ระบบรา้ นขายของแบงกะเบน จัดทำโดย นางสาวจริ ชั ญา สงั ฆเวช เลขท่ี 4 นางสาวนภสั สร เปลง่ ศรี เลขที่ 11 นายเมธสั คงแกว้ เลขที่ 30 เสนอ ครูจิรวรรณ มะลาไสย รายงานเลม่ นเ้ี ป็นสว่ นหนงึ่ ของรายวชิ าการวเิ คราหแ์ ละออกแบบระบบเชิงวัตถุ รหสั วชิ า 3204–2006 สาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจทิ ลั ระดบั ชั้นประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั้ สูง (ปวส.) วิทยาลัยเทคนคิ จนั ทบุรี ประจำภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564
ระบบร้านขายของแบงกะเบน จดั ทำโดย นางสาวจริ ชั ญา สงั ฆเวช เลขท่ี 4 นางสาวนภัสสร เปลง่ ศรี เลขท่ี 11 นายเมธสั คงแก้ว เลขที่ 30 เสนอ ครจู ิรวรรณ มะลาไสย รายงานเลม่ นเ้ี ปน็ ส่วนหนึง่ ของรายวชิ าการวเิ คราห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ รหสั วชิ า 3204 – 2006 สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั ระดบั ชน้ั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชั้นสูง (ปวส.) วทิ ยาลยั เทคนคิ จันทบุรี ประจำภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564
คำนำ รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ รหัสวิชา 3204-2006 ชั้น ปวส. 1/1 จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการศึกษาของผู้ศึกษาโดยเนื้อหาในรายงานเล่มนี้จะเกี่ยวกับ ระบบร้านขายของปบงกะเบน และได้ศกึ ษาอยา่ งเข้าใจเพือ่ เปน็ ประโยชน์กบั การเรียน เป็นตน้ คณะผู้จัดทำหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือ นักเรียน นักศึกษา ที่กำลัง หาข้อมูลเรื่องนี้อยู่และเพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้านี้ไปใช้ประกอบการ ธุรกิจและการทำงานอน่ื ๆ ตอ่ ไป หากมีข้อเสนอแนะนำหรือข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทำขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ท่นี ้ีดว้ ย คณะผจู้ ดั ทำ ก
สารบญั หนา้ ก คำนำ ข สารบัญ ง สารบัญตาราง จ สารบัญภาพ บทท่ี 1 บทนำ 1 1 1.1 หลักการและเหตผุ ล 1 1.2 ประวตั ิและความเปน็ มา 1 1.3 ปญั หาของระบบ 1 1.4 แนวทางการแกไ้ ข 1 1.5 จดุ ประสงคก์ ารวเิ คราะห์ 1.6 ประโยชน์ทีไ่ ด้รบั 2 บทที่ 2 เอกสารทเี่ ก่ียวข้อง 2.1 ความหมายของร้านแบงกะเบน 3 2.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องรา้ นขายของ 4 2.3 หลักความสำคญั ของร้านขายของ 6 2.4 ประวัติของรา้ นขายของ 2.5 ความสามารถในการทำกำไร 7 2.6 การศกึ ษาระบบงานขายสินค้า 2.7 ระบบฐานข้อมลู 9 2.8 ประโยชน์ของฐานขอ้ มูล 9 2.9 การวิเคราะหร์ ะบบ 13 2.10 การจดั การขอ้ มลู 14 2.11 การออกแบบระบบ 2.12 ประเภทของระบบ บทที่ 3 วิธดี ำเนินการวจิ ยั 3.1 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 3.2 วิเคราะหร์ ะบบโดยใช้ DFD 3.3 ออกแบบ ER-Model 3.4 ออกแบบฐานขอ้ มูลและสร้างความสมั พนั ธ์โดยใช้ Microsoft Access ข
สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน 17 4.1 การออกแบบระบบรา้ นขายของแบงกะเบน 18 4.2 การจัดเกบ็ Data base 20 บทท่ี 5 สรปุ ผลการวเิ คราะห์ ออกแบบระบบและขอ้ เสนอแนะ 20 5.1 วตั ถปุ ระสงค์ของการวเิ คราะห์และออกแบบระบบ 20 5.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล 20 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 21 5.4 สรปุ ผลการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบ 23 บรรณานกุ รม ภาคผนวก ก 25 Context Diagram หรอื DFD ระดบั 0 ของ รา้ นขายของแบงกะเบน 27 ภาคผนวก ข 29 Context Diagram หรือ DFD ระดับ 1 ของ รา้ นขายของแบงกะเบน 30 ภาคผนวก ค ER-Model แบบ Chen Model and Crow'sFoot Model รา้ นขายของแบงกะเบน ภาคผนวก ง สรปุ บทสมั ภาษณ์ คำถาม 15 ข้อ ค
สารบญั ตาราง หน้า ตารางท่ี 18 4.2.1 แสดงขอ้ มูลลูกคา้ 18 4.2.2 แสดงขอ้ มูลสนิ ค้า 19 4.2.3 แสดงข้อมูลรายการขายสนิ ค้า 18 4.2.4 แสดงขอ้ มูลการสัง่ ซ้อื สนิ คา้ 18 4.2.5 แสดงข้อมลู ประเภทสินคา้ 19 4.2.6 แสดงข้อมลู ใบเสรจ็ 19 4.2.7 แสดงข้อมูลพนกั งาน ง
สารบญั ภาพ 1 ภาพที่ 3.1 Context Diagram Level 0 ระบบร้านขายของแบงกะเบน หน้า 3.2 Data flow diagram Level 1 ระบบรา้ นขายของแบงกะเบน 10 3.3 Chen ER-MODEL ระบบรา้ นขายของแบงกะเบน 10 3.4 Craw's Foot ER-MODEL รา้ นขายของแบงกะเบน 13 3.5 การออกแบบตารางข้อมลู ร้านขายของแบงกะเบน 14 3.6 การออกแบบตารางข้อมูล Customer 14 3.7 การออกแบบตารางข้อมูล Products 15 3.8 การออกแบบตารางข้อมลู Employee 15 3.9 การออกแบบตารางข้อมูล Orders 15 3.10 การออกแบบตารางขอ้ มลู Order Details 15 3.11 การออกแบบตารางข้อมูล Category 16 3.12 การออกแบบตารางข้อมลู Receipt 16 3.14 การสร้างความสมั พนั ธห์ รือ Entity Relationship Diagram 16 4.1 หน้าจอ Login 16 4.2 รายการสนิ ค้า 17 4.3 รายการส่ังซือ้ 17 18
2 บทท่ี 1 บทนำ 1.1 หลกั การและเหตผุ ล ร้านขายของ ได้เปิดมาแล้ว 1 ปี เพื่อที่ทำการบริการร้านขายของให้กับบุคคลทั่วไป โดยจะ ขายสินค้าอาหารสด แห้ง และของใชต้ า่ ง ๆ ปัจจุบันร้านขายของ ไม่มีระบบงาน จึงได้พัฒนาและวิเคราะห์ระบบการทำงานร้านขายของ ให้มีประสิทธภิ าพในการทำงานมากขน้ึ 1.2 ประวตั คิ วามเป็นมา เดิมทีการทำงานของรา้ นขายของ จะเป็นการทำงานในรูปแบบ ปริ้นใบส่ังซื้อมาเพ่ือเช็คสินคา้ ว่าครบหรอื ไม่ ซึ่งมันยังไมไ่ ด้ประสิทธิภาพในการทำงานมากพอถึงจะได้ระบบน้ีขึน้ มาเพื่อพัฒนาระบบ เกา่ ใหด้ ี มีประสิทธภิ าพมากขนึ้ การทำระบบงานร้านขายของนี้สร้างขึ้นมาเพื่อให้มีรายละเอียดข้อมูลลูกค้าและข้อมูลต่าง ๆ จะได้มีประสิทธิภาพมากข้นึ 1.3 ปัญหาของระบบ ระบบทเี่ รานำมาทำนี้เกดิ จากการเก็บขอ้ มลู โปรแกรมท่รี า้ นขายของ นนั้ มคี วามซับซอ้ นและยงั ไม่ละเอียดพอเก่ยี วกบั ข้อมูลลูกคา้ และขอ้ มูลอื่น ๆ เราจงึ จะใหร้ ะบบรา้ นน้ันมปี ระสทิ ธิภาพมากขน้ึ 1.4 แนวทางการแกไ้ ข ปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นเราจึงทำระบบร้านขายของ ขึ้นมาเพื่อไม่ให้เกิดการผิดพลาดในการทำงาน ของระบบการตรวจสอบสินค้าและการคดิ เงินภายในร้าน 1.5 จดุ ประสงคก์ ารวเิ คราะห์ 1.5.1 เพือ่ พฒั นาระบบข้อมลู ของร้านขายของ 1.6 ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับ 1.6.1 เพ่ือเพ่มิ ความมนั่ คงของระบบร้านค้า 1.6.2 เพอ่ื สร้างความสะดวกสบายให้กบั ระบบ 1.6.3 เพอ่ื เพ่ิมความแมน่ ยำของสต็อกสนิ คา้ 1.6.4 เพอ่ื ลดความผดิ พลาดและปญั หาของการเช็คสต็อก
3 บทท่ี 2 เอกสารทีเ่ กี่ยวขอ้ ง การวเิ คราะหร์ ะบบร้านขายของ ทางผู้พัฒนาได้ทำการศึกษาหลักการทฤษฎตี ่าง ๆ เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งแหล่งที่มาของข้อมูลที่มีความจำเป็นในการพัฒนาระบบ เพื่อที่ทำให้ได้มี ระบบงานทีม่ ีความถกู ตอ้ งและรวดเร็วในการดำเนินงาน โดยมรี ายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้ 2.1 ความหมายของร้านแบงกะเบน เป็นรูปแบบร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมท่ีบริหารงานโดยเจ้าของคนเดียว ใช้พื้นที่น้อยขายสินค้าที่ จำเป็นในชีวิตประจำวัน ไม่มีการพัฒนารูปแบบการจัดการจัดหาสินค้ามาโดยการซื้อจากหน่วยรถเงิน สดหรือจากร้านค้าส่ง ถึงแม้ความนิยมของผู้บริโภคต่อร้านค้าประเภทนี้จะลดน้อยลง แต่ก็ยังปรากฏ มีร้านคา้ กระจายอย่ตู ามพื้นทตี่ ่าง ๆ ของประเทศอีกเป็นจำนวนมาก 2.2 วัตถปุ ระสงค์ของร้านขายของ 2.2.1 เพอ่ื หาผลกำไร 2.2.2 การบริการขายของท่ีลกู ค้าตอ้ งการ 2.3 หลักความสำคญั ของรา้ นขายของ 2.3.1 เวลาทำการ ให้บริการสำหรับลกู ค้า ตั้งแต่ 06:00 – 21:00 น ไมม่ ีวันหยดุ 2.3.2 สถานที่ประกอบการ ให้บริการดีเป็นกันเอง สะอาด ไม่แออัดจนเกิดไปเป็นที่โปร่ง มีแสง สว่างเพยี งพอ 2.3.3 คุณสมบัตอิ ืน่ ๆ ต้องจดทะเบยี นกบั ทางราชการอยา่ งถกู ตอ้ งตามกฎหมาย เป็นต้น 2.4 ประวัติของร้านขายของ รา้ นขายของชำ สะดวกซอื้ สารพัดสิง่ ทมี่ ักมีลักษณะอยใู่ นตึกแถวหน่ึงหอ้ ง โดยมากเป็นกิจการเล็กๆ กจิ การในครัวเรือน สรา้ งรายรับเลก็ ๆ น้อยๆ ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ปัจจุบัน ลดน้อยลงไปมาก เพราะ ความที่เปน็ กิจการเล็กๆ ในครวั เรือน จึงอาจจะมีสภาพเกา่ เชย ไมแ่ ตกตา่ งจากรา้ นสมัยโบราณ และมี คู่แข่งทเี่ ป็นร้าน 2.5 ความสามารถในการทำกำไร ศกึ ษาตลาด และศึกษาคแู่ ข่ง รา้ นขายของชำเป็นอีกหนง่ึ ธรุ กจิ ทีม่ กี ารแข่งขันสูงมากเพราะไม่ ว่าจะไปที่ไหนก็จะเจอร้านขายของอยู่ทุกที่ แต่ใช่ว่ามีร้านเปิดอยู่แล้วเราจะเปิดอีกไม่ได้ อยากให้ลอง สงั เกตุดวู า่ หากคิดจะเปดิ รา้ นขายของชำในหมู่บ้านหรือพน้ื ทไ่ี หน กต็ ้องดูว่า คนในพน้ื ท่ีนั้นยังต้องการ สินคา้ ประเภทใดบา้ ง โดยสนิ คา้ สว่ นใหญท่ ่รี า้ นขายของชำ มนิ มิ ารท์ และรา้ นสะดวกซอ้ื ทั่วไปมบี ริการ
4 ได้แก่ อาหารพร้อมทาน อาหารแห้ง เครื่องดื่ม ของใช้ เป็นต้น ดังนั้น เราควรดูว่ามีสินค้าประเภทใดท่ี ยังขาดอยู่ แลว้ เลือกสนิ คา้ นนั้ มาขายให้ตรงกับความตอ้ งการของลูกค้า พยายามมีสินค้าให้หลากหลาย ความหลากหลายจะชว่ ยดงึ ดดู ความสนใจให้ลูกค้าเข้าร้านมากขนึ้ เลือกทำเลให้ดี ขายได้แน่นอน ทำเลถือเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สำคัญอย่างมากสำหรับการเปิด ร้านขายของ ตกแต่งร้านให้โดนใจลูกค้า การเปิดร้านขายของแบบห้องแถว ห้องเช่า แบบมีหน้าร้านถาวร หรือจะเป็นล็อคขายของในตลาดนัด การตกแต่งร้านก็สำคัญไม่แพ้กัน เพราะสมัยนี้การตกแต่งที่สวย อาร์ต มีเอกลักษณ์ และเข้ากับสินค้าที่ขายนั้นเป็นตัวช่วยดึงดูดลูกค้าให้เราเป็นอย่างดี ส่วนใครที่คิด แนวทางการตกแต่งไม่ออก เน้นความเรียบง่าย โปร่ง โล่งสบาย และทำใหล้ ูกค้าสามารถเลือกสินค้าได้ สะดวกทีส่ ุด หยิบสนิ ค้ามาชำระเงนิ ได้งา่ ยทส่ี ุด สิง่ เหล่านคี้ ือเทคนคิ สำคัญทเี่ ราอยากแนะนำ ประเมินต้นทุนทั้งหมด งบในการเปิดร้านขายของชำนั้นขึ้นอยู่กับขนาดของร้านที่ต้องการ เปิด มองหาแหล่งสินค้าราคาถูกหรือสินค้าคุณภาพราคาประหยัด เมื่อสำรวจตลาดความต้องการ ของลูกค้าจนรู้แล้วว่าจะนำสินค้าประเภทใดมาขายบ้าง ขั้นตอนต่อมา คือ การมองหาแหล่งวัตถุดิบ หรือสินค้าราคาถูกเพื่อให้เราสามารถประหยัดต้นทุนมากที่สุด ซึ่งควรเปรียบเทียบราคาจากหลายๆ แหล่ง รวมไปถึงคุณภาพของสินค้าด้วย ปัจจุบันมีแหล่งค้าส่งอยู่มากมายให้เลือกซื้อ ซึ่งจะมีการจัด โปรโมชั่นลดราคาสินค้า นี่ก็เป็นอีกหนึ่งโอกาสในการเพิ่มกำไร ดังนั้นควรติดตามข่าวสารจากแหล่งค้า ส่งตา่ งๆ เพ่ือไม่พลาดโอกาสในการซอื้ สินคา้ ในราคาทีถ่ ูกกวา่ ปกติ ตั้งราคาขายให้เหมาะสม การตั้งราคาขายก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ช่วยในเรื่องของการตัดสินใจ ซื้อจากลูกค้า หากคุณตั้งราคาสินค้าต่ำเกินไป ก็จะส่งผลต่อกำไรร้าน หรือเผลอ ๆ หากตั้งราคาผิดก็ เส่ียงต่อการขาดทนุ ไปเลย แตถ่ ้าตัง้ ราคาสงู เกินไป กจ็ ะขายของไมอ่ อก ของแพงลูกค้าไม่อยากซอื้ 2.6 การศึกษาระบบงานขายสนิ ค้า จากการที่ได้ศึกษาระบบขายสินค้า พบว่า ระบบขายสินค้า มีการสั่งซื้อสินค้าที่ซับซ้อนและ วกวน ระบบขายสินค้ามสี ว่ นผสมทางการตลาดมีอยดู่ ว้ ยกนั 6 ประการ ดงั ต่อไปนี้ • ผลิตภัณฑ์(Product) พิจารณาจากผลิตภัณฑ์บริการและคุณลักษณะรวมถึงปรับปรุง เปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์ตามความต้องการของลูกค้าจากการการวิจัยตลาดและผลิตภัณฑ์ใน อินเทอร์เน็ตมีรูปแบบที่หลากหลายมากกว่าสมัยก่อนจะเห็นได้จากการที่มีผลิตภัณฑ์และ บรกิ ารเกิดขนึ้ มาใหมใ่ นตลาดมากมาย • ราคา (Price) การใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตเป็นสื่อกลางในการจำหนา่ ยผลิตภัณฑแ์ ละบรกิ ารทำให้ราคา ผลิตภัณฑ์ลดลงเน่ืองจากต้นทุนในการกระจายผลติ ภัณฑ์ผา่ นทางร้านค้าแบบเดมิ มีลดลง
5 • สถานที่ (Place) อินเทอรเ์ น็ตได้เพ่มิ ชอ่ งทางการจดั จำหนา่ ยผลิตภณั ฑ์และบริการให้กับลูกค้า โดยผ่านทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และการจัดการเว็บไซต์ทำให้สามารถติดต่อสื่อสารกับ ลูกค้าได้สะดวกรวดเร็วมากขึ้นในขณะที่สามารถลดค่าใช้จ่ายของการขนส่งสินค้าคงคลังและ การจัดเกบ็ อกี ด้วย • การส่งเสริมการขาย (Promotion) การติดต่อสื่อสารกับลูกค้าผ่านทางอินเทอร์เน็ตสามารถ ประชาสัมพันธ์ให้ลูกค้าทราบถึงประโยชน์ของผลิตภัณฑ์รวมถึงช่วยลูกค้าในการตัดสินใจซ้ือ ผลิตภัณฑ์และการใช้บริการนอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังมีส่วนช่วยในกิจกรรมส่งเสริมการขาย เช่น การโฆษณาประชาสมั พันธเ์ ปน็ ต้น • คน (People) อินเทอรเ์ นต็ ทำให้มกี ารติดตอ่ กับลกู ค้าโดยตรงรวมถึงวิธกี ารขององค์กรโต้ตอบ กบั ลูกค้าในระหว่างการขายการส่อื สารท้งั กอ่ นและหลังรวมท้ังมีส่วนชว่ ยในการหาผ้รู ว่ มงานท่ี มคี ณุ ภาพ • การดำเนินการ (Process) เป็นวิธีการขั้นตอนและการดำเนินการของบริษัทโดยประยุกต์ใช้ งานรว่ มกบั อนิ เทอร์เน็ตเพ่ือก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ 2.7 ระบบฐานข้อมูล ข้อมูล คอื ขอ้ เท็จจรงิ ของสงิ่ ท่ีเราสนใจ ข้อเท็จจริงทเี่ ปน็ ตัวเลข ขอ้ ความ หรือรายละเอยี ดซึ่ง อาจอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง วีดิโอไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้อง กับสิ่งต่าง ๆ ข้อมูลเป็นเรื่องเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และต้องถูกต้องแม่นยำ ครบถ้วน ขึ้นอยู่กับผู้ดำเนินการที่ให้ความสำคัญของความรวดเร็วของการเก็บข้อมูล ดังนั้นการเก็บ ขอ้ มูลจึงเป็นการเก็บรวบรวมเก่ียวกับขอ้ เท็จจริงของสงิ่ ทเ่ี ราสนใจน่ันเอง ข้อมลู จงึ หมายถึงตัวแทนของ ขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื ความเปน็ ไปของสิ่งของทเ่ี ราสนใจ Database หรือ ฐานข้อมลู คอื กล่มุ ของข้อมูลทีถ่ กู เกบ็ รวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกัน และกัน โดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเดียวกันหรือแยกเก็บหลาย ๆ แฟม้ ข้อมลู ระบบฐานขอ้ มลู (Database System) คือ ระบบทรี่ วบรวมข้อมลู ตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกันเข้า ไว้ด้วยกันอย่างมีระบบมีความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลต่าง ๆ ที่ชัดเจน ในระบบฐานข้อมูลจะ ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลหลายแฟ้มที่มีข้อมูล เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันเข้าไว้ด้วยกันอย่างเป็นระบบและ เปิดโอกาสให้ผู้ใช้สามารถใช้งานและดูแลรักษาป้องกันข้อมูลเหล่านี้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี ซอฟต์แวร์ที่เปรียบเสมือนสื่อกลางระหว่างผู้ใช้และโปรแกรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ฐานข้อมูล เรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล หรือ DBMS (data base management system)มีหน้าที่ช่วยให้
6 ผ้ใู ช้เข้าถงึ ขอ้ มูลไดง้ า่ ยสะดวกและมีประสิทธิภาพ การเข้าถงึ ข้อมลู ของผูใ้ ชอ้ าจเป็นการสร้างฐานขอ้ มูล การแก้ไขฐานข้อมูล หรือการตั้งคำถามเพื่อให้ได้ข้อมูลมา โดยผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับรู้เกี่ยวกับ รายละเอยี ดภายในโครงสร้างของฐานข้อมลู ระบบฐานขอ้ มูล (Database System) คือ ระบบทร่ี วบรวมข้อมูลต่าง ๆ ทเี่ ก่ียวข้องกันเข้า ไว้ด้วยกันอย่างมีระบบมีความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลต่าง ๆ ที่ชัดเจน ในระบบฐานข้อมูลจะ ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลหลายแฟ้มที่มีข้อมูล เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันเข้าไว้ด้วยกันอย่างเป็นระบบและ เปิดโอกาสให้ผู้ใช้สามารถใช้งานและดูแลรักษาป้องกันข้อมูลเหล่านี้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี ซอฟต์แวร์ที่เปรียบเสมือนสื่อกลางระหว่างผู้ใช้และโปรแกรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ฐานข้อมูล เรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล หรือ DBMS (data base management system)มีหน้าที่ช่วยให้ ผู้ใชเ้ ขา้ ถึงข้อมลู ไดง้ ่ายสะดวกและมีประสิทธิภาพ การเขา้ ถงึ ข้อมลู ของผใู้ ชอ้ าจเป็นการสรา้ งฐานข้อมูล การแก้ไขฐานข้อมูล หรือการตั้งคำถามเพื่อให้ได้ข้อมูลมา โดยผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับรู้เกี่ยวกับ รายละเอยี ดภายในโครงสรา้ งของฐานข้อมลู ฐานข้อมูล เป็นการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องใน ระบบงานต่าง ๆ ร่วมกันได้ โดยที่จะไม่เกิดความซ้ำซ้อนของข้อมูล และยังสามารถหลีกเลี่ยงความ ขัดแย้งของข้อมูลด้วย อีกทั้งข้อมูลในระบบก็จะถูกต้องเชื่อถือได้ และเป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยจะมี การกำหนดระบบความปลอดภยั ของขอ้ มูลขนึ้ • ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นการเก็บข้อมูลในรูปแบบที่เป็นตาราง (Table) หรือเรียกว่า รีเลชั่น (Relation) มีลักษณะเป็น 2 มิติ คือเป็นแถว (row) และเป็น คอลัมน์ (column) การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างตาราง จะเชื่อมโยงโดยใช้แอททริบิวต์ (attribute) หรือคอลัมน์ที่เหมือนกันทั้งสองตารางเป็นตัวเชื่อมโยงข้อมูล ฐานข้อมูลเชิง สัมพนั ธน์ จ้ี ะเปน็ รปู แบบของฐานข้อมลู ทีน่ ยิ มใชใ้ นปจั จบุ ัน • ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database)ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายจะเป็นการรวม ระเบียนต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างระเบียนแต่จะต่างกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ ใน ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จะแฝงความสัมพันธ์เอาไว้ โดยระเบียนที่มีความสัมพันธ์กันจะต้องมีค่า ของข้อมูลในแอททริบิวต์ใดแอททริบิวต์หนึ่งเหมือนกัน แต่ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย จะแสดง ความสมั พันธ์อยา่ งชัดเจน • ฐานข้อมูลแบบลำดับช้ัน (Hierarchical Database)ฐานขอ้ มลู แบบลำดับชั้น เป็นโครงสร้างท่ี จัดเก็บข้อมูลในลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อ-ลูก (Parent-Child Relationship Type : PCR Type) หรือเป็นโครงสร้างรูปแบบต้นไม้ (Tree) ข้อมูลที่จัดเก็บในที่นี้ คือ ระเบียน (Record) ซึ่งประกอบด้วยค่าของเขตข้อมูล (Field) ของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ ฐานข้อมูลแบบลำดับ
7 ชั้นนี้คล้ายคลึงกับฐานข้อมูลแบบเครือข่าย แต่ต่างกันที่ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น มีกฎเพ่ิม ขน้ึ มาอกี หนง่ึ ประการ คือ ในแต่ละกรอบจะมลี กู ศรวงิ่ เข้าหาไดไ้ มเ่ กนิ 1 หัวลกู ศร 2.8 ประโยชนข์ องฐานข้อมลู ลดการเก็บข้อมูลที่ซ้ำซ้อน ข้อมูลบางชุดที่อยู่ในรูปของแฟ้มข้อมูลอาจมีปรากฏอยู่หลาย ๆ แห่ง เพราะมีผู้ใช้ข้อมูลชุดนี้หลายคน เมื่อใช้ระบบฐานข้อมูลแล้วจะช่วยให้ความซ้ำซ้อนของข้อมูลลด น้อยลง รักษาความถูกต้องของข้อมูล เนื่องจากฐานข้อมูลมีเพียงฐานข้อมูลเดียว ในกรณีที่มีข้อมูลชดุ เดียวกันปรากฏอยู่หลายแห่งในฐานข้อมูล ข้อมูลเหล่านี้จะต้องตรงกัน ถ้ามีการแก้ไขข้อมูลนี้ทุก ๆ แห่งทข่ี ้อมูลปรากฏอยจู่ ะแก้ไขใหถ้ กู ตอ้ งตามกันหมดโดยอัตโนมัติดว้ ยระบบจัดการฐานขอ้ มลู การป้องกันและรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูลทำได้อย่างสะดวก การป้องกันและรักษา ความปลอดภัยกับข้อมูลระบบฐานข้อมูลจะให้เฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น ซึ่งก่อให้เกิดความปลอดภยั (security) ของข้อมูลดว้ ย 2.9 การวิเคราะห์ระบบ การศึกษาวิธีการดำเนินงานของระบบเพ่ือความเขา้ ใจและตระหนักถึงปัญหาและแนวทางการ แก้ไขปัญหาระบบนั้น ๆ ดังนั้นการวิเคราะห์ระบบ คือ การศึกษาวิถีทางการดำเนินงานเพื่อนำไปใช้ใน การออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศ หรืออาจจะหมายถึงการวิเคราะห์ระบบช่วยในการแก้ไข ระบบสารสนเทศเดมิ ท่ีมีอย่แู ลว้ ให้ดขี นึ้ 2.10 การจัดการขอ้ มลู การบริหาร การจัดเก็บข้อมูล การประมวลข้อมูลให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่มีประโยชน์ที่พร้อมจะ สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ในทันทีการจัดการข้อมูลจะเกิดประโยชน์สูงสุดหรือประสิทธิภาพสูงสุดก็ ต่อเมื่อผู้ใช้ข้อมูลสามารถใช้ขอ้ มูลท่ีต้องการไดอ้ ย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และเป็นกลางมากที่สุด เพื่อจะได้ นำข้อมูลเหล่า นั้นมาช่วยในการตัดสินใจหรือนำไปใช้ประโยชน์อื่น ๆ ต่อไปใน ปัจจุบันนี้ข้อมูลต่างๆ ไดถ้ ูกจดั การไว้อย่างเปน็ ระเบยี บ โดยเก็บไว้ในสงิ่ ท่เี รยี กวา่ แฟ้ม 2.11 การออกแบบระบบ การกำหนดรูปแบบของระบบการปฏิบัติงาน ซึ่งจะหมายรวมถึงการทำงานทั้งหมด ตั้งแต่วสั ดุ ท่ีใช้ โปรแกรม บคุ ลากร โดยเรม่ิ จากจุดเร่มิ ตน้ ว่า จากท่ีใดสง่ ไปยงั หน่วยงานใด ทำอย่างไรบา้ ง จนกว่า จะเสร็จสน้ิ โดยปกตินักวเิ คราะห์จะเปน็ ผู้กำหนด ดคู ำอื่น ๆ ในหมวดคำศัพท์คอมพวิ เตอร์
8 2.12 ประเภทของระบบ 2.12.1 ระบบธรรมชาติ และระบบทค่ี นสรา้ งขน้ึ 2.12.1.1 ระบบธรรมชาติ หมายถงึ ระบบท่ีแค่เป็นไปตามธรรมชาติ หรอื ปล่อยใหเ้ ป็นไป ตามธรรมชาติ หรือโดยอาศัยธรรมชาติเปน็ ส่วนใหญ่ 2.12.1.2 ระบบที่คนสร้างขึ้น หมายถึง ระบบที่สร้างขึ้นซึ่งอาจเป็นการสร้างจากระบบ ธรรมชาติ หรืออาจจะไมไ่ ด้ อาศัยระบบธรรมชาตเิ ดมิ ก็ได้ 2.12.2 ระบบเปดิ ระบบปิด 2.12.2.1 ระบบปิด หมายถึง ระบบที่มีการควบคุมการทำงาน และการแก้ไขด้วยตัวของ ระบบเอง โดยระบบไม่เปิดโอกาสให้บคุ คลภายนอก เขา้ ไปปฏบิ ัตไิ ดด้ ้วยตนเอง 2.12.2.2 ระบบเปิด หมายถึง ระบบที่ไม่มีการควบคุมการทำงานด้วยตัวระบบเอง จะตอ้ งดูแลควบคมุ ดแู ลด้วยมนษุ ย์ ระบบท่เี ปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเขา้ ไปปฏบิ ัตงิ านได้ 2.12.3 ระบบคน 2.12.3.1 ระบบคน หมายถงึ ระบบทมี่ กี ารปฏบิ ัตงิ านสว่ นใหญจ่ ะใชแ้ รงงานของคน หรือ ระบบที่ใช้แรงงานของคนในการทำงานโดยตรง อาจจะมีระบบงานช่วยในการทำงานบ้างก็ได้ แต่ จะตอ้ งเปน็ ระบบท่อี ย่ภู ายใตก้ ารควบคมุ ดแู ลของคนโดยตรง 2.12.4 ระบบหลักและระบบรอง 2.12.4.1 ระบบหลัก หมายถึง ระบบที่ได้วางไว้เป็นหลัก หรือแนวทางสำหรับ การ กำหนด หรือสำหรบั การจดั ทำระบบรอง เพอ่ื ให้เหมาะสมกบั สถานการณ์บางอย่าง 2.12.4.2 ระบบรอง หมายถึง ระบบที่ช่วยเสริมระบบหลัก ให้สมบูรณ์หรือมี ประสิทธภิ าพยิ่งขึน้ 2.12.5 ระบบใหญ่ 2.12.5.1 ระบบใหญ่ หมายถึง ระบบรวม หรือระบบที่รวบระบบย่อย ๆ ตั้งแต่หน่ึง ระบบขนึ้ ไป เพอื่ ปฏบิ ตั งิ านอยา่ งใดอย่างหนง่ึ โดยมวี ัตถุประสงคห์ รือ เปา้ หมายเดียวกนั 2.12.5.2 ระบบย่อย หมายถึง ระบบย่อยของระบบใหญ่ เพื่อปฏิบัติงานอย่างใดอย่าง หน่ึงของระบบใหญ่ 2.12.6 ระบบธุรกจิ ระบบสารสนเทศ 2.12.6.1 ระบบธุรกิจ ระบบทำงานเพื่อจุดประสงค์ด้านธรุ กิจ โรงงานอุตสาหกรรม เป็น ระบบธุรกิจ เพื่อจดุ ประสงคด์ ้านการผลติ ระบบขนสง่ ระบบการพมิ พ์ ระบบธนาคาร 2.12.6.2 ระบบสารสนเทศ ระบบที่ช่วยในการจัดการ ข้อมูลที่ต้องการใช้ในระบบธุรกิจ ช่วยเก็บตัวเลขและขา่ วสาร เพือ่ ชว่ ยในการดำเนินธรุ กิจและการตัดสนิ ใจ
9 2.12.7 ระบบการประมวลผลข้อมลู (DS) หมายถึง ระบบข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ที่ถูกพฒั นาขึน้ เพือ่ ตอบสนองความต้องการ ของธรุ กจิ เพอ่ื ใชป้ ระมวลข้อมลู จำนวนมากๆ เป็นประจำ 2.12.8 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS) หมายถึง ระบบที่นำข้อมูลมาทำการวิเคราะห์ โดยมจี ดุ ประสงค์เพอ่ื การสรา้ ง ขอ้ มูลใหก้ บั นักบรหิ าร เพ่ือประกอบการตัดสินใจ 2.12.9 ระบบช่วยการตัดสินใจ หมายถึง ระบบการทำงานที่มีลักษณะ โครงสร้างการทำงาน คล้ายกับระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร จะแตกต่างกันตรงที่ ระบบนี้ไม่ได้มีการนำข้อมูลมาใช้เพ่ือ ประกอบการตัดสินใจเท่านั้น แต่ระบบนี้จะนำข้อมูล มาทำการวิเคราะห์พร้อมกับพิจารณา ถึง ทางเลอื กทเี่ ปน็ ไปไดท้ ัง้ หมดของธรุ กจิ
10 บทท่ี 3 วิธีดำเนนิ การวิจัย ในการดำเนินงานวิเคราะห์และออกแบบระบบร้านขายของแบงกะเบน คณะผู้จัดทำได้มีการ รวบรวมขอ้ มูลและนำมาวเิ คราะหร์ ะบบและกำหนดกระแสขอ้ มูลตา่ ง ๆ โดยมีหัวข้อดังน้ี 3.1 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 3.2 วิเคราะหร์ ะบบโดยใช้ DFD 3.3 ออกแบบ ER-Model 3.4 ออกแบบฐานขอ้ มลู และสรา้ งความสมั พันธ์โดยใช้ Microsoft Access 3.1 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู คณะผู้จัดทำได้มีการรวบรวมข้อมูลจากผู้ประกอบการหรือเจ้าของร้าน โดยมีการตั้งคำถาม ต่าง ๆ และไดด้ ำเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเพื่อใชใ้ นการดำเนินงาน ดัง้ น้ี 3.1.1 คณะผจู้ ัดทำ ทำการเก็บวางแผนและรวบรวมข้อมูลเพ่ือดำเนินกจิ กรรม 3.1.2 คณะผู้จัดทำได้ทำการสร้างคำถามขึ้นจำนวน 15 ข้อ เพื่อสัมภาษณ์กับเจ้าของร้านที่จะไป ศึกษา 3.1.3 คณะผู้จดั ทำไดท้ ำการสมั ภาษณก์ บั เจา้ ของโดยใช้คำถามท่ีสรา้ งขน้ึ จำนวน 15 ข้อกับเจา้ ของ รา้ นผา่ นทาง หนา้ รา้ นโดยตรง 3.1.4 นำขอ้ มลู ท่ไี ดจ้ ากการสัมภาษณ์กบั เจา้ ของรา้ นมาเรยี บเรยี งและวเิ คราะห์เพื่อนำมาออกแบบ ระบบ 3.2 วเิ คราะหร์ ะบบโดยใช้ DFD คณะผจู้ ัดทำได้ทำการวิเคราะหร์ ะบบโดยใช้ DFD โดยมีรูปแบบดังนี้
11 3.2.1 Context Diagram Level 0 ระบบรา้ นขายของแบงกะเบน ภาพท่ี 3.1 Context Diagram Level 0 ระบบร้านขายของแบงกะเบน จากภาพที่ 3.1 Context Diagram Level 0 ระบบร้านขายของแบงกะเบน มีขบวนการทำงาน ดังนี้ โดยระบบนี้มีการติดต่อกับลูกค้าที่มาใช้บริการร้านแบงกะเบน รายงานตัวแทนจำหน่ายและ เจา้ ของรา้ น โดยประกอบดว้ ยเจา้ ของรา้ น เจา้ ของร้านรับรายการซ้ือจากลูกค้าแลว้ บันทึกขอ้ มลู ลูกค้า โดยประกอบด้วย Process : ระบบร้านขายของแบงกะเบน Data Flow in : สั่งซื้อสินค้า, รายการสั่งซื้อสินค้า, ชำระเงินค่าสินค้า, รายงานการขายสินค้า รายงาน ข้อมลู ลูกค้า รายงานสินคา้ คงเหลือ Data Flow out : สนิ คา้ , รายการสินค้า, รายการส่ังซ้ือสินคา้ , ใบเสรจ็ รับเงนิ , รายงานการส่งั ซื้อสนิ คา้
12 3.2.2 Data flow diagram Level 1 ระบบรา้ นขายของแบงกะเบน ภาพที่ 3.2 Data flow diagram Level 1 ระบบร้านขายของแบงกะเบน จากภาพที่ 3.2 Data flow diagram Level 1 ระบบร้านขายของแบงกะเบน มีขบวนการ ทำงานสามารถแบ่งขั้นตอนการทำงานภายในระบบออกเป็น 4 ระบบ ดังนั้นจึงแยก Process ท่ี เกย่ี วขอ้ งกบั ระบบ ดังรายละเอยี ดต่อไปนี้ Process 1 ระบบจดั การขอ้ มลู พนักงานสามารถจัดการข้อมูลสินค้า ข้อมูลลูกค้า ข้อมูลตัวแทนจำหน่าย ข้อมูลการสั่งซื้อ และข้อมูลการ ขายได้ สามารถปรับปรุงแก้ไขข้อมูลได้ โดยเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูล พนักงานจะส่ง ข้อมูลสินค้า ข้อมูลลูกค้า ข้อมูลตัวแทนจำหน่าย ไปยังระบบจัดการข้อมูล ระบบจัดการข้อมูลก็จะทำ การสง่ ขอ้ มูลแตล่ ะข้อมูลไปยังแตล่ ะฐานขอ้ มูล
13 Process 2 ระบบสั่งซอ้ื สนิ คา้ ตัวแทนจำหน่ายจะส่งใบสั่งสินค้าและชำระค่าสินค้าไปยังระบบสั่งซื้อสินค้าและระบบสั่งซ้ือ สินค้าจะทำการส่งข้อมูลใบเสร็จสั่งซื้อสินค้าไปให้ตัวแทนจำหน่าย ระบบสั่งซื้อสินค้าจะส่งข้อมูลสินค้า ไปยังฐานข้อมลู สินคา้ และจะส่งรายละเอยี ดขอ้ มลู ส่งั ซอื้ สินค้าไปยังฐานข้อมลู สัง่ ซ้อื สินค้า Process 3 ระบบขายสินค้า ลูกค้าจะสั่งซื้อสินค้าและชำระค่าสินค้าไปยังระบบการขาย ระบบจะทำการจัดเก็บข้อมูล รายละเอียดการขายไปยังฐานขอ้ มลู การขาย ระบบการขายจะแจ้งรายการใบเสร็จรายการสั่งซื้อสินคา้ ไปให้ลูกค้า Process 4 พมิ พ์รายงาน ผู้จัดการจะส่งความต้องการรายงานข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า ข้อมูลลูกค้า ข้อมูลสินค้า ข้อมูล ตัวแทนจำหน่าย ยอดขายสินค้าไปยังระบบ แล้วระบบจะทำการรายงานข้อมูลมายังผู้จัดการ และ พนักงานส่งความต้องการรายงานข้อมูลสินค้า ข้อมูลตัวแทนจำหน่าย ข้อมูลลูกค้า ตรวจสอบสินค้า คงเหลือ แลว้ ระบบจะทำการรายงานข้อมลู มายงั พนักงาน
14 3.3 ออกแบบ ER-Model เมอ่ื คณะผูจ้ ดั ทำได้ทำการวิเคราะห์ระบบในส่วนของ DFD เรยี บร้อยแลว้ หลงั จากนนั้ คณะ ผู้จัดทำได้ทำการออกแบบ ER-Model ขึ้นมาโดยมดี ังนี้ ภาพท่ี 3.3 Chen ER-MODEL ระบบรา้ นขายของแบงกะเบน
15 3.3.2 Craw's Foot ER-MODEL ร้านขายของแบงกะเบน ภาพท่ี 3.4 Craw's Foot ER-MODEL ร้านขายของแบงกะเบน 3.4 ออกแบบฐานข้อมูลและสร้างความสมั พันธโ์ ดยใช้ Microsoft Access หลังจากที่คณะผู้จัดทำได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์ระบบ ได้ทำการออกแบบตารางข้อมูล และสรา้ งความสมั พันธห์ รอื Entity Relationship Diagram ของระบบฐานข้อมลู การขายสินคา้ 3.4.1 การออกแบบตารางขอ้ มูล ภาพที่ 3.5 การออกแบบตารางข้อมลู รา้ นขายของแบงกะเบน
16 3.4.1.1 การออกแบบตารางข้อมลู Customer ภาพที่ 3.6 การออกแบบตารางขอ้ มูล Customer 3.4.1.2 การออกแบบตารางข้อมูล Products ภาพท่ี 3.7 การออกแบบตารางข้อมลู Products 3.4.1.3 การออกแบบตารางขอ้ มูล Employee ภาพท่ี 3.8 การออกแบบตารางข้อมลู Employee 3.4.1.4 การออกแบบตารางขอ้ มูล Orders ภาพที่ 3.9 การออกแบบตารางขอ้ มลู Orders
17 3.4.1.5 การออกแบบตารางขอ้ มลู Order Details ภาพที่ 3.10 การออกแบบตารางข้อมูล Order Details 3.4.1.6 การออกแบบตารางขอ้ มูล Category ภาพท่ี 3.11 การออกแบบตารางข้อมูล Category 3.4.1.7 การออกแบบตารางขอ้ มูล Receipt ภาพท่ี 3.12 การออกแบบตารางข้อมูล Receipt 3.4.2 การสร้างความสมั พันธห์ รอื Entity Relationship Diagram หลังจากที่คณะผู้จัดทำได้ทำการออกแบบตารางของข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ก็จะมา ดำเนนิ การสร้างความสมั พันธ์หรอื Entity Relationship Diagram ดังภาพท่ี 3.13 ภาพท่ี 3.14 การสรา้ งความสัมพันธ์หรอื Entity Relationship Diagram
18 บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ งาน 4.1 การออกแบบระบบร้านขายของแบงกะเบน 4.1.1 การออกแบบระบบรา้ นขายของแบงกะเบน ภาพท่ี 4.1 หน้าจอ Login 4.1.2 ออกแบบหน้า Menu ภาพท่ี 4.2 รายการสนิ ค้า
19 4.1.3 ออกแบบหน้ารายการสัง่ ซือ้ ภาพที่ 4.3 รายการสั่งซ้อื 4.2 การจดั เกบ็ Data base ตารางที่ 4.2.1 แสดงข้อมูลลูกค้า ตารางที่ 4.2.2 แสดงข้อมูลสินค้า
20 ตารางที่ 4.2.3 แสดงขอ้ มลู รายการขายสนิ คา้ ตารางที่ 4.2.4 แสดงข้อมูลการสัง่ ซือ้ สินคา้ ตารางท่ี 4.2.5 แสดงข้อมลู ประเภทสนิ ค้า ตารางท่ี 4.2.6 แสดงข้อมูลใบเสรจ็ ตารางท่ี 4.2.7 แสดงข้อมูลพนักงาน
21 บทท่ี 5 สรปุ ผลการวเิ คราะห์ ออกแบบระบบและขอ้ เสนอแนะ การวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบร้านขายของแบงกะเบน ซึง่ การวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบในครั้ง นีม้ ีวัตถุประสงคด์ ังน้ี 5.1 วตั ถุประสงคข์ องการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบ 5.1.1 เพอ่ื วเิ คราะห์และออกแบบระบบรา้ นขายของแบงกะเบน 5.1.2 เพอ่ื ศึกษาและสำรวจระบบร้านขายของแบงกะเบน 5.1.3 เพ่อื เรยี นรแู้ ละเก็บประสบการณจ์ ากการทำธุรกจิ ของเจ้าของร้าน 5.2 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 5.2.1 คณะผจู้ ัดทำ ทำการเกบ็ วางแผนและรวบรวมขอ้ มลู เพอื่ ดำเนนิ กิจกรรม 5.2.2 คณะผู้จัดทำ ได้ทำการสร้างคำถามขึ้นจำนวน 15 ข้อ เพื่อสัมภาษณ์กับเจ้าของร้านที่จะไป ศึกษา 5.2.3 คณะผู้จัดทำ ได้ทำการสัมภาษณ์กับเจ้าของโดยใช้คำถามที่สร้างขึ้นจำนวน 15 ข้อ กับ เจา้ ของร้าน 5.2.4 นำขอ้ มูลทีไ่ ดจ้ ากการสมั ภาษณ์กับเจา้ ของรา้ นมาเรยี บเรยี งและวิเคราะห์เพอื่ นำมาออกแบบ ระบบ 5.3 ข้อเสนอแนะ ระบบร้านขายของแบงกะเบนอาจจะมีข้อผิดพลาดอันเนื่องมาจาก ความรู้และประสบการณ์ ในการ วเิ คราะห์งานยงั ไมม่ ากนักอาจทำ ให้ระบบทอี่ อกมายงั ไมส่ มบูรณเ์ ทา่ ท่คี วร 5.3.1 ในการจัดทำควรทำการศึกษาและวิเคราะหข์ ้อมลู อยา่ งละเอียดใหไ้ ดข้ อ้ มูลท่ีถกู ต้อง 5.3.2 ควรออกแบบฟอร์มใหง้ ่ายตอ่ ผใู้ ชใ้ ห้มากที่สดุ และเปน็ ไปไดข้ อให้สมบูรณม์ ากทีส่ ุด 5.3.3 ควรออกแบบระบบให้มีประสิทธิภาพตรงตามที่ต้องการของผู้ใช้ มีระบบฐานข้อมูลที่มี ประสิทธิภาพ 5.4 สรปุ ผลการวิเคราะห์และออกแบบระบบ คณะผู้จัดทำได้ทำการศึกษา วิเคราะห์และออกแบบระบบร้านขายของแบงกะเบน โดยได้ใช้ DFD, ER-Model ในการวิเคราะห์ข้อมูล และ Microsoft Access ในการจัดการฐานข้อมูลและ ออกแบบหนา้ จอของระบบ ซง่ึ ได้ทำการทดลองระบบแล้วได้ผลสรปุ ออกมาอย่ใู นระดบั ดีมาก
22 บรรณานกุ รม http://coms.kru.ac.th/tee/Projects/ShowPdf?name=637217927946388927.pdf&chk =False www.rpu.ac.th/search/upload/0029_2560.pdf https://www.dpu.ac.th/dpuir/upload/file/it_project/is/cosmetic.pdf http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU_2015_5702037200_3908_251 9.pdf
23 ภาคผนวก ก Context Diagram หรอื DFD ระดบั 0 ของ ร้านแบงกะเบน
24
25 ภาคผนวก ข Context Diagram หรอื DFD ระดบั 1 ของ ร้านแบงกะเบน
26
27 ภาคผนวก ค ER-Model แบบ Chen Model and Crow'sFoot Model ร้านแบงกะเบน
28
29 ภาคผนวก จ เอกสารประกอบการดำเนินงาน
30 รูปการณ์สมั ภาษณ์ การสัมภาษณท์ ี่รา้ นแบงกะเบน
31 คำถามจำนวน 15 คำถามเกย่ี วกับองค์กร ระบบงาน เอกสารทเ่ี กยี่ วข้อง ขั้นตอนการทำงาน 1. รา้ นขายของคุณตง้ั อยบู่ ริเวณไหน - 17/2 หมู่.7 ต.สนามไชย อ.นายายอาม จ.จันทบุรี 22170 2. แนวคดิ ในการเปดิ รา้ นค้า - ในชว่ งโควดิ ระบาดทำใหง้ านประจำท่ที ำอยูห่ ยดุ แล้วไมม่ งี านทำเลยตดั สินใจลาออกจาก งาน หาทนุ มาลงกบั รา้ นค้า มคี วามฝันว่าเปิดร้านเล็กๆ เป็นเจา้ ของร้านไม่ตอ้ งไปรับจ้าง ใคร 3. กลมุ่ เปา้ หมายคือใคร - ทกุ ชว่ งวยั 4. การปอ้ งกนั โรคติดต่อของร้านคา้ ในสถานการณโ์ ควิด - มีแอลกอฮอล์ใหล้ ้างมือ - มีป้ายกรุณาใส่แมสกอ่ นเขา้ รา้ นทุกครง้ั 5. มวี ิธีการเพ่มิ ยอดขายของร้านอย่างไร - ของเล่นเด็ก (เพราะแถวน้นั เด็กเยอะและนยิ มเล่นของเลน่ ) - แฟช่ันกระแส 6. กำไรของรา้ นตอ่ เดอื น - 250,000 – 300,000 บาท 7. เปา้ หมายการขายสินคา้ ในแต่ละวัน - เปา้ หมายจะอยู่ 8,000 – 10,000 บาทตอ่ วนั 8. ชว่ งไหนทีย่ อดขายดี - ชว่ งเทศกาล เชน่ ปใี หม่ ลอยกระทง เปน็ ต้น - ช่วงผลไม้ 9. การรกั ษาความปลอดภัยของรา้ นค้า - มีกล้องวงจรปดิ รอบร้าน 10. มีการสตอ๊ กของใหม่เข้าเฉล่ียก่ีคร้ังต่อเดือน - อาทติ ยล์ ะ่ 1 ครง้ั - 4 ครัง้ ตอ่ เดือน 11. เปดิ รา้ นมาใหม่ ๆ มีปญั หาอะไรบ้าง - กำหนดราคาไม่ค่อยถกู วา่ จะขายเอากำไรหรือเอาลกู คา้ - มีปัญหาในการบริการในชว่ งแรก ๆ เพราะยังไม่ถนัดในด้านบริการ ทำใหล้ ่าชา้ และให้ ลกู คา้ รอนาน
32 12. ใชว้ ิธีไหนในการเชค็ สต๊อกว่าสินคา้ ช้นิ ไหนหมด เพื่อจะสัง่ สินค้ามาไว้ในสต๊อกไม่ให้สินค้าในส ตอ๊ กขาด - ใช้โปรแกรม Excel ในการคำนวณว่าสนิ คา้ ชิ้นไหนใกล้จะหมด จะไดก้ ารปริน้ จำนวน ออกมาและจดั ส่งั 13. ช่องทางการรับเงนิ - เงนิ สด โอนผ่านธนาคาร และอืน่ ๆ 14. มที กั ษะการขายมากนอ้ ยแค่ไหน - ศึกษาการกำหนดราคาใหด้ ี เพราะถ้าเอากำไรมากจะเสยี ลกู ค้า ถา้ กำไรไมเ่ ยอะลกู คา้ จะ เขา้ ร้านคา้ ของเรา - การเงิน ควรจดบนั ทึกเพอ่ื ดูยอดในแตล่ ะ่ เดือน - เรอื่ งภาษีและอืน่ ๆ ควรทำใหถ้ กู กฎหมาย 15. สภาพแวดล้อม ในปัจจุบันเปน้ อย่างไร - สภาพแวดล้อมดี เป็นจุดของหลายหม่บู า้ นท่อี อกมาซื้อของ และมที ่จี อดรถพอสมควร
Search
Read the Text Version
- 1 - 38
Pages: