่อน เครดิต ระยะสั้น และระยะยาวตามความเหมาะสมของลกู ค้าแต่ละคน 2.4.5.6 จัดเตรียมอุปกรณ์การขายให้พร้อม เช่น แค็ตตาล็อก คู่มือการขายและ เอกสารที่สาคญั เกยี่ วกับการขายและขาดเสียไมไ่ ด้ คือ ตวั อยา่ งสนิ คา้ และการทดลองสินคา้ ใหล้ ูกค้าดู 2.4.5.7 ต้องมีการแสวงหาลูกค้าใหม่ ๆ อย่างสม่าเสมอและหม่ันเย่ียมเยียนลูกค้าเก่า สอบถามปัญหาอปุ สรรคตา่ ง ๆ ของสินค้า เพอื่ หาทางปรบั ปรุงแก้ไขให้มคี ุณภาพดียิ่งข้นึ ตอ่ ไป 2.4.5.8 ต้องปฏิบัติตนเองให้เป็นผู้ที่มีความน่าเชื่อถือ ศรัทธา เช่น โดยการ แต่งกายสุภาพเรยี บร้อย พูดจาออ่ นโยนและเขา้ พบลูกค้าตรงตามเวลาที่กาหนด 2.4.5.9 ต้องมีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพการขาย ต้องมีความซ่ือสัตย์สุจริต ไมฉ่ ้อโกงบริษัทและหลอกลวงลูกคา้ 2.4.5.10 ต้องศึกษาข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับงานขายและข้อมูลอื่น ๆ เป็น ประโยชน์ตอ่ การทางานการขาย อาชพี นักการขายต้องเป็นผทู้ ี่มีความรู้กว้างขวาง ทันต่อเหตกุ ารณ์ และสภาพเศรษฐกจิ และสงั คม หมน่ั ศึกษาหาเทคนิคและวธิ ีการขายแบบใหมอ่ ยู่เสมอ 2.4.6 ประโยชนข์ องการขาย ชานาญ(2560) ไดก้ ล่าวไว้ว่า 2.4.6.1 ประโยชนข์ องการขายท่มี ผี ลตอ่ การพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คม คือ 1) การขายช่วยใหเ้ กดิ ธุรกจิ ต่าง ๆ ข้ึนและเกดิ การไหลเวียนของเงินตราส่งผลให้ เศรษฐกจิ รุง่ เรือง 2) การขายช่วยตอบสนองความพอใจให้กับมนุษย์และเอื้ออานวยให้ระบบ เศรษฐกจิ พฒั นาไปด้วยดี 3) การขายเป็นตัวหลักที่จะกากับหรือสร้างงานให้กับหน้าท่ีงานอื่น ๆ เช่น การซื้อ การผลิต การขาย การขนส่ง ฯลฯ มีอานาจกาหนดผลกาไร ต้นทุนในการผลิต การจ้าง แรงงาน การขยายกาลงั การผลติ ขององค์การธรุ กิจ ทงั้ ภาคเอกชนและภาครฐั

48 2.4.6.2 ประโยชนข์ องการขายทีม่ ผี ลต่อองคก์ ารธุรกิจ มีดังนีค้ ือ 1) การขายตอ้ งทาให้องค์การธรุ กิจวางนโยบาย ถงึ แม้วา่ พนกั งานทุกคนไมไ่ ดท้ า หน้าที่ขาย แต่ก็ได้กาหนดให้พนักงานทุกคนสร้างบุคลิกภาพที่ดี หน้าตาย้ิมแย้มแจ่มใส มีความกระตือรือร้นในการทางาน ให้การต้อนรับลูกค้าด้วยไมตรีจิตท่ีดี มีความจริงใจ พร้อม ให้บริการ ช่วยเหลือ แนะนา และแก้ปัญหาให้แก่ลูกค้าด้วยความเต็มใจ ท้ังน้ีเพื่อเหตุผลท่ีสาคัญ คอื ตอ้ งการให้การดาเนนิ ธรุ กิจประสบผลสาเร็จ 2) การขายมีบทบาทสาคัญ เป็นอย่างมาก เนื่องจากหากไม่มีการขาย เกิดขึ้น ย่อมไม่มีส่ิงใดเกิดขึ้น เชน่ หากองค์กรผลิตสินค้าขึ้นมา แต่ไม่มีการขาย สินค้าจะขายไม่ได้ ดังน้ันการผลติ สนิ ค้า การขนส่ง การประกนั ภัย และอ่นื ๆ ยอ่ มดาเนนิ การตอ่ ไปไมไ่ ด้ 3) การขายเปรียบเสมือนกองทัพส่วนหน้า ส่วนการตลาดเปรียบเสมือนกับ กองส่งกาลังบารุง เช่น หากไม่มีการขายเกิดขึ้นแล้ว กองส่งกาลังบารุงก็ต้องหยุดชะงักในการผลิต สนิ ค้าส่ง 4) การขายเปน็ หัวใจสาคัญของการค้าปลีก การค้าส่ง ตัวแทนจาหน่าย หรือ ผูจ้ ัดจาหนา่ ย 2.4.6.3 ประโยชนข์ องการขายทมี่ ีผลต่อการสร้างความม่ังค่ังใหก้ บั สังคม คอื 1) สงั คมใดท่มี ีการขายมากกว่าการซอ้ื สงั คมนน้ั ๆ ย่อมเกิดความมน่ั คง 2) อาชีพการขายย่อมสร้างความม่ังค่ังให้กับผู้ประกอบอาชีพ เน่ืองจากได้มี การพิสูจน์มาแล้วว่าผู้ประกอบอาชีพนี้ หากมีความอดทน มีมานะบากบ่ัน มีความขยัน มีความ เพี ยรพ ยายาม อย่างต่อ เน่ื อ งแล้ว ย่อ ม จะ สร้างความ มั่งคั่ งให้ กั บ ต น เอ งและ ครอบครวั นอกจากนี้ยังทาใหป้ ระเทศชาติมีความม่งั คง่ั ไปดว้ ย 2.4.7 กระบวนการขาย (Selling process) มขี ้นั ตอนกิจกรรมไว้ ดงั นี้ 2.4.7.1 แสวงหาลูกค้า (Prospecting) หากลมุ่ เปา้ หมาย 2.4.7.2 เตรียมตัวก่อนขาย (Pre - approach) วางแผน เตรียมการ กาหนด แผนงาน เตรียมเอกสารข้อมูล และการแตง่ กายของผขู้ าย 2.4.7.3 การเสนอขาย (Presentation) ขายตามแผน โดยชกั จูงและให้คาแนะนา 2.4.7.4 การสาธิต (Demonstration) มีตัวอย่างให้ชม สามารถสัมผัสเพื่อให้เห็น ประสทิ ธิภาพของสนิ คา้ 2.4.7.5 การขจัดข้อโต้แย้ง (Handling objections) แก้ไขและตอบคาถาม ขอ้ โต้แย้ง จนเกิดความพอใจและยอมรบั สนิ คา้ 2.4.7.6 การปิดการขาย (Closing the sale) พยายามหาวิธีสรุปผลการขาย โดยต้องไม่ท้งิ หรือสญู เสียลูกค้ากลางคัน 2.4.8 การโฆษณาและการส่งเสริมการขาย (Advertising and Sales promotion) ซ่ึง ธนเสฏฐ์(2560) ได้กล่าวไว้ว่า การโฆษณา คอื วิธีการส่งเสริมการขายวิธหี น่ึง เพ่ือกระตุ้น จูงใจให้ลูกคา้ รจู้ ัก เกิดความตอ้ งการ และพยายามนาสนิ คา้ เขา้ สู่ตลาดได้มากทส่ี ุด

49 2.4.8.1 ส่ือท่ีใช้ในการโฆษณา (Advertising media) แบ่งออกเป็น 5 ประเภท คอื 1) สอื่ บุคคล เป็นส่ือที่บุคคลบอกเลา่ ตอ่ กนั (ปากตอ่ ปาก) 2) ส่อื สง่ิ พมิ พ์ ไดแ้ ก่ แผน่ พบั จดหมาย จุลสาร หนงั สอื พมิ พ์ นติ ยสาร 3) สอ่ื มวลชน ได้แก่ วิทยุ โทรทัศน์ หนงั สือพิมพ์ 4) สอ่ื สาธารณะ ได้แก่ โปสเตอร์ ป้ายโฆษณา เว็บไซต์ 5) สอ่ื โทรทัศน์ ภาพถ่าย สไลด์ ภาพยนตร์ วดี ีทัศน์ 2.4.8.2 ข้อพจิ ารณาการเลอื กใช้สื่อ 1) เหมาะกับสินคา้ หรอื บรกิ ารหรอื กลุ่มเป้าหมาย 2) ตน้ ทุน 3) ตลาดเปา้ หมาย 4) ลักษณะการกระจายสินค้า 5) ระยะเวลาและความถี่ทจ่ี ะโฆษณา 2.4.8.3 ข้อเปรยี บเทียบการใช้สอ่ื ชนดิ ต่าง ๆ 1) โทรทัศน์ เป็นส่ือท่ีนิยม เข้าถึงประชาชนได้ดี กว้าง เข้าใจง่าย มีการซ้ือขายเวลา เรียกว่า spot มี 2 ชนิดคือ ช่วงระหว่างช่วงต่อระยะเวลา (Long spot) และ ชว่ งขณะรายการน้นั กาลงั ดาเนินการออกอากาศอยู่ (In program spot) (1.1) จุดเดน่ คอื จดจางา่ ย เพราะมีท้งั ภาพ เสียง การชักจูง และ การกระตุ้นดี ครอบคลมุ ผู้ชมท่วั ไป เหมาะสมกบั ช่วงเวลา ตรงกลมุ่ เป้าหมาย (1.2) จดุ ดอ้ ย คอื เวลามจี ากัดในการออกอากาศ มีเวลาไม่ต่ากว่า 15 วินาที ในการออกอากาศ ค่าใช้จ่ายสูง ยง่ิ ใช้เวลามากก็จะมีคา่ ใช้จา่ ยสงู ขึ้น 2) วิทยุ (2.1) จุดเด่น คอื ราคาถูก ครอบคลมุ ท่วั ไป (2.2) จุดด้อย คือ ดงึ ดูดผซู้ อ้ื ไดน้ ้อย ใช้เวลาในการออกอากาศ สั้น มีประเภทรายการน้อย เจาะกลุ่มเป้าหมายไดไ้ ม่ดี 3) หนังสอื พิมพ์ นติ ยสาร เปน็ ที่นยิ มในบคุ คลทั่วไป (3 .1 ) จุ ดเด่ น คื อ มี ราคาถู ก อ ายุ โฆ ษ ณ ายาวน าน ก ว่ า ใหร้ ายละเอียดในตัวสนิ ค้ามาก (3.2) จุดดอ้ ย คือ การใหค้ วามสนใจอาจเป็นบางคน ใช้กันมาก จนผอู้ ่านไม่สนใจ กระตนุ้ หรือจงู ใจกลุ่มเป้าหมายน้อย 2.4.8.4 การส่งเสรมิ การขาย (Sale promotion) เป็นกิจกรรมหน่ึงของการขาย ของตลาด เพอื่ กระตุ้น จูงใจ ให้เกิดความต้องการสินคา้ หรือบรกิ ารเพม่ิ ข้นึ อย่างรวดเรว็ และใช้ ระยะเวลาสน้ั 1) จุดประสงค์ คือ กระตุ้นให้เกิดการสอบถาม เพื่อการซ้ือสินค้าและ เพิ่มจานวนลูกค้า เพื่อให้เกิดการซอื้ สินค้า เพื่อให้ซ้อื กกั ตุน และเพ่ือใหเ้ กดิ ทศั นคติ และพฤตกิ รรม ท่ีดตี อ่ สนิ ค้าหรอื บรกิ ารและมีการใชต้ ลอดไป

50 2) รปู แบบของการส่งเสรมิ การขาย ไดแ้ ก่ (2.1) มุ่งสู่ผู้บริโภคคนสุดท้าย คือ ครัวเรือน โดยการชิงโชค ให้ส่วนลด แจกของแถม ให้คปู อง สาธิตวธิ กี าร และการจัดนทิ รรศการ (2.2) มุง่ สู่คนกลาง คอื การค้าสง่ การคา้ ปลกี พ่อคา้ คนกลาง เพื่อรักษาตลาดไว้ เช่น การให้ชงิ โชค ส่วนลด กาหนดโควตา และประชุมเลยี้ งขอบคณุ (2.3) มุ่งสู่พนักงานขาย เพ่ือกระตุ้นให้พนักงานขายพยายาม หาวธิ ีใหม้ าก เชน่ ฝกึ อบรม ประชมุ สมั มนา และการใชเ้ ครือ่ งมืออุปกรณ์ 2.4.8.5 การโฆษณา เป็นรูปแบบหน่ึงของการส่งเสริมการขายท่ีมีความสาคัญ เปน็ อย่างย่ิง เพราะช่วยให้ผู้บรโิ ภครู้จกั สินคา้ ได้ดีมากข้ึนและสามารถเปรยี บเทียบความแตกต่างของ ผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด แต่ละย่ีห้อได้ 1) ความหมายของการโฆษณา การโฆษณา หมายถึง การสื่อสารให้ผู้บริโภคทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ สนิ ค้าและบรกิ าร โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพ่ิมยอดขายสินค้าหรือบริการ การโฆษณาเป็นการส่งเสริม การขายวธิ หี นึ่งทีช่ ว่ ยกระตุ้น จงู ใจ และช่วยยา้ เตอื นผบู้ รโิ ภคใหต้ ัดสนิ ใจซอ้ื สินคา้ 2) ความสาคญั และประโยชน์ของการโฆษณา คือ (2.1) ช่วยให้ขายสินค้าได้เร็วข้ึนอย่างต่อเนื่อง สินค้าเข้าสู่ตลาด รวดเร็วและมกี ารขยายตลาดมากข้ึน (2.2) ช่วยพนกั งานขายสนิ ค้ามากข้ึน โดยใชเ้ วลาน้อยลง (2.3) ช่วยเตือนความจาลูกค้าให้ไม่ลืมสินค้าน้ัน ๆ และช่วย ให้การเสนอสินคา้ ดีข้นึ (2.4) ช่วยเพ่ิมมูลคา่ ให้สินค้าและบรกิ าร 3) เป้าหมายการโฆษณา คือ เพิ่มยอดขายให้กิจการ กระตุ้นและสร้าง ความสนใจจากลูกค้าตอ่ สินค้าและชว่ ยแนะนาสนิ ค้าและบรกิ ารใหม่ 4) ลาดบั ขน้ั ของการโฆษณา อาจแบง่ เป็น 3 ขั้น ดงั น้ี (4.1) ข้ันเริ่มต้น (Pioneering stage) มักใช้กับผลิตภัณ ฑ์ ชนิดใหม่ เพื่อให้ผู้บริโภครู้จักให้กว้างขวางข้ึนและพยายามชักจูงให้ใช้ มักโฆษณาเป็นชื่อ ย่ีห้อ เครื่องหมายการคา้ คุณภาพและการบริการเป็นหลัก (4.2) ข้ันแข่งขัน (Competitive stage) ซ่ึงสินค้าจะเป็นท่ีรู้จัก ทว่ั ไปอยู่แล้ว แต่มีสนิ ค้าคู่แข่งจงึ ต้องโฆษณาแจ้งให้ผู้บรโิ ภคทราบว่าดีกว่าด้านต่าง ๆ เช่น ราคาถูก คณุ ภาพดีกวา่ (4.3) ข้ันรักษาตลาด (Retentive stage) เป็นขน้ั พยายามทาให้ ผู้บรโิ ภคไม่ลมื สนิ ค้า โดยช่วยเตือนความจาว่ายงั มสี ินค้าน้วี างจาหนา่ ยอยูอ่ ยา่ งต่อเน่อื ง 5) ลักษ ณ ะขอ งสื่อ ที่ ใช้ใน ก ารโฆ ษ ณ าชนิ ดต่าง ๆ สื่อ โฆ ษ ณ า (Advertising media) ช่วยให้ข่าวสารของสินค้าบริการถึงผู้บริโภค ซึ่งส่ือโฆษณามีหลายประเภท ดังนี้

51 (5 .1 ) สิ่ งตี พิ ม พ์ (Press publicity) เป็ น สื่ อ โฆ ษ ณ าท าง หนงั สือพมิ พ์ นิตยสาร (5.2) วทิ ยุ (Radio) เปน็ สือ่ ท่เี ขา้ ถงึ ผบู้ ริโภคได้ค่อนขา้ งมาก (5 .3 ) โท รทั ศ น์ (Television) เป็ น สื่อ ที่ เข้าถึงผู้บ ริโภ ค ค่อนข้างมาก เพราะสัมผัสได้ทางหูและตา ทาให้ผู้ชมรู้สึกเสมือนได้สัมผัสสินค้าจริง ใกล้ชิด แต่ค่าใชจ้ ่ายจะสูงขึ้น (5.4) ภาพยนตร์ (Movie) เป็นส่ือที่มีลักษณะคล้ายโทรทัศน์ แตเ่ ขา้ ถึงผู้บรโิ ภคนอ้ ยกว่า เพราะจะมคี นบางกลุ่มเทา่ น้นั ทเ่ี ขา้ ชมภาพยนตร์จึงไม่ทวั่ ถงึ กว้างขวาง (5.5) โฆษณากลางแจ้ง (Outdoor advertising) มักเขียนเป็น ภาพโปสเตอร์ตดิ ในสถานทต่ี า่ ง ๆ (5.6) ก ารโฆ ษ ณ าบน ยาน พ าหน ะ (Transit advertising) เปน็ การนาไปติดบนรถ เป็นสือ่ ทีส่ ามารถเคลือ่ นที่ได้ (5.7) โฆษณาทางไปรษณีย์ (Direct mail advertising) เป็นการ สง่ ข้อมูลสินค้าทางไปรษณีย์ (5.8) โฆษณาแหล่งขาย (Point of advertising) โดยแต่งร้าน ใหส้ ะดดุ ตา ดงึ ดูดใจใหเ้ ขา้ ร้าน (5.9) การจัดนิทรรศการ (Display advertising) เป็นการ ออกรา้ นแสดงสินคา้ ตามสถานทีต่ ่าง ๆ เพอ่ื ให้เหมือนจริงและสามารถเปรียบเทียบสินคา้ กันได้ 2.4.8.6 ความรพู้ น้ื ฐานของพนกั งานขาย ต้องมสี ิ่งตา่ ง ๆ เหล่านี้ คือ 1) ความรู้เก่ียวกับกิจการ ได้แก่ ประวัติ ลักษณะกิจการ โครงสร้าง กฎระเบยี บ 2) ความรู้เกี่ยวกับสินค้า บริการ ได้แก่ ประวัติ ลักษณะสินค้าบริการ สว่ นประกอบ วธิ ีใช้ วธิ ีเก็บ ประโยชน์ ความปลอดภัย 3) ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า ได้แก่ ฐานะ รสนิยม ความต้องการ กลุ่มลูกค้า 4) ความรู้เก่ียวกับคู่แข่ง ได้แก่ ลักษณะกิจการของคู่แข่ง กลยุทธ์ การขาย การบริการ ลักษณะผลติ ภณั ฑ์ 5) ความรู้เก่ียวกับตนเอง ได้แก่ รู้บทบาทหน้าที่ตัวเอง ความเช่ือถือ การให้บรกิ าร การใหข้ อ้ มูล นิสยั บุคลิกภาพ กรยิ ามารยาท การแตง่ กาย 2.4.8.7 การสร้างความสัมพันธภาพที่ดีกับลูกค้า การขายไม่ได้ส้ินสุดเพียงการปิด การขายเท่าน้ัน แตจ่ ะยังตอ้ งมกี ารติดตามและสร้างความพึงพอใจใหแ้ กล่ ูกคา้ เพมิ่ ขนึ้ คือ 1) การติดตามผล (Follow – up) มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบการประชาสัมพันธ์ ทางการตลาด ความเคล่ือนไหวของลูกค้าเกย่ี วกบั ความต้องการสินค้า รกั ษาตลาดโดยพยายามรกั ษา ส่วนแบ่งของตลาดไว้ให้ได้ สร้างช่ือเสียง ภาพพจน์ต่อองค์กร และพนักงาน สร้างความพึงพอใจ ความประทับใจให้กับลกู ค้า เสนอขายสนิ คา้ ใหม่ รุ่นใหมไ่ ดง้ า่ ย

52 2) วิธีการติดตาม ได้แก่ การไปเยี่ยมลูกค้าอย่างสม่าเสมอ สอบถาม ทุกโอกาส ทุกท่ี ทุกเวลา มีการใหบ้ ริการหลงั การขาย ดูแลการส่งมอบสนิ ค้า เช่น การจัดสง่ ตดิ ต้ัง อบรม ซ่อม ให้ความสะดวกอน่ื ๆ การแลกเปลย่ี นสนิ คา้ คืน รับคาติชม ติดตามผลการใช้สินคา้ 2.4.8.8 จรรยาบรรณของธรุ กิจและพนักงาน (Business and Salesman ethics) จรรยาบรรณ คือ ความประพฤติท่ีผู้ประกอบอาชีพกาหนดข้ึนเพื่อรักษา และส่งเสริมเกยี รตคิ ณุ ช่อื เสียง และฐานของสมาชกิ 1) จรรยาบรรณของธุรกิจ (Business ethics) เป็นแนวทางใหผ้ ู้ประกอบ ธรุ กจิ ฝกึ ปฏิบัติ เพอื่ สร้างและพฒั นาให้สงั คมท่ดี ี นา่ อยู่ และมีความสขุ ซึง่ มอี ยู่ 8 ประการ คือ (1.1) เว้นจากการเบียดเบียนลูกค้า เช่น ไม่กักตุนสินค้า ไม่นา วัตถดุ บิ ผลิตภัณฑท์ ไี่ ม่ได้คุณภาพ ปลอมปน เป็นพิษมาทาเป็นผลิตภณั ฑ์ (1.2) ไม่เบียดเบียนผู้จัดหาสินค้า วัตถุดิบ หุ้นส่วน เช่น ลด ราคา ปดิ บังข้อมูล ไมจ่ า่ ยเงินตามกาหนด บิดเบือนขอ้ เทจ็ จรงิ เพอื่ เอาเปรยี บ (1.3) เว้นจากการเบียดเบียนพนักงาน เช่น ไม่จ่ายค่าล่วงเวลา ใชแ้ รงงานหนัก กดค่าแรง ไมใ่ ห้สวสั ดกิ าร ไม่จดั สภาพแวดลอ้ มทด่ี ี ไม่ส่งเสรมิ พนักงาน (1.4) เว้นจากการเบียดเบียนผู้ถือหุ้นหรือเจ้าของ เช่น การไม่จ่าย เงนิ ปันผล ไม่ให้ข้อมูลที่แท้จริง ไม่มุ่งความก้าวหนา้ ขององค์กรในระยะขาย บริหารองค์กรเพ่ือหวัง ผลระยะสั้น (1.5) เว้นจากการเบียดเบียนคู่แข่ง เช่น การปล่อยข่าวลือไม่ดี ให้สินบน (1.6) ไม่เบียดเบียนราชการ เช่น หลบเล่ียงภาษี มีการจ่ายเงิน ใตโ้ ต๊ะ ส่งงานลา่ ชา้ ลดคณุ ภาพ (1.7) ไม่เบียดเบียนสังคม เช่น ขายของแพง โฆษณาหลอกลวง กักตนุ สินคา้ บรรทกุ นา้ หนกั เกินทาใหถ้ นนชารุด (1.8) เวน้ จากการเบียดเบียนส่ิงแวดล้อม เชน่ ไม่มีระบบจัดการ ของเสยี ทาใหเ้ กิดมูลภาระ เชน่ น้าเสีย เสยี งดัง ปล่อยควนั เสยี 2) จรรยาบรรณและมารยาทของพนกั งานขาย มีดังน้ี (2.1) จรรยาบรรณของพนักงานขาย คอื (ก) มคี วามซอ่ื สตั ยต์ ่อตนเอง ต่อลูกค้า เพือ่ นรว่ มอาชพี (ข) ใหบ้ รกิ ารดีทสี่ ุด สม่าเสมอ รบั ผิดชอบ โดยชแ้ี จง ใหข้ ้อมลู ต่าง ๆ เช่น สนิ ค้า สิทธิประโยชน์ และเข้าใจข้อเท็จจริงถูกต้อง (ค) รักษาความลับของลกู ค้าหรอื บริษทั ตลอดจน มีความเปน็ ธรรมโดยการตรวจคุณภาพ (ง) ไม่ลดราคาตามกาหนดของบริษัท (จ) ไม่กลา่ วร้าย ทับถมบรษิ ัทอนื่ (ฉ) ไม่แย่งลูกคา้ ซึ่งบริษทั อ่นื กาลงั ตดิ ตอ่ กนั อยู่ (ช) หมนั่ หาความรู้

53 (ซ) ประพฤตติ นอยใู่ นศลี ธรรม ประเพณีอันดงี าม และ ธารงไวซ้ ่งึ เกยี รติศกั ดศ์ิ รี คุณธรรมแหง่ อาชพี (2.2) มารยาทของพนักงานขาย คือ (ก) ไม่ตาหนิสินค้าของคนอน่ื ไมต่ พิ นักงาน ไมน่ ินทาลูกค้า (ข) รกั ษาคาม่ันสญั ญา (ค) ใหโ้ อกาสลกู ค้า ผบู้ ริโภคตัดสินใจโดยอสิ ระ (ง) ไมท่ าตัวสนิทกับลูกคา้ มากเกินไป (จ) ใช้ภาษาเหมาะสม สละสลวย (ฉ) ใหเ้ กียรตลิ ูกคา้ โดยใช้กรยิ าวาจามารยาทท่ีสุภาพ (ช) ไม่ใช้คาศพั ทเ์ ทคนคิ ที่ตนยงั ไม่เข้าใจดพี อ ซึ่งอาจจะ ทาให้เกิดความอึดอัดราคาญ (ซ) ไม่พดู เรือ่ งสว่ นตัวมากเกินไป (ฌ) ไม่ด่ืมสุรา สูบบุหร่ีต่อหน้าลูกค้า (ญ) หม่ันติดต่อ ประสานงาน เย่ียมเยยี นลูกคา้ สมา่ เสมอทุกรปู แบบ (ฎ) จาชอ่ื ลูกคา้ ให้ได้ (ฏ) ไม่ใชเ้ ล่หก์ ลวิธที ไ่ี ม่จริงใจกับลูกค้า (2.3) สาเหตุทท่ี าให้พนกั งานขายขาดจรรยาบรรณ มีดงั นี้ (ก) ไดร้ ับสนิ บนจากคแู่ ขง่ (ข) ตอ้ งการรายได้สงู จึงแอบอา้ ง ปลอมปน โกงเงินบรษิ ัท (ค) ตอ้ งการงานบริษัทใหม่ โดยนาความลับไปบอก (ง) ต้องการความก้าวหน้า โดยเอาเปรียบลกู ค้า (2.4) แนวทางแกไ้ ขปญั หา เชน่ (ก) ตัง้ กลมุ่ พนักงานขาย เพอื่ ช่วยเหลือซ่งึ กนั และกนั เช่น สมาคมพนกั งานขาย (ข) เจา้ ของกจิ การ ควรสง่ เสริมให้โอกาสมีความก้าวหนา้ เพื่อขวญั และกาลังใจ (ค) อบรมให้ความรู้สม่าเสมอ ให้สวสั ดิการ สรา้ งจิตสานกึ (ง) มีการลงโทษท่ีเหมาะสมตามขนั้ ตอน โดยพจิ ารณา อย่างรอบคอบ 2.4.9 ลกั ษณะสนิ ค้าผลผลติ ทางการเกษตร โดย เสาวภา สร้อยจาปา(2555) ไดก้ ล่าวไว้ ว่า สินค้าท่ีเป็นผลผลิตทางการเกษตรมีความหลากหลายของประเภทและชนิด ซ่ึงมีลักษณะและ คุณสมบัติแตกต่างจากสินค้าอุตสาหกรรมอื่น ๆ ซึ่งต้องอาศัยการจัดการท่ีดีอย่างเป็นระบบ เนอ่ื งจากจะมีความแตกต่างจากอุตสาหกรรมอื่น ๆ ดงั น้ี

54 2.4.9.1 มีลักษณะทางชีวภาพ คือ เป็นผลผลิตท่ีเกิดจากสิ่งท่ีมีชีวิต จึงมักจะ เน่าเสียง่าย จึงจาเป็นต้องมีการจัดการทั้งด้านการเก็บเกี่ยว การเก็บรักษา การขนส่งท่ีเหมาะสม รวดเรว็ ใหม้ คี ุณภาพดที ่ีสุด ตรงตามความต้องการของผูบ้ ริโภคหรือผผู้ ลติ 2.4.9.2 มีการผันแปรตามฤดูกาล การผลิตทั้งปริมาณและคุณภาพต้องอาศัย ธรรมชาติเป็นสาคัญ และการเจริญเติบโตและความสมบูรณ์ของผลผลิตบางชนิดข้ึนอยู่กับ สภาพแวดล้อม ฤดูกาลท่ีต่างกัน ดังนั้นถ้าส่ิงแวดล้อมเปลี่ยน ผลผลิตจะเปล่ียนแปลงด้วย จึงเกิด ความผันแปรไม่แนน่ อนท้งั ปริมาณและคณุ ภาพ 2.4.9.3 มีลักษณะแตกต่างกันหลากหลาย ทาให้การจัดการจาเปน็ ต้องหลากหลาย ซบั ซ้อน รอบคอบ และมีขดี จากัดในการแปรรปู เช่น ขนาด รูปแบบเครอ่ื งจักรที่ใช้เฉพาะ 2.4.9.4 มีลักษณะเฉพาะลักษณะท้ังรูปร่าง ขนาด น้าหนัก และต้องใช้ปริมาณมาก เพ่ือการแปรรูป ดังนั้นการดาเนินการตั้งแต่ พ้ืนท่ีปลูก การใช้ภาชนะบรรจุ การขนส่งขนย้าย การเก็บรักษา และแม้แต่การแปรรูป ตอ้ งใช้พื้นท่ีมาก ใช้แรงงานมาก และใช้เคร่ืองจักร อปุ กรณ์ หลากหลาย และการจดั การทีซ่ ับซ้อนรอบคอบ 2.4.9.5 ผลผลติ มีการกระจายอยูท่ ่ัวทุกภาคตามสภาพแวดล้อม ดังนน้ั จึงตอ้ งอาศัย การรวบรวมสินค้าจากแหล่งต่าง ๆ และจัดหาไว้อย่างเพียงพอกับความต้องการ จะทาให้ต้นทุน การผลติ สงู เนอื่ งจากเสียคา่ ใช้จา่ ยเกี่ยวกบั การขนส่งและการจดั การสูง 2.4.9.6 คุณภาพทางประสาทสัมผัส คุณค่าทางอาหาร คือ ด้านความรู้สึก และ ประโยชน์แต่ละชนิดแตกต่างกนั จงึ ต้องจดั การและการสรา้ งสรรคใ์ หผ้ ู้บริโภคพงึ พอใจ 2.4.10 รูปแบบช่องทางการจัดจาหน่ายผลผลิตทางการเกษตร ซ่ึงสานักข่าวอิสรา(2560) ได้แบ่งเปน็ 3 ระดบั คือ 2.4.10.1 ระดับตลาดท้องถ่ิน (Local market) เป็นตลาดที่อยู่ใกล้กับแหล่งผลิต จะกระจายทั่วไปในหมู่บ้าน ทุกชุมชน ทุกจังหวัดทั่วประเทศ การซื้อขายจะซื้อขายท้ังโดยตรง ระหว่างผู้ซ้ือ – ผู้ขาย หรือมีผู้รับซื้อคนกลางในชุมชนรวบรวมมาส่งขายยังตลาดกลางหรือตลาด ขาดแคลนสินค้า ซ่ึงจะมีระบบตลาดเล็ก แต่มีส่ิงอานวยความสะดวกพอควร เช่น การขนส่ง การเกบ็ รกั ษา ธนาคาร เพยี งบรกิ ารประชาชนหรือผ้ซู ้อื (ดงั ภาพท่ี 2.5)

55 ภาพท่ี 2.5 ตลาดขายสินคา้ ระดบั ทอ้ งถน่ิ ที่มา : สานักงานไกด์อบุ ลดอทคอม(2562) 2.4.10.2 ตลาดขายส่งหรือตลาดกลาง (Wholesale market) เป็นตลาด รวมพืชผลจากตลาดท้องถ่ิน สู่ตลาดปลายทาง ส่วนใหญ่มักต้ังอยู่เป็นศูนย์รวมระดับตาบล อาเภอ จังหวัด (ดังภาพท่ี 2.6) ภาพท่ี 2.6 ตลาดขายสง่ หรอื ตลาดกลาง ท่ีมา : สนุกนวิ ส์(2560) 2.4.10.3 ตลาดปลายทางหรือตลาดเพ่ือส่งออก (Terminal market) เป็นตลาด รวมแหล่งสุดท้าย เพ่ือส่งต่อไปยังผู้บริโภคคนสุดท้าย รวมท้ังยังทาหน้าที่อื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น การเก็บรกั ษาสินค้า การกาหนดราคา และการนาไปผลติ แปรรปู

56 ตลาดปลายทางยังพร้อมที่จะส่งสินค้าออกไปจาหน่ายต่อทั้งในประเทศ และ ต่างประเทศ ตลาดดังกล่าว เช่น ตลาดกลางในกรุงเทพฯ ได้แก่ ตลาดส่ีมมุ เมือง ตลาดไท เป็นต้น (ดังภาพท่ี 2.7) ภาพที่ 2.7 ตลาดปลายทาง ทีม่ า : ตลาดสินคา้ เกษตรออนไลน(์ 2560) 2.5 การบริโภค ซง่ึ เสาวภา(2555) ไดก้ ล่าวเกยี่ วกับการบรโิ ภคไว้ว่า 2.5.1 ความหมายของผ้บู ริโภค ผู้บริโภค หมายถึง กลุ่มบุคคลท่ีเป็นบุคคลเป้าหมายที่สาคัญท่ีสุดและเป็นบุคคลสุดท้าย ในระบบตลาดที่ทุกฝ่ายจะต้องพยายามเคลื่อนย้ายสินค้าให้ถึงมือผู้บริโภคอย่างมีประสิทธิภาพและ ผ้บู รโิ ภคต้องพึงพอใจสงู สุด 2.5.2 ความสาคญั ของผบู้ รโิ ภค ผู้บริโภคเป็นกลุ่มบุคคลสุดท้ายในตลาดที่มีอิทธิพลสูงสุดในระบบตลาด เพราะเป็น ผู้ตัดสินใจเลือกซอื้ สินค้าและบริการมาเพ่ืออุปโภค รวมท้ังเพื่อการผลิต จึงเป็นกลไกหลักท่ีทาให้เกิด การเคลือ่ นไหวของระบบตลาด 2.5.3 ปจั จยั ท่สี ง่ ผลต่อปรมิ าณการบริโภค ปัจจัยที่ส่งผลต่อปริมาณการบริโภคของผู้บริโภค ได้แก่ การกระจายตัวของประชากรและ รายได้ ซึ่งแตกต่างกันแต่ละภาค ส่วนใหญ่อยู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ ภาคตะวันตก ภาคตะวันออก (แต่ความหนาแน่นอยู่ในภาคกลาง มีค่าเฉล่ีย 494 คนต่อ ตารางกิโลเมตร รองลงมาคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคใต้ ภาคตะวันตก และภาคเหนือ ตามลาดบั )

57 2.5.4 ความต้องการสนิ ค้าของผูบ้ ริโภค สินค้าทผี่ ู้บรโิ ภคส่วนใหญต่ อ้ งการ อาจแบง่ เปน็ 4 ประการทสี่ าคัญ คอื 2.5.4.1 ความปลอดภัย (ความบริสุทธิ์) คือ เมื่อมีการใช้สินค้านั้นแล้วได้รับ ความปลอดภัย โดยสินค้านั้นต้องสะอาด ไม่มีสารพิษตกค้าง ไม่มีการปลอมปนของสารที่ก่อให้ เกิดโทษต่อสุขภาพและชีวิต 2.5.4.2 ลัก ษณ ะเฉพ าะของคุณ ภาพ ท่ีต้อ งการ ผลิตภั ณ ฑ์ แต่ละ ชนิ ด จะมีลักษณะเฉพาะแตกต่างกัน ความต้องการของผู้บริโภคก็แตกต่างกันและมีการเปล่ียนแปลงไป ตามวัตถปุ ระสงค์การใช้ตามพฒั นาการของเทคโนโลยี สภาพเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลใหเ้ กิดความพึงพอใจ ของผู้บริโภค ลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ์ เช่น สี ความนุ่ม กรอบ เหนียว หนืด ใส แข็ง ฟู หอม ฯลฯ 2.5.4.3 ความสะดวกต่อการใช้ การบรโิ ภค และการเก็บรักษา สินค้าทซี่ ้ือมาแล้ว เม่ือใช้บริโภคหรือเก็บรักษาสะดวก ทาให้ผู้บริโภคเกิดความพึงพอใจและอาจยอมจ่ายเพิ่มข้ึน ความสะดวกในการใช้ ได้แก่ นาไปประกอบอาหารข้ันต่อไปง่าย ภาชนะบรรจุเปิดสะดวก มอี ุปกรณ์การบริโภคพร้อม การบรรจุแยกเป็นส่วน ๆ การละลายทันที ภาชนะทนต่อความร้อน ความเยน็ ได้ดี เปน็ ต้น 2.5.4.4 ประโยชน์ท่ีไดร้ ับจากผลติ ภัณฑ์ ผู้ซอ้ื เมื่อตัดสนิ ใจซื้อย่อมพิจารณาแล้วว่า จะไดป้ ระโยชน์จากสนิ คา้ คุม้ กับเงินท่ีจ่าย 2.5.5 อทิ ธิพลท่มี ผี ลต่อการยอมรบั สนิ ค้าของผูบ้ ริโภค ซึ่ง อรุณณ(ี 2559) ได้กลา่ วไวว้ า่ สินค้าในท้องตลาดมีมากมายหลายประเภทหลายชนิดหลายย่ีห้อ การตัดสินใจ ทจี่ ะซือ้ ผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคอาจเปล่ยี นแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งจะมีปัจจัยหลายด้านทีส่ ่งผลใหเ้ กิด การยอมรบั ในสนิ ค้า ผลติ ภณั ฑ์ ทัง้ ชนิดและยี่ห้อใดข้ึนอยกู่ ับปจั จยั 6 ประการ ไดแ้ ก่ 2.5.5.1 ความเคยชินหรือนิสัย (Habit) โดยไดร้ ับอิทธพิ ลจากผใู้ กลช้ ิดใหใ้ ช้จนเกิด ความเคยชินจนติดเป็นนิสัย เช่น อาหารหรือสินค้าที่ครอบครัวเคยใช้ประจามาตลอด เช่น การรับประทานขา้ ว การใชข้ องยห่ี ้อใดย่หี อ้ หนึง่ 2.5.5.2 ประเพณี ศาสนา สภาวะแวดล้อม เป็นการบริโภคหรือการใช้ที่สืบทอด ต่อกันมาต้ังแต่บรรพบุรุษ จนกลายเป็นส่ิงอนุญาตหรือต้องห้าม เช่น การห้ามบริโภคเน้ือสัตว์ การห้ามรับประทานเน้ือหมูของชาวอิสลาม ส่วนสิ่งแวดล้อมจะมีผลต่อการบริโภคต่อประเภทและ ชนิดของวัตถุดิบท่ีมีในท้องถ่ินน้ัน ตามลักษณะภูมิประเทศ อุณหภูมิ เช่น พ้ืนที่น้ันมีการเลี้ยงแพะมาก ประชาชนในที่นน้ั จะนยิ มรบั ประทานนมแพะ เปน็ ต้น 2.5.5.3 ความเชื่อ เป็นความรู้สึกท่ีฝังแน่นอยู่และปฏิบัติจนเคยชินยาก ต่อการเปล่ียนแปลงภายในเวลาสั้น โดยอาจเช่ือจากคาบอกเล่าจากแหล่งข้อมูลที่เช่ือถือได้ เช่น บุคคล องคก์ รท่ตี นเช่ือถอื จากหลกั ฐานการวิจยั และจากประสบการณข์ องตนเอง 2.5.5.4 การประกันคุณภาพในสินค้านั้น คือ มีการรับรองจากหน่วยงานของรัฐ และเอกชน คาบอกเล่าของสงั คม เช่น ได้รบั เครือ่ งหมายมาตรฐานในระดบั ต่าง ๆ 2.5.5.5 การโฆษณา โดยได้รับข้อมูลจากสื่อต่าง ๆ ที่จูงใจ กระตุ้นให้เกิด การยอมรับ เช่น ฉลาก วิทยุ โทรทัศน์ ฯลฯ

58 2.5.5.6 อานาจในการซ้ือ ผู้บริโภคมีอานาจการซื้อแตกต่างกันทั้งระหว่างบุคคล เวลา จึงสามารถซื้อสินค้าท่ีมีระดับต่างกนั แตก่ อ็ าจเปล่ียนแปลงได้ตามฐานะทางเศรษฐกิจ จงึ ทาให้ ผู้ผลิตต้องจัดระบบสินค้าหลายระดับ หลายช่วงโอกาสตามเทศกาล หรือตามช่วงสภาวะเศรษฐกิจ เพือ่ สนองความตอ้ งการของลูกคา้ ใหม้ ากท่สี ุด สรปุ ประเทศไทยมรี ะบบฐานรากมาจากการเกษตร อตุ สาหกรรมเกษตรมกี ารพัฒนาข้ึนเปน็ ลาดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแปรรูปต่าง ๆ จนพัฒนามาเป็นการผลิตสินค้าประเภทอาหารแปรรูป ท้ังการผลิตเนื้อบริโภคภายในประเทศและส่งออกไปต่างประเทศ การแปรรูปจะเป็นการเพิ่มมูลค่า ของสินค้าเกษตรให้สูงขึ้น ผู้บริโภคอาจจะต้องนาไปแปรรูปอีกคร้ังหนึ่งหรือนาไปบริโภคได้ทันที ในปัจจบุ ันประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตและส่งออกสินค้าอาหารทมี่ ีคุณภาพดีและมีชอื่ เสียงที่สาคัญ ของโลก ผลิตภัณฑ์สัตว์ที่แปรรูปจากโรงงานแปรรูปมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ตามความต้องการ ของผู้บริโภค มีการนาเข้าสินค้า วัตถุดิบ และเน้ือสัตว์เข้ามาให้เพียงพอต่อความต้องการ ทาให้ มีความพยายามผลิตและเลย้ี งปศุสัตวใ์ หเ้ พม่ิ มากขึ้นภายในประเทศให้เพียงพอกับการเจริญเติบโต เศรษฐกิจไทยในภาพรวมมีท้ังเพิ่มขึ้นในสาขาปศุสัตว์ สาขาประมง และสาขาป่าไม้ และ ลดลงในสาขาพืช และสาขาบริการทางการเกษตร เนื่องมาจากปรากฏการณ์เอลนีโญและ สภาพอากาศแปรปรวน ปริมาณฝนน้อย ทาให้เกิดภัยแล้ง เศรษฐกิจของประเทศส่งออกไป มีการชะลอตัว ส่วนที่เพ่ิมขึ้นเนื่องจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กาหนดให้เป็นปีแห่งการ ลดต้นทุนการผลิตและเพ่ิมโอกาสในการแข่งขัน การผลิตปศุสัตว์ส่วนใหญ่เป็นฟาร์มมาตรฐาน สถานการณ์การผลิตกุ้งทะเลเล้ียงปรับตัวดีข้ึนและราคาน้ามันเชื้อเพลิงภายในประเทศท่ีทรงตัว ในระดบั ต่า การตลาดของผลิตภัณฑ์สัตว์ ได้แก่ ตลาดสุกรไทย เป็นการผลิตเพ่ือจาหน่ายในประเทศ เป็นสว่ นใหญ่ มีการส่งออกไปต่างประเทศในรูปแบบสุกรมีชวี ิตและเนื้อสุกร ตลาดสว่ นใหญ่จะมีอยู่ ในทวีปเอเชีย เช่น ฮ่องกง ญ่ีปุ่น มาเลเซีย และอินโดนีเซีย เป็นต้น โดยมีปริมาณเพิ่มสูงข้ึน ตลาดโคเนื้อจะมีทั้งในชุมชน หมู่บ้าน ตลาดในเมือง เป็นตลาดท่ีมีขนาดใหญ่ความต้องการบริโภค เน้ือโคสูงและต้องการเนื้อที่มีคุณภาพดีกว่าตลาดพ้ืนบ้าน ตลาดในห้างสรรพสินค้า จะเป็นเน้ือโค ที่มีคุณภาพบรรจุแยกชิ้นส่วนตามคุณภาพเน้ือและตลาดนาเข้าจากต่างประเทศ จะเป็นเน้ือโค ที่มคี ุณภาพสงู ราคาแพง ตลาดไก่เนอื้ อุตสาหกรรมการผลิตเนอ้ื ไกข่ องไทยได้มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว โดยจะเป็นการส่งออกไปประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ซาอุดิอาระเบีย ซึ่งคุณภาพ การตดั แต่งเนอ้ื และการแปรรูปไกข่ องไทยมีคุณภาพมาตรฐานเปน็ ทย่ี อมรับของตลาดโลก แต่ไทยตอ้ ง พบปัญหาค่าเงินบาท ต้นทุนอาหารสัตว์เพ่ิมข้ึน ค่าเงินประเทศคู่ค้ามีความผันผวน จึงทาให้ การส่งออกของไทยไม่เป็นไปตามท่คี าดการณ์ไว้ รูปแบบการส่งออกไกม่ ีอยู่ 2 รูปแบบ คือ ไก่เน้ือ แช่แข็ง และผลิตภัณฑ์ไก่ ส่วนตลาดปศุสัตว์อ่ืน ๆ ได้แก่ เนื้อแพะ เน้ือแกะ กวาง เป็ดเนื้อ นกกระจอกเทศ เปน็ ตลาดทเี่ ปน็ รองปศสุ ตั วท์ ี่กล่าวมาข้างต้น การจาหน่ายผลิตภัณฑ์สัตว์ จาเป็นที่จะต้องอาศัยหลักการขายโดยอาชีพการขาย มีความสาคัญ ทาให้เกิดธุรกิจต่าง ๆ ข้ึนและเกิดการไหลเวียนเงินตราและเป็นงานที่ตอบสนอง

59 ความต้องการของมนุษย์ เช่น ปัจจัย 4 การขายมที ้ังการขายปลีก เช่น การขายในรา้ น การขาย นอกร้าน การขายในอตุ สาหกรรม เช่น การขายใหแ้ ก่พอ่ ค้าคนกลาง การขายให้แกอ่ งคก์ ารธรุ กจิ การโฆษณา ได้แก่ สื่อบุคคล สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อมวลชน ส่ือสาธารณะ และสื่อโทรทัศน์ ซ่ึงจะต้องเลือกสื่อให้เหมาะสมกับสินค้าหรือบริการหรือกลุ่มเป้าหมาย ต้นทุน ตลาดเป้าหมาย ลักษณะการกระจายสินค้า ระยะเวลาและความถี่ที่จะโฆษณา สื่อท่ีมีค่าใช้จ่ายมากที่สุด คือ สื่อโทรทัศน์ ส่ือหนังสือพิมพ์ และสื่อวิทยุ การส่งเสริมการขายเป็นกิจกรรมหนึ่งของการขาย ของตลาด เพ่ือกระตุ้น จูงใจ ให้เกิดความต้องการสินค้าหรือบริการเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็วและ ใชเ้ วลาส้นั ช่องทางการจาหน่ายผลผลิตทางการเกษตร ได้แก่ ตลาดท้องถ่ิน เป็นตลาดในหมู่บ้าน ชุมชน ตลาดขายส่งหรือตลาดกลาง เป็นตลาดท่ีรวมพืชผลทางการเกษตรจากตลาดท้องถ่ินสู่ตลาด ปลายทาง ตลาดปลายทางหรือตลาดเพื่อส่งออก เป็นตลาดรวมแหล่งสดุ ท้ายเพ่ือส่งตอ่ ไปยังผูบ้ รโิ ภค รวมทง้ั ยงั ทาหน้าที่ เกบ็ รกั ษาสินคา้ การกาหนดราคา และการนาไปผลติ แปรรูป ผบู้ ริโภค เป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมายท่ีสาคัญทสี่ ุดและเปน็ บคุ คลสุดท้ายในระบบตลาดที่ทกุ ฝ่าย จะตอ้ งพยายามเคล่อื นย้ายสนิ ค้าให้ถงึ มือผู้บรโิ ภคอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและผู้บรโิ ภคตอ้ งพึงพอใจสงู สุด ปัจจัยท่ีส่งผลต่อปริมาณการบริโภค ได้แก่ การกระจายตัวของประชากรและรายได้ ผู้บริโภค ต้องการสินค้าที่มีความปลอดภัย มีลักษณะเฉพาะของคุณภาพที่ต้องการ มีความสะดวกต่อการใช้ การบริโภค และการเก็บรักษา และประโยชน์ท่ีได้รับจากผลิตภัณฑ์ คุ้มค่ากับเงินท่ีจ่ายไป ซ่งึ มอี ิทธิพลท่มี ีผลต่อการยอมรบั สินค้าของผู้บรโิ ภค ไดแ้ ก่ ความเคยชนิ หรือนิสัย ประเพณี ศาสนา สภาวะแวดล้อม เป็นการบริโภคหรือการใช้ท่ีสืบต่อกันมา จนเกิดเป็นความเช่ือ ซึ่งจะต้อง มีการประกันคุณภาพในสินค้านั้นๆ จึงจะเป็นท่ียอมรับขอผบู้ ริโภค โดยผ่านการโฆษณาทไ่ี ด้รบั ข้อมูล จากส่ือต่าง ๆ ที่จูงใจ กระตุ้นให้เกิดการยอมรับ รวมทั้ง อานาจในการซ้ือของผู้บริโภคที่มีอานาจ การซ้ือท่ีแตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับฐานะทางเศรษฐกิจ จึงทาให้ผู้ผลิตต้องจัดระบบสินค้าหลายระดับ หลายชว่ งโอกาสตามเทศกาลหรือตามชว่ งสภาวะเศรษฐกจิ เพ่ือสนองความตอ้ งการของผู้บริโภคมาก ท่ีสุด

60 เอกสารอ้างองิ กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์. 2559. อตุ สาหกรรมอาหารแปรรปู . กรุงเทพฯ : กรมเศรษฐกจิ การพาณิชย.์ เอกสารอัดสาเนา. ชานาญ ฉายวิชิต. วิชาการขาย 1. [online]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : sites.google.com/site/ chamnam2554/home/naew-kar-sxn. 2560. ตลาดสนิ ค้าเกษตรออนไลน.์ ตลาดสีม่ ุมเมอื ง. นนทบรุ ี : กองสง่ เสริมและบริหารระบบตลาด กรมการค้าภายใน กระทรวงพานชิ ย์ [online]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://mwsc.dit.go.th/viewCenterMarket.php?id=2167&page =1#.Wn8emq5l_IU. 2559. ทิพาพร อินทรพ์ งษ์. รา้ นคา้ ส่งคา้ ปลกี เชยี งใหม่นิวส์. [online]. เขา้ ถึงได้จาก : http://www.chiangmainews.co.th/page/archives/tag/ร้านค้าสง่ คา้ ปลีก. 2560 ไทยเอสเอม็ อีเอสเซน็ เตอร์. 7 ขน้ั ตอนการขายให้ประสบความสาเรจ็ . [online]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : www.thaismescenter.com. 2559. ธนเสฏฐ์ อาษา. การโฆษณา. [online]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : sites.google.com/site/basicseling/ home/xacary-phu-sx. 2560. แนวหนา้ . ปศสุ ตั ว์หนนุ เกษตรกรยกระดับการเล้ยี งโคเนอ้ื ใหไ้ ดค้ ุณภาพปอ้ นตลาดพรีเมี่ยม. [online]. เข้าถึงไดจ้ าก : https://sootinclaimon.wordpress.com/2016/08/24/ รายงานพเิ ศษ-กรมปศุสัต/. 2559. ประชาชาติธรุ กิจ. ส่งออกไก่ไปจนี ฉลยุ หลงั ASF หมูระบาดหนัก. . [online]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://www.prachachat.net/economy/news-372409. 2559. มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา. 2559. การส่งออกไก่เนอื้ . สงขลา : มหาวทิ ยาลัยราชภัฎสงขลา. ศริ พิ ร ปลวกแก้ว. วชิ าการขาย. [online]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : sites.google.com/site/karkhaypwch1/home. 2559. ศูนยว์ จิ ัยและพฒั นา กรมปศุสตั ว์. 2559. สภาวการณ์ของตลาดสินคา้ ปศุสตั ว์ในปี 2559. กรงุ เทพฯ : ศนู ยว์ จิ ยั และพฒั นา กรมปศสุ ตั ว์. สนุกดอทคอม. อาหารสดตลาดไทปรับขึ้น5-10%ตรษุ จนี . [online]. เขา้ ถงึ ได้จาก : http://news.sanook.com/1943750/. 2559. เสาวภา สร้อยจาปา. 2555. คู่มือประกอบการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง (Module) วิชาผลติ ภัณฑ์พชื . กาญจนบรุ ี : แผนกวชิ าอุตสาหกรรมเกษตร วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีกาญจนบุรี. สานกั ข่าวอสิ รา. ตลาดสนิ คา้ เกษตรสมยั ใหม่ของโลกกับการพัฒนาการของหว่ งโซอ่ ุปทาน สนิ คา้ เกษตร. [online]. เข้าถึงไดจ้ าก : www.isranews.org/about-us/download/ 450/2392. 2560. สานักงานไกด์อุบลดอทคอม. หมยู อ. [online]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://www.guideubon.com/ 2.0/go2ubon/moo-yor-gimlung-ubon/. 2562

61 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต.ิ 2559. สภาพการณก์ ารค้าเกษตร และอาหารในตลาดโลก. กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการ เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาต.ิ สานกั งานปศสุ ัตวจ์ งั หวดั นนทบุรี. สนง.ปศอ. บางใหญ่ ตรวจตอ่ อายุสถานท่จี าหน่ายเน้อื สตั ว์ สะอาด (เขียงสะอาด). [online]. เข้าถงึ ได้จาก : http://pvlo-ntb.dld.go.th/th/ index.php/ th/activity-photo-menu/59-2558/496-58173. 2560. อรณุ ณี ระวงั ภยั . การขาย. [online]. เข้าถงึ ได้จาก : http://freedomro.awardspace.com /Homework/sale.html. 2559. Fermer. Ostrich. [online]. Availaber : https://fermer.blog/bok/pticevodstvo/strausy/ 681-mjaso-strausa.html. 2019.

62 แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 2 เรื่อง ตลาด และการจาหนา่ ยผลิตภณั ฑส์ ัตว์ คาสงั่ : จงเติมคาลงในชอ่ งวา่ งให้สมบูรณ์และถูกต้องท่สี ุด 1. การขาย (Selling) หมายถึง………………………………….…………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….……………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การขายโดยพนกั งาน (Personal selling) หมายถงึ ………………………………….………………………… …………………………………………………………………………………………………………….………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การขายปลีก (……………………………………..) มลี กั ษณะการขาย……………………………………………… แยกออกได้ดงั ตอ่ ไปน…ี้ ……………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. เทคนิคการสร้างความสาเรจ็ ในอาชพี ทางการขาย ไดแ้ ก่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ประโยชน์ของการขายทม่ี คี วามสาคัญมดี งั ต่อไปนี้ คือ 5.1 ประโยชนข์ องการขายทม่ี ีผลตอ่ การพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม คือ ……………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

63 5.2 ประโยชน์ของการขายทม่ี ีผลตอ่ องค์การธุรกจิ คอื …………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5.3 ประโยชนข์ องการขายที่มผี ลต่อการสรา้ งความม่ังคั่งใหก้ บั สงั คม คือ……………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. กระบวนการขาย (…………………………………………………………….) มกี จิ กรรมขัน้ ตอนดงั ตอ่ ไปนี้ 6.1…………………………………………………………………………………………………………………………… 6.2…………………………………………………………………………………………………………………………… 6.3…………………………………………………………………………………………………………………………… 6.4…………………………………………………………………………………………………………………………… 6.5…………………………………………………………………………………………………………………………… 6.6…………………………………………………………………………………………………………………………… 7. การโฆษณา หมายถงึ ……………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… - สื่อท่ใี ช้ในการโฆษณา แบ่งออกเปน็ ……………….ประเภท คอื 7.1…………………………………………………………………………………………………………………………… 7.2…………………………………………………………………………………………………………………………… 7.3…………………………………………………………………………………………………………………………… 7.4…………………………………………………………………………………………………………………………… 7.5…………………………………………………………………………………………………………………………… 8. ผบู้ รโิ ภค หมายถงึ ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 9. ความตอ้ งการสินค้าของผ้บู ริโภค แบ่งออกได้ 4 ประเภททส่ี าคัญ คือ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

64 10. อิทธิพลท่ีมีต่อการยอมรบั สินค้าของผู้บรโิ ภคข้ึนอยู่กับปจั จัย 6 ประการ ไดแ้ ก่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook