Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 6 สารเคมีในชีวิตประจำวันและผลกระทบฯ

บทที่ 6 สารเคมีในชีวิตประจำวันและผลกระทบฯ

Published by Sureerat Temawat, 2021-02-22 10:22:17

Description: บทที่ 6 สารเคมีในชีวิตประจำวันและผลกระทบฯ

Search

Read the Text Version

สารเคมีในชีวติ ประจาํ วัน และผลกระทบต่อส<งิ แวดล้อม (ยาและเคร<ืองสาํ อาง) วิชาโลกกับวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

ความหมายของยา Ø องค์การอนามัยโลกได้ให้คําจํากัดความของคําว่ายา หมายถึง สารหรือ ผลิตภัณฑ์ ทEีมีวัตถุ ประสงค์ ในการใช้ เพEือให้ เกิดการเปลEี ยนแปลงของ ขบวนการทางพยาธิวิทยาซEึงทาํ ให้เกิดโรคทงัP นีเP พEือก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ ได้รับยานันP

ประเภทของยา 1. พระราชบญั ญัตยิ า (ฉบบั ท3ี 5) พ.ศ. 2530 ได้จาํ แนกยาไว้ 9 ประเภท ได้แก่ ยาแผน ปัจจุบัน ยาแผนโบราณ ยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ ยาใช้ภายนอก ยาใช้เฉพาะท3ี ยา สามัญประจาํ บ้าน ยาบรรจุเสร็จ และยาสมุนไพร 2. การออกฤทธVิทางกายวภิ าคศาสตร์และประโยชน์ทางการรักษา ได้แก่ ยาท3อี อกฤทธVิต่อ ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทอัตโนมัติ ระบบหายใจ ระบบหัวใจและหลอด เลือด ระบบทางเดินอาหาร ระบบสืบพันธ์ุ ยาท3ีออกฤทธVิต่อไต ยาแก้แพ้ ยาลดอาการ อักเสบ ยาต้านจุลชีพ และยาอ3ืนๆ

ความสาํ คัญของยา - ป้องกันโรค ส่งเสริมสุขภาพเพ8อื การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการท8ดี ี - ยาเป็ นท8พี 8งึ ลดความทกุ ข์ทรมาน ความเจบ็ ไข้ได้ป่ วย

ยากับวทิ ยาศาสตร์

ธรรมชาตแิ ละแหล่งกาํ เนิดยา § จากธรรมชาติ ได้แก่ จากพชื สัตว์ และแร่ธาตุโดยนํามาทาํ ยาโดยตรงไม่เปลBียนแปลง สภาพ ซBงึ เรียกว่า ยาสมุนไพร และสกัดเอาสารทBมี ีออกมาทาํ ให้บริสุทธJิ § สารสังเคราะห์ ได้จากการสังเคราะห์โดยอาศัยปฏกิ ริ ิยาทางเคมีในห้องปฏบิ ตั กิ าร อาจจะเป็ นยาสังเคราะห์เลียนแบบสารทBไี ด้จากธรรมชาติ หรือ ยาสังเคราะห์ทBไี ม่ ปรากฏในธรรมชาติ สารสังเคราะห์หรือกBงึ สังเคราะห์เหล่านีจO ะมีคุณสมบตั ทิ างเภสัช วทิ ยาใกล้เคียงหรือต่างจากสารทBไี ด้จากธรรมชาติ ผลโรสฮปิ ผลไม้ ทมี= ีวติ ามนิ ซี สูง กว่าผลไม้ทว=ั ไป หลายร้ อยเท่ า

การเรียกชื)อยา ช#ือสามัญทางยา (generic name) เป็ นช#ือสากลท#ใี ช้เรียกอย่างเป็ น ทางการของสารออกฤทธGิทางยาโดยท#วั ไป ช#ือนีจL ะกาํ หนดในเภสัช ตาํ รับหรือองค์การอนามัยโลกกาํ หนดขนึL เช่น พาราเซตามอล หรือ อะเซตามโิ นเฟน เป็ นต้น ช#ือทางการค้า (trade name) เป็ นช#ือท#บี ริษัทผู้ผลติ หรือตวั แทน จาํ หน่ายเป็ นผู้ตงัL และขอจดทะเบยี นไว้กับกระทรวงสาธารณสุข การตงัL ช#ือจะต้องง่ายและน่าสนใจ ช#ือทางการค้าของพาราเซตามอล ได้แก่ ซารา ไทลนิ อล

ประเภทของยา พระราชบญั ญัตยิ าฉบบั ท/ี 0 พุทธศักราช 6078 ได้ กาํ หนดประเภทของยาไว้ F ชนิด ดงั นีG H) ยาแผนปัจจุบนั หมายถงึ ยาท/ใี ช้รักษาโรคแผน ปัจจุบนั ทงัG ในคนและสัตว์ เช่น ยาลดไข้ ยาปฏชิ ีวนะ ยาแก้ปวด ยาแก้แพ้ เป็ นต้น

!) ยาแผนโบราณ หมายถงึ ยาท3ใี ช้รักษาโรคแผนโบราณทงั; ในคนและสัตว์ ยาชนิดนีจ; ะต้องขนึ; ทะเบยี นเป็ นตาํ รับยาแผนโบราณอย่างถกู ต้อง เช่น ยาธาตุบรรจบ ยาเทพมงคล ยาเขียวหอม เป็ นต้น Q) ยาสามัญประจาํ บ้าน หมายถงึ “ยาแผนปัจจุบนั หรือยาแผนโบราณท3ี รัฐมนตรีประกาศเป็ นยาสามัญประจาํ บ้าน” การขายยาสามัญประจาํ บ้านตาม พระราชบญั ญัตนิ ีใ; ครกส็ ามารถขายได้ ไม่จาํ กัด สถานท3ขี ายยาแต่อย่างใด ได้แก่ ยาระบายมะขามแขก ยาดมแก้วงิ เวียน เหล้าแอมโมเนียหอม

ประเภทของยา (ต่อ) !) ยาอันตราย หมายถงึ ยาท1ตี ้องจาํ หน่ายเฉพาะในร้านขายยาแผนปัจจุบนั ภายใต้การควบคุมของเภสัชกร เพราะหากใช้ยาประเภทนีไH ม่ถกู ต้อง อาจมี อันตรายถงึ แก่ชีวติ ได้ เช่น ยาปฏชิ ีวนะชนิดต่างๆ ยาลดความดนั เลือด เป็ นต้น R) ยาควบคุมพเิ ศษ เป็ นยาท1เี ภสัชกรจ่ายได้เฉพาะเม1ือมีการนําใบส1ังยาจาก แพทย์มาซือH ยากลุ่มนีเH ป็ นยาท1มี ีความเป็ นพษิ ภยั สูงหรืออาจก่ออันตรายต่อ สุขภาพได้ง่าย จงึ เป็ นยาท1ถี กู จาํ กัดการใช้ ต้องอยู่ในความควบคุมของแพทย์ และแพทย์จะใช้ยาประเภทนีกH ต็ ่อเม1ือมีความจาํ เป็ นจริงๆ เท่านันH

ประเภทของยา (ต่อ) 6) ยาบรรจุเสร็จ หมายถงึ ยาแผนปัจจุบนั ท9ผี ลติ ขนึ> เสร็จในรูปแบบต่าง ๆ ทางเภสัชกรรม มีบรรจุหบี ห่อปิ ดไว้ และมีฉลากครบถ้วน 7) ยาสมุนไพร หมายถงึ ยาท9ไี ด้จากพฤกษชาติ สัตว์ หรือแร่ ซ9งึ มไิ ด้ผสม ปรุง หรือแปร สภาพ คณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ได้มีมติ พ.ศ.YZ[Y ให้แบ่ง ประเภทยาสมุนไพรเป็ น [ กลุ่ม คือ ยาแผนโบราณ ยาจากสมุนไพรแผนโบราณ ยาจาก สมุนไพรแผนปัจจุบนั และยาแผนปัจจุบนั ท9เี ป็ นยาใหม่ 8) ยาใช้ภายนอก หมายถงึ ยาปัจจุบนั หรือยาแผนโบราณ ท9ใี ช้สาํ หรับภายนอกร่างกาย เช่น ถู ทา 9) ยาใช้เฉพาะท9ี หมายถงึ ยาปัจจุบนั หรือยาแผนโบราณ ท9ใี ช้ได้เฉพาะท9ตี ามท9รี ะบุในฉลาก เท่านัน>





รู้จักยาเหล่าน/ีหรือไม่

◦วัตถุออกฤทธ,ิ (Psychotropic substances) หมายถงึ วัตถุทFอี อกฤทธ,ิต่อ จติ ประสาท อาจเป็ นสFงิ /สารจากธรรมชาติ หรือทFเี ป็ นวัตถุสังเคราะห์ หรืออีกนัยหนFึง หมายถงึ สารเคมีหรือวัตถุใด ๆ ซFงึ มีผลต่อระบบ ประสาทส่วนกลางทFที าํ ให้เกดิ การเปลFียนแปลงสภาพจติ ใจของผู้ได้รับ สารเหล่ านี d วัตถุออกฤทธ,ิแบ่งเป็ น e ชนิด คือ วัตถุออกฤทธ,ิต่อจติ และประสาท และ ยาเสพตดิ ให้โทษ

วัตถุออกฤทธ,ิต่อจติ และประสาท วัตถุออกฤทธ,ิต่อจติ และประสาท (Psychotropic drug) เป็ นยาทKอี อกฤทธ,ิต่อระบบประสาทส่วนกลาง ซKงึ ในระบบประสาท ส่วนกลาง มีสารเคมีทKคี วบคุมการทาํ งานของร่างกายหลายระบบ เช่น วัตถุออกฤทธ,ิทKมี ีผลทาํ ให้ไม่อยากกนิ อาหารทKใี ช้ประโยชน์ในการ ลดความอ้วน หรือบางชนิดออกฤทธ,ิช่วยให้นอนหลับ

วัตถุออกฤทธ,ิต่อจติ และประสาท แบ่งออกได้เป็ น ? ประเภท ดงั นีB ประเภททCี D มีอันตรายร้ายแรง มีประโยชน์ด้านการแพทย์น้อยหรือไม่มี เลย ซCงึ ห้ามมใิ ห้ผู้ใดผลติ ขาย นําเข้า หรือส่งออก การนําผ่านต้องมี ใบอนุญาต เช่น เตตราไฮโดรแคนนาบนิ อล (Tetrahydrocannabinol: มีอยู่ในพชื พวก กัญชา)

ประเภทท(ี * มีอันตรายมาก มีประโยชน์น้อยในด้านการแพทย์ ห้าม มใิ ห้ผู้ใดผลติ ขาย นําเข้า หรือส่งออก เว้นแต่การผลติ เพ(อื ส่งออก บางชนิดท(รี ัฐมนตรีประกาศระบุช(ืออนุญาต การนําผ่านต้องมี ใบอนุญาต เช่น ◦กลุ่มยาลดความอ้วน เช่น เฟนเตอร์มีน (Phentermine) ◦กลุ่มยานอนหลับ เช่น มดิ าโซแลม (Midazolam) โซปิ เดม (Zopidem) ◦กลุ่มวัตถุดบิ เช่น ซูโดอฟิ ิ ดนี (Pseudoephedine: ยาแก้คัด จมูก ยาลดนําf มูก) ท(เี ป็ นสารตงัf ต้นในการผลติ ยาบ้า แต่ปกติ เป็ นส่วนผสมในการผลิตยาบรรเทาอาการโรคหวัด

ประเภทท(ี * มีอันตรายมาก แต่ก็มีประโยชน์ ด้านการแพทย์มาก เช่นกัน ห้ามมใิ ห้ผู้ใดผลิต ขาย นําเข้า ส่งออก หรือนําผ่าน เว้นแต่ได้รับ ใบอนุญาต การนําเข้า-ส่งออก ต้องมีใบแจ้ง ยาประเภทท(ี * นีมN ีโอกาส เสพติดน้อยกว่าประเภท O สามารถขายตามร้านขายยาได้ แต่ต้องขาย ตามใบส(ังแพทย์ เช่น บพู รีนอร์ฟี น (Buprenorphine)

◦ประเภทท(ี * มีอันตรายน้อย มีประโยชน์มากด้านการแพทย์ ห้ามมใิ ห้ ผู้ใดผลติ ขาย นําเข้า ส่งออก หรือนําผ่าน เว้นแต่ได้รับใบอนุญาต การ นําเข้า ส่งออก ต้องมีใบแจ้ง ยาประเภทท(ี * นีมL ีโอกาสเสพตดิ น้อยกว่า ประเภท M ได้แก่ กลุ่มใช้ทาํ ยาสงบประสาท เช่น ไดอะซีแพม (Diazepam), คลอร์ไดอาซีพอกไซด์ (Chlordiazepoxide)

ยาเสพตดิ ให้โทษ (Narcotic drug) ◦ ยาเสพตดิ ให้โทษ (Narcotic drug) ออกฤทธ@ิต่อจติ และประสาท ส่วนกลาง เช่นกัน แต่ออกฤทธ@ิเฉพาะแห่ง เช่น เฉพาะส่วนทOที าํ ให้ เกดิ อาการปวด จงึ ใช้แก้ปวดทOรี ุนแรงได้ผลดี แต่เสพตดิ ได้ง่าย ทาํ ให้เกดิ อาการประสาทหลอน เมOือหยุดใช้ยาจะเกดิ อาการถอนยา ◦ยาเสพตดิ ให้โทษ ตามพระราชบญั ญัตยิ าเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. \\]\\\\ แบ่งเป็ น ] ประเภท ได้แก่

ยาเสพตดิ ให้โทษประเภท 4 ไม่มีประโยชน์ทางการแพทย์ ห้ามผลติ จาํ หน่าย นําเข้า ส่งออก หรือมีไว้ครอบครอง เว้นแต่การมีไว้ในครอบครองกรณีจาํ เป็ น เพKอื ประโยชน์ของทางราชการตามทKรี ัฐมนตรีจะอนุญาต เช่น เฮโรอีน ยาบ้า

ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท 5 มีประโยชน์ทางการแพทย์ ผลติ หรือนําเข้า โดยกระทรวงสาธารณสุข และจาํ หน่ายให้แก่ผู้มีใบอนุญาต จาํ หน่ายหรือครอบครองยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท 5 ได้แก่ ผู้ประกอบ อาชีพเวชกรรม เภสัชกรรม ทนั ตกรรม และสัตวแพทย์ §กลุ่มยาทOใี ช้ในการแก้ปวด เช่น เฟนตานิล(Fentanyl), โคเคน (Cocaine) §กลุ่มยาทOใี ช้ในการรักษาผู้ทOตี ดิ ยาเสพตดิ เช่น โอเปOี ยมทงิ เจอร์ (Opium tincture), เมทาโดน (Methadone) §กลุ่มยาทOใี ช้ในการผ่าตดั เช่น มอร์ฟิ น (Morphine), เฟนตานิล (Fentanyl) §กลุ่มยาทOใี ช้เป็ นวัตถุดบิ (สาํ หรับใช้ในการผลติ วัตถุเสพตดิ ในประเภทi) เช่น โคเดอีน (Codeine), ฝOิ น

ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท 5 เป็ นผลติ ภณั ฑ์ท>นี ํายาเสพ ตดิ ให้โทษในประเภท @ ผสมกับยาชนิดอ>ืน ได้ผลติ ภณั ฑ์ยา สาํ เร็จรูป เช่น ยาแก้ไอ หรือยาแก้ปวด (มีโคเดอีน เป็ นส่วนผสม)

ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท 5 ใช้เป็ นวัตถุดบิ ในทางอุตสาหกรรมหรือ วทิ ยาศาสตร์ นําเข้าโดยกระทรวงสาธารณสุข ขายให้แก่ผู้มีใบอนุญาต จากสาํ นักคณะกรรมการอาหารและยา ไม่ใช่ยาเสพตดิ ให้โทษโดยตรง แต่เป็ นสารตงัR ต้นทSนี ําไปผลติ เป็ นยาเสพตดิ ให้โทษได้ เช่น อะเซตกิ แอนไฮไดร์ (Acetic anhydride: ผลิตเฮโรอีน) มี ประโยชน์ทางอุตสาหกรรมในการผลติ แป้ง คุณสมบตั ทิ Sเี หมาะสมกับ ความต้องการของผู้ใช้กระบวนการผลติ สีทาต่าง ๆ หรือประโยชน์ ทางด้านวทิ ยาศาสตร์เป็ นส่วนผสมในการผลติ ยาบางชนิด เช่น ยา รักษาไมเกรน

ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท 5 ส่วนใหญ่เป็ นพชื ท=ที าํ ให้เกดิ การเสพตดิ ได้ ห้ามผลิต จาํ หน่าย นําเข้าส่งออก เช่น กระท่อม ต้นฝ=ิ น เหด็ ขีคI วาย กัญชา

“มาเลเซีย” คว้า “ใบกระท่อม” จดสทิ ธิบตั รทาํ สมุนไพร ทงัB ๆ ทEไี ทยเป็ นชาตแิ รก ทEใี ช้ใบกระท่อมเป็ น “ยา”





ประเภทของยา (ต่อ) !) ยาสมุนไพร หมายถงึ ยาท3ไี ด้จากพชื สัตว์ หรือแร่ ซ3งึ ยังไม่ได้นํามาผสม หรือ เปล3ียนสภาพ เช่น ว่านหางจระเข้ กระเทยี ม มะขาม มะเกลือ ดงี เู หลือม ดเี กลือ สารส้ม เป็ นต้น 5) ยาท3ใี ช้ภายนอก หมายถงึ ยาปัจจุบนั หรือยาแผนโบราณ ท3ใี ช้สาํ หรับภายนอก ร่างกาย เช่น ถู ทา 6) ยาใช้เฉพาะท3ี สาํ หรับใช้เฉพาะท3กี ับผิวหนัง หู ตา จมูก ปาก ทวารหนัก ช่อง คลอด หรือท่อปัสสาวะ



!) ยาสามัญประจาํ บ้าน (Household Remedy) หมายถงึ ยาทงัC ทEเี ป็ น แผนปัจจุบนั และแผนโบราณ ซEงึ กาํ หนดไว้ในพระราชบญั ญัตยิ าว่า เป็ นยาสามัญประจาํ บ้าน เช่น ยาธาตุนําC แดง ยาขับลม ยาระบาย แมกนีเซีย ยาเมด็ พาราเซตามอล เป็ นต้น

ยาสามัญประจาํ บ้าน คืออะไร ◦ยาท%กี ระทรวงสาธารณสุขได้พจิ ารณาคัดเลือกว่าเป็ นยาท%เี หมาะสมท%จี ะ ให้ประชาชนหาซือE มาใช้ได้ด้วยตนเอง เพ%อื การดแู ลรักษาอาการ เจบ็ ป่ วยเล็กๆ น้อยๆ ท%มี ักจะเกดิ ขนึE ได้ ประกอบกับยาดงั กล่าวมีราคา ย่อมเยา ◦สามารถหาซือE ได้ท%วั ไปตามร้านขายยา มีขายทงัE ในเมืองและตามชนบท เพราะกระทรวงสาธารณสุขมีความต้องการให้ยาสามัญประจาํ บ้านได้ กระจายไปถงึ ประชาชนท%วั ประเทศ ทาํ ให้ประชาชนดแู ลตนเองได้อย่าง ท%วั ถงึ ◦เป็ นยาท%มี ีความปลอดภยั อย่างสูง หากประชาชนใช้ยาได้อย่างถกู ต้อง กจ็ ะไม่มีอันตรายเกดิ ขนึE

จะรู้ได้อย่างไรว่าเป็ นยาสามัญประจาํ บ้าน ◦ยาแผนปัจจุบนั มีทงั. หมด 34 ชนิด นํามาใช้กับโรคหรืออาการของโรค ได้ BC กลุ่ม ยาสามัญประจาํ บ้านอาจมีชIือทางการค้า หรือยIีห้อ แตกต่างกัน ขนึ. อยู่กับผู้ผลติ แต่ละราย แต่ควบคู่ไปกับชIือการค้า จะต้องมีชIือยาตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข และ ฉลากของยา สามัญประจาํ บ้านจะต้องมีคาํ ว่า \"ยาสามัญประจาํ บ้าน\" อยู่ในกรอบสีเขียว



ยาสามัญประจาํ บ้าน 01 กลุ่ม 0. ยาบรรเทาปวดลดไข้ ได้แก่ ยาเมด็ บรรเทาปวด ลดไข้ ?. ยาแก้แพ้ ลดนําA มูก ได้แก่ ยาเมด็ แก้แพ้ลดนําA มูก คลอร์เฟนิรามีน I. ยาแก้ไอ ขับเสมหะ ได้แก่ ยานําA แก้ไอ ขับเสมหะสาํ หรับเดก็

ยาสามัญประจาํ บ้าน 01 กลุ่ม (ต่อ) :. ยาดมหรือยาทาแก้วงิ เวียน หน้ามืด คัดจมูก ได้แก่ ยาดมแก้วงิ เวียน เหล้าแอมโมเนียหอม J. ยาแก้เมารถ เมาเรือ ได้แก่ ยาแก้เมารถ เมาเรือ 1. ยาสาํ หรับโรคปาก และลาํ คอ ได้แก่ ยากวาดคอ L. ยาแก้ปวดท้อง ท้องอืด ท้องขนึO ท้องเฟ้อ ได้แก่ ยาแก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ยาธาตุนําO แดง

ยาสามัญประจาํ บ้าน 01 กลุ่ม (ต่อ) :. ยาแก้ท้องเสีย ได้แก่ ยาแก้ท้องเสีย ผงนําD ตาลเกลือแร่ F. ยาระบาย ได้แก่ ยาระบายกลีเซอรีน ชนิดเหน็บทวารหนักสาํ หรับเดก็ และ ผู้ใหญ่ 0O. ยาถ่ายพยาธิลาํ ไส้ ได้แก่ ยาถ่ายพยาธิตวั กลม มีเบนดาโซล 00. ยาบรรเทาอาการปวดกล้ามเนือD แมลงกัดต่อย ได้แก่ ยาหม่องชนิดขีผD ึงD

ยาสามัญประจาํ บ้าน !R กลุ่ม (ต่อ) !\" ยาสาํ หรับโรคตา ได้แก่ ยาล้างตา !7. ยาสาํ หรับโรคผิวหนัง ได้แก่ ยารักษาหดิ เหา เบนซลิ เบนโซเอต ยารักษาหดิ ขีผC ึงC กาํ มะถนั !H.ยารักษาแผลตดิ เชือC ไฟไหม้ นําC ร้อนลวก ได้แก่ ยารักษาแผลนําC ร้อนลวกฟี นอล !L. ยาใส่แผล ยาล้างแผล ได้แก่ ยาเอทธิลแอลกอฮอล์ นําC เกลือล้างแผล !R.ยาบาํ รุงร่างกาย ได้แก่ ยาเมด็ วติ ามนิ บรี วม ยาเมด็ วติ ามนิ ซี

กระบวนการของยาในร่ างกาย การเปล;ียนแปลง การดดู ซมึ ตําแหนง่ ที+จะ การเปล;ียนแปลง พลาสมา ออกฤทธิ3 การขับถ่าย การเก็บสะสม

สาเหตุของอันตรายจากการบริโภคยา v ยาไม่ดี เช่นการผลติ ท?ไี ม่ถกู ต้อง การควบคุมคุณภาพไม่ดี ตาํ รับยาไม่ เหมาะสม ยาเส?ือมคุณภาพ ยาผิดมาตรฐาน ยาปลอม v การใช้ยาผิดและไม่เหมาะสม เช่น ใช้ไม่ถกู กับคน ไม่ถกู โรค ไม่ถกู วธิ ี ไม่ถกู ขนาด ไม่ถกู ช่วงเวลา ใช้ระยะเวลาไม่เพยี งพอหรือมากเกนิ ไป การใช้ยารวมกัน หลายขนานหรือร่ วมกับอาหารบางชนิด v ภาวะของผู้ใช้ยาท?แี ตกต่างจากบุคคลท?วั ไป

ลักษณะของยาท.อี ันตราย ยาหมดอายุ หมายถงึ ยาท.ไี ม่มีประสิทธิภาพในการบาํ บัดรักษาโรคเน.ืองจากตัวยา บางส่วนหรือทังJ หมดมีการสลายตัวไป สามารถดูวันหมดอายุท.ีภาชนะบรรจุยา โดย ใช้คาํ ว่า Exp. หรือ Exp. Date หรือ Expired Date หรือ Potency Guaranteed to.แล้ว ตามด้วย วัน เดือน ปี หรือ เดือน ปี ส่วนยาท.ีไม่ได้บอกวันหมดอายุท.ีภาชนะบรรจุ ยา อาจบอกวันท.ผี ลติ โดยการใช้คาํ ว่า Mfd. Date หรือ M.F.D. แล้วตามด้วยวัน เดอื น ปี หรือ เดือน ปี และอาจบอกระยะเวลาของคุณภาพยาไว้ ยาเม็ดจะมีอายุประมาณ 5 ปี ส่วนยาแคปซูล ยานําJ และยาครีมจะมีอายุประมาณ 3 ปี

ยาสมุนไพร ◦ ยาสมุนไพร คือ ยาท0ีได้จากพฤกษชาติ สัตว์ หรือ แร่ ซ0ึงมิได้ผสม ปรุงหรือแปรสภาพ สมุนไรจากพืช โดยใช้ส่วนต่าง ๆ ของพืชท0ีมีสารท0ีใช้เป็ นยาได้ ได้แก่ ใบ ดอก ผล เปลือก เมล็ด รากหรือหัว ต้น แก่น กระพีO เนือO ไม้ เปลือกไม้ สมุนไพรท0ีได้จากสัตว์ อาจจะใช้สัตว์ทังO ตัว ส่วนหรืออวัยวะของร่ างกายสัตว์ เช่น กวาง (เขาแก่ เขาอ่อน) จระเข้ (ดี) งูเห่า (หัว กระดูก ดี) คางคก (ทังO ตัว) ปลาช่อน (ดี หาง เกล็ด) นกกา (หัว กระดูก ขน) ผึงO (นําO ผึงO ) แมลงสาบ (มูล) แมงมุม (ตายซาก) สมุนไพรท0ีได้จากแร่ ธาตุ (ธาตุวัตถุ) อาจเป็ นแร่ธาตุท0ีเกิดตามธรรมชาติหรือส0ิงท0ีประกอบขึนO จากแร่ธาตุต่าง ๆ ตามกรรมวิธี เช่น ดินสอพอง ดินเหนียว กํามะถันเหลือง สารส้ม ทองคํา เหล็ก (สนิม) เกลือ สกัดควนิ ินจากเปลือกต้นซงิ โคนา เพ0อื ใช้รักษาโรคมาลาเรีย

กลุ่มอาการและโรคทแ/ี นะนําให้ใช้สมุนไพร ยารับประทาน ได้แก่ 1. ท้องผูก ได้แก่ ขีเ9 หลก็ คูน ชุมเหด็ เทศ ชุมเหด็ ไทย มะกา แมงลัก มะขาม มะขามแขก สมอไทย 2. ท้องอืด ท้องเฟ้อ และแน่น จุกเสียด ได้แก่ กระชาย กระทอื กระเทยี ม กระวาน กะเพรา กานพลู ข่า ขงิ ดปี ลี ตะไคร้ เปราะหอม พริกไทย มะนาว เร่ว แห้วหมู 3. ท้องเดนิ ได้แก่ กล้วยนํา9 ว้า ขมนิ9 ชัน ขมนิ9 อ้อย แคบ้าน ทบั ทมิ ฝรOัง ฟ้าทะลายโจร มะขาม มะเดOอื ชุมพร มังคุด สีเสียดเหนือ หมาก 4. พยาธิลาํ ไส้ ได้แก่ ชุมเหด็ เทศ ฟักทอง ทบั ทมิ มะเกลือ มะขาม มะหาด เลบ็ มือนาง สะแก 5. บดิ (ปวดเบ่งมีมูก หรือ อาจมีเลือดด้วย) ได้แก่ กระชาย กระทอื ทบั ทมิ นํา9 นมราชสีห์ มังคุด โมกหลวง สีเสียดเหนือ 6. คลOืนไส้ อาเจยี น (เกดิ จากธาตุไม่ปกต)ิ ได้แก่ กะเพรา ขงิ จนั ทน์เทศ ดปี ลี ตะไคร้ ผักชี มะตมู ยอ

กลุ่มอาการและโรคทแ/ี นะนําให้ใช้สมุนไพร (ต่อ) ยารับประทาน ได้แก่ 1. ไอ และขับเสมหะ ได้แก่ ขงิ ดปี ลี พุงทะลาย เพกา มะขาม มะขามป้อม มะนาว มะแว้งเครือ มะแว้งต้น ส้มป่ อย หนอนตายยาก 8. อาการไข้ ได้แก่ กระดอม จนั ทน์เทศ ชงิ ช้าชาลี บอระเพด็ ปลาไหลเผือก ฟ้าทะลายโจร ย่านาง ลูกใต้ใบ 9. ขัดเบา (ควรใช้เมPือมีอาการและใช้จนเหน็ ผลชัดเจนแล้วควรหยุด ไม่ควรจะใช้ตลอดเวลา) ได้แก่ กระเจยีR บแดง กระทบื ยอบ ขลู่ โคกกระสุน ชุมเหด็ ไทย ตะไคร้ มะละกอ สับปะรด หญ้า คา หญ้าชันกาด หญ้าไซ หญ้าหนวดแมว อ้อยแดง 10. กลาก ได้แก่ กระเทยี ม กระเบา ชุมเหด็ เทศ ทองพนั ชPัง 11. เกลือR น ได้แก่ กระเทยี ม ข่า ทองพนั ชPัง ราชดดั 12. นอนไม่หลับ ได้แก่ ขีเR หล็ก

กลุ่มอาการและโรคทแ/ี นะนําให้ใช้สมุนไพร (ต่อ) ยาใช้ภายนอก ได้แก่ 5. เหา ได้แก่ น้อยหน่า บวบขม 1. ฝี และแผลพุพอง ได้แก่ ขมนิ< ชัน ชุมเหด็ เทศ 6. ชันนะตุ ได้แก่ มะคาํ ดคี วาย เทยี นบ้าน มะคาํ ดคี วาย ว่านหางจระเข้ สาํ มะงา 7. ปวดฟัน ได้แก่ กานพลู แก้ว ข่อย ผักคราดหวั เหงอื กปลาหมอ แหวน 2. เคลด็ ขัดยอก ได้แก่ ไพล 8. ริดสีดวงทวารหนัก ได้แก่ เพชรสังฆาต 3. แพ้ อักเสบ แมลงสัตว์กัดต่อย (ไม่รวมงพู ษิ ) 9. หดิ ได้แก่ แสมสาร หญ้ารกช้าง ได้แก่ ขมนิ< ชัน ตาํ ลงึ ผักบุ้งทะเล พญายอ พลู เสลดพงั พอน หอม 10. เริม และงสู งดั ได้แก่ ตาํ ลงึ พญายอ เสลดพงั พอน หญ้านํา< ดบั ไฟ หมากดบิ นํา< ค้าง 4. แผลไฟไหม้ นํา< ร้อนลวก ได้แก่ มะพร้ าว บวั บก ว่านหางจระเข้ หาดหนุน 11. ลมพษิ ได้แก่ กุยช่าย พลู ส้มโอ

สาํ มะงา เหงอื กปลาหมอดอกขาว

ข้อแนะนําในการใช้ยาและพืชสมุนไพร Ø ต้องรู้อาการท+ไี ม่ควรใช้สมุนไพรรักษา แต่ต้องรีบไปพบแพทย์ Ø ต้องรู้สาเหตุและอาการของโรคให้แน่ชัด Ø ใช้พชื สมุนไพรให้ถกู ต้อง ได้แก่ ถกู ต้น ถกู ส่วน ถกู ขนาด ถกู วธิ ี ถกู กับโรค และถกู กับคน Ø คาํ นึงถงึ ความสะอาดในการเกบ็ ยา การเตรียมยา และเคร+ืองมือเคร+ืองใช้ในการทาํ ยา Ø ไม่ใช่ยาและพชื สมุนไพรท+ขี นึM รา เก่าจนเส+ือมคุณภาพ สกปรก หรือมีแมลงชอนไชหรือมีพชื ชนิด อ+ืนหรือวัตถุชนิดอ+ืนปะปน Ø ควรเร+ิมใช้สมุนไพรท+เี ป็ นอาหารก่อน ควรรู้พษิ ยาก่อนใช้ รู้ข้อห้ามใช้ เพราะยาบางชนิด มีข้อห้าม ใช้กับคนบางคน บางโรค Ø ถ้าไม่เคยใช้มาก่อน ควรเร+ิมในปริมาณและความเข้มข้นต+าํ Ø ควรใช้ยาตามหลักการรักษาของแพทย์แผนโบราณ การดดั แปลงเพ+อื ความสะดวกอาจทาํ ให้เกดิ อันตราย

ข้อแนะนําในการใช้ยาและพืชสมุนไพร Øโดยท&วั ไป เม&ือใช้ยาสมุนไพรแล้ว 1 วัน อาการไม่ดขี นึ@ หรือ ถ้าเป็ นโรคเรือ@ รังใช้ยา 1 สัปดาห์ อาการไม่ดขี นึ@ ต้องเปล&ียนยา หรือไปพบแพทย์ Ø หากเกดิ อาการแพ้ยา ควรหยุดยาเสียก่อน ถ้าอาการหายไป อาจทดลองใช้ยาอีกครัง@ โดยระมัดระวัง ถ้าอาการเช่นเดมิ เกดิ ขนึ@ อีก ควรหยุดยาและเปล&ียนไปใช้ยาอ&ืน หาก อาการแพ้ยารุนแรง ควรรีบไปพบแพทย์ Ø การใช้ยาสมุนไพรบางชนิด ควรงดอาหารท&มี ันจดั และรสจดั ยาจงึ จะมีประสทิ ธิภาพดี Ø การรักษาโรคด้วยยาสมุนไพรครัง@ หน&ึงๆ ไม่ควรใช้ยาตดิ ต่อกันนาน ๆ Ø อย่าใช้ยาเข้มข้นเกนิ ไป Ø คนท&อี ่อนเพลียมาก เดก็ อ่อน คนชรา มีกาํ ลังต้านทานยาน้อย ห้ามใช้ยามาก จะทาํ ให้ เกดิ พษิ ได้ง่าย

ปัญหาการใช้ยาของคนไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook