Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อดัมกับฟาตีมา ตอน พิชิตเพลิงไหม้

อดัมกับฟาตีมา ตอน พิชิตเพลิงไหม้

Published by Tantawan Mahawan, 2021-01-12 09:48:42

Description: อดัมกับฟาตีมา ตอน พิชิตเพลิงไหม้

Search

Read the Text Version



ทุก ๆ วนั อดมั กบั ฟาตีมา มารอรถเพื่อไปโรงเรียน เจา้ นกนอ้ ยน่ารกั โผบนิ ลงมาส่งเสยี งทักทาย สองพ่นี ้องมอี าหารมาฝากนกนอ้ ยเสมอ ๓

บา่ ยวนั หน่ึง อดมั กบั ฟาตมี า เอากลว้ ยสกุ งอมมาฝากเจา้ นกน้อย ทง้ั สองไดย้ ินเสียงเลก็ ๆ “จบ๊ิ จิ๊บ จ๊บิ จบ๊ิ ” จากบนต้นไม้ “ต้องเปน็ เสียงลกู นกตัวน้อย ๆ แนเ่ ลย” ฟาตีมาบอก ๔

“เจา้ มลี กู น้อย ๆ แลว้ สนิ ะ” ๕

อดัมวางกล้วยสุกใหแ้ มน่ ก แม่นกคาบกลว้ ยบนิ กลับไปป้อนลกู นอ้ ย สองพี่นอ้ งเฝ้าดูนกอยา่ งเพลดิ เพลิน ๖



เชา้ วันปดิ เทอม สองพีน่ ้องมาหานกนอ้ ย “พอ่ี ดัมได้กลน่ิ อะไรไหม้ ๆ” อดมั หนั มองดรู อบ ๆ ตัว ไมพ่ บอะไรผิดปกติ จงึ เงยหนา้ ขึ้นขา้ งบน อดัมเห็นควันโขมง ๘



สองพี่นอ้ งรีบพากนั ว่งิ กลับบา้ น ปากก็ร้องตะโกน “ไฟไหม้ ไฟไหม้ ใครก็ได้ช่วยโทร ๑๙๙ ให้หนอ่ ยคะ่ ” “ชว่ ยด้วย ไฟไหมอ้ ย่ทู ่ศี าลา” ๑๐

๑๑

ปะ๊ กบั มะไดย้ นิ เสียงอดัมกับฟาตมี า ร้องตะโกนว่า “ไฟไหม”้ ป๊ะรีบควา้ ถงั ดับเพลงิ จ�้ำอา้ วออกจากบา้ น มะรีบโทรศพั ท์ ๑๙๙ เรียกรถดบั เพลงิ ทันที แลว้ หันมาบอกลูก ๑๒ “อดมั กบั ฟาตมี าอยู่ในบา้ นนะลูก ถา้ ไปทศี่ าลาอาจจะอนั ตราย”

๑๓

อดัมกบั ฟาตีมาน้�ำตาคลอเมื่อนึกถึงแมน่ ก และลูกนกนอ้ ย ๆ ในรงั “ขอใหแ้ มน่ กกบั ลูกนกปลอดภัย” ฟาตมี าพูดขึน้ ทงั้ สองเฝา้ มองเหตกุ ารณท์ รี่ ิมหน้าต่าง ๑๔

๑๕

ชาวบา้ นหลายคนหว้ิ ถังนำ�้ ออกมาช่วยกนั ดบั ไฟ รถดับเพลิงมาถึงยงั ศาลาอยา่ งรวดเรว็ และฉดี น้ำ� ดบั ไฟทันที ๑๖

๑๗

๑๘

เมอ่ื ไฟสงบแล้ว ปะ๊ กับมะกลบั มารับอดัมกับฟาตีมา ปะ๊ บอกว่า “ไฟฟา้ ช็อตจนเกดิ ประกายไฟไปตดิ กิ่งไมแ้ หง้ ที่หักคา้ งบนสายไฟฟา้ ไฟเลยคอ่ ย ๆ ลกุ ไหม้ ดนี ะท่ลี ูกเห็นก่อน จึงดับไดท้ นั ” ๑๙

อดัมกับฟาตมี ารีบว่งิ ไปยงั ศาลาใต้ตน้ ไม้ แหงนหน้ามองข้ึนไป ทั้งคูไ่ ดย้ ินเสยี งเลก็ ๆ ๒๐

“จ๊บิ จ๊บิ จิ๊บจ๊บิ ” นกน้อยปลอดภัยแลว้ ๒๑

Story : Sahadam Waeyusoh Illustrator : Suwaibah Jehlaeh Translator : Rawiwan Boonchai Editor : Peeriya Pongsarigun John Viano ทุก ๆ วนั อดัมกบั ฟาตมี า มารอรถเพ่อื ไปโรงเรียน เจานกนอ ยนารกั โผบินลงมาสงเสยี งทกั ทาย สองพีน่ องมีอาหารมาฝากนกนอยเสมอ ๒๓ Every day, Adam and Fatima wait for the school bus to arrive. They are always greeted by the song of a small and lovely bird. The siblings always share some of their bread with it. ๒๒

บายวันหน่งึ อดัมกับฟาตมี า “เจา มลี ูกนอ ย ๆ แลว สนิ ะ” เอากลวยสกุ งอมมาฝากเจา นกนอย ทัง้ สองไดยนิ เสยี งเล็ก ๆ “จิบ๊ จ๊ิบ จบ๊ิ จ๊บิ ” จากบนตน ไม “ตองเปนเสียงลูกนกตวั นอ ย ๆ แนเลย” ฟาตมี าบอก ๔๕ One day, Adam and Fatima heard loud chirping coming from the tree, “Cheep-cheep! Cheep-cheep!” “It must be coming from some baby birds for sure!”, Fatima said excitedly. อดัมวางกลว ยสกุ ใหแมน ก ๗ แมนกคาบกลว ยบินกลับไปปอ นลกู นอย สองพ่ีนองเฝาดนู กอยา งเพลิดเพลนิ ๖ Adam gave some ripe banana to the mommy bird. It ate it and flew back to its nest and fed its young hatchlings. ๒๓

เชาวันปดเทอม สองพี่นองมาหานกนอ ย “พ่ีอดมั ไดก ลน่ิ อะไรไหม ๆ” อดัมหันมองดูรอบ ๆ ตวั ไมพ บอะไรผดิ ปกติ จงึ เงยหนา ขึน้ ขางบน อดมั เหน็ ควนั โขมง ๘๙ “Adam, something’s burning!”, Fatima said while sniffing the air. Adam looked around but didn’t see anything out of the ordinary. But when he looked up, he saw smoke rising from the tree. สองพน่ี อ งรีบพากันวงิ่ กลบั บาน ปากก็รองตะโกน “ไฟไหม ไฟไหม ใครก็ไดช วยโทร ๑๙๙ ใหห นอ ยคะ ” “ชวยดว ย ไฟไหมอยูที่ศาลา” ๑๐ ๑๑ Both ran back home and shouted, “Fire! Fire! Please call 199!” “There’s a fire at the bus stop!” ๒๔

ปะกบั มะไดยนิ เสยี งอดัมกบั ฟาตมี า รองตะโกนวา “ไฟไหม” ปะ รีบควาถงั ดับเพลงิ จ้ําอา วออกจากบา น มะรีบโทรศัพท ๑๙๙ เรียกรถดบั เพลิงทันที แลวหันมาบอกลกู ๑๓ ๑๒ “อดมั กับฟาตีมาอยูในบา นนะลกู ถา ไปทศ่ี าลาอาจจะอันตราย” Dad and Mom heard Adam and Fatima shouting. Dad grabbed a fire extinguisher and rushed to the bus stop. Mom quickly dialed 199 to call for a fire truck to come put out the fire. Then she said, “Adam and Fatima, you should stay home, it’s too dangerous to go back to the bus stop.” อดมั กับฟาตมี านํา้ ตาคลอเมอื่ นึกถงึ แมน ก และลกู นกนอย ๆ ในรงั “ขอใหแ มน กกบั ลกู นกปลอดภยั ” ฟาตีมาพดู ข้ึน ท้งั สองเฝา มองเหตกุ ารณท ่รี ิมหนา ตา ง ๑๔ ๑๕ ๒๕ Adam and Fatima couldn’t hold back their tears at the thought of the danger mommy bird and her babies were in. “I hope the mommy bird and her babies stay safe”, Fatima said. Then both looked out the window at the tree.

ชาวบา นหลายคนหิ้วถงั นํ้าออกมาชวยกนั ดบั ไฟ รถดับเพลิงมาถึงยังศาลาอยางรวดเร็ว และฉีดนาํ้ ดบั ไฟทนั ที ๑๖ ๑๗ The neighbors brought buckets of water to fight the fire. Finally, the fire truck came and quickly put it out. เมือ่ ไฟสงบแลว ปะ กบั มะกลับมารับอดมั กับฟาตมี า ปะบอกวา “ไฟฟาชอ็ ตจนเกดิ ประกายไฟไปตดิ กง่ิ ไมแ หง ทห่ี ักคา งบนสายไฟฟา ไฟเลยคอ ย ๆ ลกุ ไหม ดนี ะทลี่ ูกเหน็ กอน จึงดบั ไดท ัน” ๑๘ ๑๙ When fire was put out, Dad and Mom took Adam and Fatima back to the bus stop. “The fire was caused by a short circuit, which the ignited some dry branches. Luckily, you saw it in time!”, the parents told their children. ๒๖

อดัมกบั ฟาตีมารีบวิง่ ไปยังศาลาใตต นไม แหงนหนา มองข้ึนไป ทั้งคูไดย นิ เสียงเล็ก ๆ “จบิ๊ จบิ๊ จ๊ิบจ๊บิ ” นกนอยปลอดภยั แลว ๒๐ ๒๑ Both brother and sister ran to the bus stop and looked up into the tree. They heard the chirping of the baby birds, “Cheep-cheep! Cheep-cheep!”, saying they were safe. Then, the mommy bird flew out of the tree to show them she was OK, too. ๒๗

วธิ ปี อ้ งกนั เพลิงไหม้ จัดสภาพแวดล้อมบ้านให้ปลอดภัยจากเพลิงไหม้ เลอื กใชอ้ ปุ กรณแ์ ละเคร่ืองใช้ไฟฟา้ ท่ี ไดม้ าตรฐาน โดยกำ� จัดวสั ดุที่เปน็ เชื้อเพลงิ เกบ็ แยกขยะสารเคมี ไมใ่ ชส้ ายไฟฟา้ ราคาถูก เลือกใชส้ ายไฟท่ีมขี นาด ท่ีติดไฟงา่ ย ใหห้ า่ งจากแหล่งความร้อน ไม่จัดเก็บ เหมาะสมกับปริมาณกระแสไฟฟ้า เพราะเสย่ี งต่อ สงิ่ ของกดี ขวางประตูทางฉกุ เฉนิ การเกดิ เพลิงไหม้ จัดวางเครื่องใช้ไฟฟ้า ในบริเวณท่ีปลอดภัย ไมว่ างใกล้ ตรวจสอบเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างสม�่ำเสมอให้อยู่ใน แหล่งความรอ้ น วัสดุติดไฟงา่ ย และสารไวไฟ สภาพใชง้ านอยา่ งปลอดภยั เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เก่ยี วขอ้ ง โดยเฉพาะเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เก่ียวข้องกับความร้อน กบั น้ำ� มีมอเตอร์เป็นสว่ นประกอบควรอยู่ด้านนอก และมมี อเตอร์ อาคาร ๒๘

ติดตงั้ อปุ กรณ์ป้องกนั และระงบั เหตุเพลงิ ไหม้ ใช้งานเครื่องใช้ไฟฟ้าอยา่ งถูกวิธี ไม่เปดิ เครื่องใช้ไฟฟา้ อาทิ ถงั ดบั เพลงิ เคมี เคร่ืองตรวจจับควันไฟ ติดต่อกนั เปน็ เวลานาน โดยเฉพาะเคร่ืองใช้ท่ีเกี่ยวข้อง สญั ญาณเตอื นเพลงิ ไหม้ บริเวณจุดเสยี่ ง กับความร้อนและมมี อเตอร์ ไมเ่ สยี บปลก๊ั ไฟหลายอนั อาทิ ห้องครัว ห้องพระ กบั เต้าเสยี บเดียวกนั เพิ่มความระมัดระวงั ในการประกอบกจิ กรรม ใชง้ านกา๊ ซหงุ ต้มดว้ ยความระมดั ระวัง โดยตรวจสอบ เก่ียวกับไฟ ไมจ่ ุดยากันยงุ หรือธูปเทียนทงิ้ ไว้ ถงั กา๊ ซให้อยู่ในสภาพสมบรู ณ์ วาลว์ ถังกา๊ ซ สายยาง โดยไม่ดูแล ดับไฟกน้ บุหร่ี ให้สนทิ ก่อนทิง้ หรือทอ่ น�ำกา๊ ซไม่รั่ว จัดวางถังกา๊ ซให้ห่างจากบริเวณ ไมเ่ ผาขยะหรือทงิ้ หญา้ แห้ง ที่มปี ระกายไฟ ๒๙

วธิ ปี ฏบิ ตั ิตนเม่อื เกิดเพลิงไหม้ ๖๐ ชั้น นา่ รู้ การสำ� ลักควันไฟเปน็ สาเหตุของการเสียชีวิตจากเหตเุ พลิงไหม้ มากกวา่ การถูก ไฟคลอก เพราะภายใน ๑ นาที ควันไฟจะลอยสูงเทา่ กบั ตกึ ๖๐ ชนั้ ทันทีที่เกิดเพลิงไหม้ ควันไฟจะปกคลมุ พื้นท่ีอยา่ งรวดเร็ว ท�ำให้รา่ งกายสดู ดมควันไฟเขา้ สรู่ ะบบทางเดินหายใจ ส่งผลให้หมดสตแิ ละเสยี ชีวิตกอ่ นถูกไฟคลอก ๓๐

เพลิงไหม้เล็กน้อย เพลิงไหมร้ นุ แรง ใชถ้ ังดบั เพลงิ ควบคมุ เพลงิ ในเบื้องตน้ ตะโกนบอกหรือกดสัญญาณเตอื นเพลงิ ไหม้ พร้อมโทรศัพท์แจง้ เจา้ หน้าท่ีมาควบคุมเพลิง เพ่ือแจง้ ให้ผอู้ ่ืนทราบ พรอ้ มอพยพออกจากพน้ื ท่ี จุดที่ยืนอยู่ หากไมร่ ้อน จดุ ที่ยนื อยู่ หากมคี วามรอ้ นสงู ใหเ้ ปิดประตอู อกไปช้า ๆ และอพยพไปตาม ห้ามเปดิ ประตอู อกไป ให้ใช้ผ้าหนา ๆ ชุบน้�ำอดุ ตามช่อง เสน้ ทางหนีไฟท่ีปลอดภยั ที่ควันไฟสามารถลอยเขา้ มาได้ ปดิ พัดลมระบายอากาศ ๓๑

วิธี ใช้งานถังดับเพลงิ ๑. ดึง ดงึ สลกั นริ ภยั ออกจากคันบีบ บริเวณหวั ถงั ดบั เพลงิ โดยหมนุ สลักจนตวั ยึดขาด และดึงสลักท้งิ ๒. ปลด ปลดสายฉดี ออกจากตวั ถังดบั เพลิง โดยดึงจากปลาย และใช้มือจับสายฉดี ใหม้ ่ันคง ๓. กด กดคนั บีบด้านบนถงั ดบั เพลิง เพือ่ ใหน้ ำ�้ ยา ดบั เพลิงพุ่งออกจากหวั ฉดี ไปยงั ต้นเพลิง ๔. สา่ ย ส่ายหวั ฉีดของถงั ดบั เพลิงให้ทั่วบริเวณตน้ เพลิง หมายเหตุ ผู้ใช้งานถงั ดบั เพลงิ ควรอยหู่ า่ งจากบริเวณที่เกิดเหตุเพลงิ ไหม้ประมาณ ๒-๔ เมตร ๓๒

หมายเลขโทรศพั ทแ์ จง้ เหตฉุ ุกเฉนิ ๑๙๑ ๑๙๙ แจง้ เหตุด่วนเหตรุ า้ ย ๑๑๒๙ แจง้ เหตไุ ฟไหม้-ดบั เพลิง ๑๑๓๐ การไฟฟา้ สว่ นภมู ิภาค ๑๕๕๔ การไฟฟา้ นครหลวง ๑๖๔๖ หน่วยกู้ชีพ วชิรพยาบาล ๑๖๖๙ หน่วยแพทยฉ์ ุกเฉนิ (กทม.) ๑๗๘๔ สถานบนั การแพทยฉ์ กุ เฉนิ แหง่ ชาติ กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ๓๓

สมาคมเด็กและเยาวชนเพื่อสนั ติภาพชายแดนใต้ (กล่มุ ลูกเหรยี ง) หนงั สือภาพเรื่อง อดัมกับฟาตีมา ตอน พิชิตเพลิงไหม้ ซงึ่ สมาคมเดก็ และเยาวชนเพอ่ื สันติภาพ ชายแดนใต้ (กลุ่มลกู เหรียง) ได้จัดพมิ พข์ น้ึ มา โดยไดร้ ับการสนับสนนุ จากโครงการความหวงั และความฝนั เพือ่ เตรียมพร้อมรับมอื ภัยพบิ ัตแิ ละแก้ไขปญั หาสิง่ แวดล้อม (HANDs Project) เจแปนฟาวน์เดชั่น ศนู ย์เอเชีย (Japan Foundation Asia Center) และได้รับการพัฒนาทั้งเน้ือเร่ืองและภาพ เพ่อื ให้ เหมาะสมกบั การน�ำเสนอและสือ่ สารในรปู แบบหนงั สอื ภาพ (picture book) จากแผนงานสร้างเสริม วัฒนธรรมการอา่ น สสส. รวมทั้งการเผยแพรส่ สู่ าธารณะทาง www.happyreading.in.th และ http://www.facebook.com/Happyreadingnews (วัฒนธรรมการอ่าน Happyreading) สมาคมเดก็ และเยาวชนเพอ่ื สนั ติภาพชายแดนใต้ (กล่มุ ลกู เหรียง) ตระหนกั ถึงคุณค่าและประโยชน์ต่อการด�ำรงชีวิตของเด็กเพือ่ ให้มี ทักษะในการป้องกนั ตัวเอง และเอาตวั รอดจากสถานการณ์เพลิงไหม้ จงึ ได้ผลิตหนังสอื นทิ านภาพ ๒ ภาษา และสง่ ตอ่ หนังสือนทิ านเพือ่ ให้ กระจายใหท้ ั่วถงึ กลมุ่ เป้าหมาย และสง่ มอบเป็นอภนิ ันทนาการแกส่ ถานศึกษาและหอ้ งสมดุ ในชุมชน จากประสบการณก์ ารท�ำงานขับเคลือ่ นการสร้างความปลอดภัยในเด็กในพืน้ ท่ีชายแดนภาคใต้ ตามพันธกจิ การด�ำเนนิ งานดา้ นการปกป้อง คุม้ ครอง สมาคม ฯ จงึ ได้พัฒนา“หนังสอื นทิ าน ๒ ภาษา ช่ือเรื่อง “อดมั กบั ฟาตมี า ตอน พิชิตเพลิงไหม”้ เพือ่ หวงั ใหเ้ ดก็ ๆ ท่ี ไดอ้ า่ นมีความรู้ ความเขา้ ใจ ร้จู ักการปอ้ งกันเพลงิ ไหม้ รู้วิธีปฏิบัติตนเม่อื เกดิ เพลงิ ไหม้ และวิธี ใชง้ านถังดบั เพลงิ โดยเนือ้ หาตวั ละครและสถานที่ มีความใกล้เคียง กับชีวิตจริงของเดก็ ท�ำใหเ้ ด็ก ๆ เขา้ ถึงเนื้อเรื่องไดง้ ่ายข้นึ สามารถเอาตัวรอดจากสถานการณฉ์ ุกเฉนิ ได้ และอีกหนงึ่ พันธกจิ ส�ำคญั ของสมาคม ฯ คอื ประเดน็ ส่งเสริมพัฒนา โดยสมาคม ฯ มุ่งเน้นการส่งเสริมปลกู ฝงั นสิ ัยรักการอ่าน ส่งเสริมการอ่านในวิถีชีวิต อนั เป็นตน้ ทุนส�ำคัญของการ พัฒนาเดก็ และเยาวชนในพื้นท่ีชายแดนภาคใต้ ขอขอบคณุ คุณซาหดมั แวยโู ซะ๊ เจา้ หนา้ ท่ีพัฒนาศกั ยภาพเด็กและเยาวชน ผูส้ ร้างสรรคง์ านเขียนเร่ืองนดี้ ้วยความตัง้ ใจ และคุณซวู ัยบะห์ เจะและ ไดเ้ ติมเตม็ จินตนาการดว้ ยภาพในหนังสอื ภาพเลม่ นอ้ี ย่างเต็มศักยภาพ ขอขอบคุณโครงการความหวังและความฝัน เพื่อเตรียมพร้อมรับมอื ภยั พบิ ตั ิและแก้ไขปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม (HANDs Project) เจแปนฟาวน์เดช่ัน ศนู ยเ์ อเชีย (Japan Foundation Asia Center) และแผนงานสรา้ งเสริมวัฒนธรรมการอา่ น สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.) รวมถึงผมู้ ีส่วนร่วมสร้างสรรค์ทุกทา่ น สมาคมเด็กและเยาวชนเพ่อื สันติภาพชายแดนใต้ (กลมุ่ ลูกเหรียง) หวังวา่ หนงั สอื ภาพเล่มนจี้ ะเปน็ สว่ นหน่งึ ของกิจรรมการเรียนรู้ การ สรา้ งเสริมทักษะชีวิตดว้ ยกจิ กรรมการอา่ นในสถานศึกษา ชุมชนและครอบครัว สง่ เสริมสายสัมพันธ์ความรักท่ีสง่ ตอ่ ถงึ กนั เพื่อให้เดก็ ๆ มีชีวิต ที่ปลอดภยั มากขึน้ วรรณกนก เปาะอิแตดาโอะ นายกสมาคมเด็กและเยาวชนเพื่อสนั ติภาพชายแดนใต้ (กลุ่มลูกเหรยี ง)

ผสู้ รา้ งสรรค์เรอ่ื ง : อดัม ซาหดัม แวยูโซ๊ะ เป็นชาวปัตตานี การศกึ ษา • ปริญญาตรี คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั อลิการ์ ประเทศอนิ เดีย • มัธยมศึกษาปที ่ี ๔-๖ โรงเรียนศาสนปู ถัมภ์ จังหวดั ปตั ตานี เยาวชนแลกเปลย่ี น • ๒๐๑๗-๑๘ ตัวแทนเยาวชนประเทศไทย โครงการ“ความหวงั และความฝนั ” เพือ่ เตรียมพรอ้ มรับมอื ภัยพบิ ตั ิ และแก้ไขปญั หาสง่ิ แวดล้อม ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศอินโดนเี ซียและประเทศญป่ี ุน่ • ๒๐๑๗ ตวั แทนเยาวชนประเทศไทย One Young World ประเทศโคลัมเบีย • ๒๐๑๕ ตัวแทนเยาวชนประเทศไทย Youth Exchange of YSEALI (Young South East Asian Leaders Initiative) United for Peace ประเทศฟิลิปปินส์ และตวั แทนเยาวชนเขา้ รว่ มสังเกตการณ์ One Young World Summit in Bangkok ผู้สรา้ งสรรค์ภาพ : จิบะห์ ซูวยั บะห์ เจะและ การศกึ ษา เป็นชาวยะลา • ปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (เกียรตนิ ยิ ม อันดับ ๒) • มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑-๖ โรงเรียนมลู นธิ สิ ันตวิ ิทยา จังหวดั ปตั ตานี ผลงาน • หนงั สือเด็กดีเกง่ ภาษาไทย คัดไทยสนกุ ก-ฮ หวั กลม ตัวกลม และ หัวกลม ตัวเหลี่ยม • Rising Star ของภาคใต้ PTT Comic contest ปี ๕ ตอน พลังงานทา้ ทดลอง • MISSION : แกก๊ ใบ้ / แกก๊ คลาสสกิ ขายหัวเราะ 1st GAG WORKSHOP • เข้ารอบ ๑๒ ทีม Character Licensing Workshop ปี ๔ ปัจจุบันท�ำงานอิสระดา้ นศิลปะ ออกแบบคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ และวาดภาพประกอบ หนังสอื ส�ำหรับเดก็

กลมุ่ ลกู เหรียง เตบิ โตข้ึนในปี ๒๕๔๕ เร่ือง อดัม ซาหดัม แวยโู ซะ๊ ภาพ จิบะห์ ซูวัยบะห์ เจะและ จากการรวมตัวของเยาวชนในจังหวัดยะลา บรรณาธิการ ระพีพรรณ พัฒนาเวช สดุ ใจ พรหมเกดิ ด�ำเนนิ กิจกรรมเพ่ือสังคมประเด็นยาเสพติด ผ้แู ปล รวิวรรณ บญุ ไชย อนามยั เจริญพันธ์ุ และ HIV/Aids จนกระท่ัง บรรณาธกิ ารภาษาองั กฤษ พีริยา พงษส์ าริกัน ปี ๒๕๔๗ เกิดความรุนแรงในพนื้ ที่ เมอื่ ลงเยย่ี ม จอหน์ โจเซฟ วอี าโน บา้ นผูร้ ับผลกระทบ ได้พดู คุยกบั เดก็ ๆ หลาย กองบรรณาธกิ าร หทัยรัตน์ พันตาวงษ์ นนั ทพร ณ พัทลุง คนพบวา่ เด็ก ๆ เกบ็ กด และฝังความแค้นไว้ สริ าภรณ์ ชาวหนา้ ไม้ นติ ยา หอมหวาน ปนดั ดา สงั ฆทิพย์ เตม็ หวั ใจ จึงได้เริ่มท�ำงานโดยมงุ่ เน้นในประเด็น ตรั มีซี อาหามะ นศิ ารัตน์ อ�ำนาจอนันต์ สธุ าทิพย์ สรวยลำ�้ เร่ืองความไมส่ งบในจังหวัดชายแดน โดยเฉพาะ จันทมิ า อินจร ในมติ ขิ องการปอ้ งกนั คมุ้ ครอง สงเคราะห์ ออกแบบและจดั หนา้ น้ำ� ฝน การช่วยเหลือเยียวยาทั้งทางกายและจิตใจ ประสานงานการผลิต สริ ิวลั ย์ เรืองสุรัตน์ และสง่ เสริมพัฒนาเด็กและเยาวชน เพอื่ ให้ ซาหดัม แวยูโซะ๊ เตบิ โตพรอ้ มพลังสรา้ งสรรค์ เปน็ แกนนำ� ของ พมิ พค์ รั้งที่ ๑ : เมษายน ๒๕๖๒ จำ� นวน ๑,๐๐๐ เลม่ เดก็ และเยาวชนในพืน้ ท่ี และเป็นก�ำลงั ส�ำคญั จัดพมิ พแ์ ละเผยแพร่โดย เจแปนฟาวน์เดชั่น ศูนยเ์ อเชีย ในการช่วยเหลอื เดก็ คนอื่น ๆ ตอ่ ไป (Japan Foundation Asia Center) และ แผนงานสรา้ งเสริม วัฒนธรรมการอา่ น สสส. พมิ พท์ ี่ : บริษทั ธรรมสาร จ�ำกัด โทรศพั ท์ : ๐ ๒๒๒๑ ๐๓๗๔, ๐ ๒๒๒๖ ๒๕๙๙ แผนงานสร้างเสริมวฒั นธรรมการอา่ น บริหารงานโดย “มูลนธิ สิ รา้ งเสริมวฒั นธรรมการอา่ น” ได้รับการสนบั สนนุ จากส�ำนกั งานกองทุนสนับสนนุ การสร้างเสริมสขุ ภาพ (สสส.) ด�ำเนนิ งานดา้ นประสานกลไก นโยบาย และปัจจัยขยายผลจากทั้งภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน ใหเ้ ออื้ ตอ่ การขบั เคลื่อนการสร้างเสริมพฤติกรรมและวัฒนธรรมการอ่านให้เขา้ ถงึ เด็ก เยาวชน และครอบครัว โดยเฉพาะกลุ่มที่ขาดโอกาสในการเขา้ ถึงหนงั สือ และกลมุ่ ท่ีมีความต้องการพเิ ศษ ร่วมสนับสนนุ การขับเคล่อื นนโยบาย โครงการ และกจิ กรรมสร้างเสริมวัฒนธรรมการอา่ นเพือ่ สร้างสังคมสุขภาวะได้ท่ี ๔๒๔ หมู่บ้านเงาไม้ ซอยจรัญสนทิ วงศ์ ๖๗ แยก ๓ ถนนจรัญสนทิ วงศ์ แขวงบางพลดั เขตบางพลัด กรุงเทพ ฯ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ : ๐ ๒๔๒๔ ๔๖๑๖ โทรสาร : ๐ ๒๘๘๑ ๑๘๗๗ Email : [email protected] Website : www.happyreading.in.th http://www.facebook.com/Happyreadingnews (วฒั นธรรมการอ่าน Happyreading)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook