Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แรงและการเคลื่อนที่ เทอม 2

แรงและการเคลื่อนที่ เทอม 2

Published by s60131113036, 2021-12-29 08:05:05

Description: แรงและการเคลื่อนที่ เทอม 2

Search

Read the Text Version

เทอม 2 ปีการศึกษา 2564 แรงและการเคลอ่ื นท่ี LET GO !

หน่วยท่ี 1 เร่ือง แรงและการเคล่ือนท่ี แรงและแรงลพั ธ์ LET GO !

Understanding Check !! 1. วัตถุไม่หลุดออกไปจากโลกเพราะมีแรงดึงดูดของโลกหรือแร ง โ น้ ม ถ่ ว ง ก ร ะ ทา ต่ อ วั ต ถุ 2. แรงมีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที 3. แรงลัพธ์ คือ ผลรวมของแรงท้ังหมดท่ีกระทาต่อวัตถุ 4. ความเร็วเฉล่ียของ วัตถุเป็นอัตราส่วนของระยะทางทั้งหมด ที่ วั ต ถุ เ ค ล่ื อ น ที่ ต่ อ เ ว ล า ท้ั ง ห ม ด ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร เ ค ลื่ อ น ท่ี 5. อัตราเร็วเฉลี่ยของวัตถุเป็นอัตราส่วนของระยะทางทั้งหม ดที่ วั ต ถุ เ ค ลื่ อ น ท่ี ต่ อ เ ว ล า ท้ั ง ห ม ด ท่ี ใ ช้ ใ น ก า ร เ ค ลื่ อ น ท่ี

แรง (Force) สอนโดย อาจารย์พิชญส์ ินี ยอดจิตร์ (อาจารย์ไอซ์) แรง คือ ปริมาณที่กระทาต่อวัตถุแล้วทาให้ แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์จงึ ตอ้ งระบุทัง้ ขนาดและ วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนท่ี ทิศทาง ซึ่งเขยี นแทนด้วยสัญลักษณล์ กู ศร หรือเปลี่ยนแปลงรูปร่าง เช่น การออกแรงเข็น ความยาว แทน ขนาดเวกเตอร์ รถเข็น ทาให้รถเข็นที่อยู่นิ่งเกิดการเคลื่อนท่ี หวั ลกู ศร แทน ทศิ ทางขยายเวกเตอร์ การออกแรงปั้นดินน้ามัน ทาให้ดินน้ามัน เปลี่ยนแปลงรปู ร่าง ++ แรงมหี นว่ ยเปน็ นวิ ตัน (N) ++ F

สอนโดย อาจารย์พชิ ญ์สนิ ี ยอดจติ ร์ (อาจารย์ไอซ์) ปรมิ าณสเกลาร์ ปรมิ าณท่ีบอกเเค่ “ ขนาด ” อยา่ งเดียว เช่น ระยะทาง อัตราเร็ว เวลา งาน พลงั งาน มวล ปริมาตร ความหนาเเนน่ อณุ หภูมิ ปรมิ าณเวกเตอร์ ปริมาณท่ีบอกทั้ง “ ขนาด ” เเละ “ ทศิ ทาง ” เช่น การกระจัด ความเร็ว ความเร่ง แรง น้าหนัก โมเมนต์ โดยเขียนแทนไดด้ ้วย ลกู ศร ใหค้ วามยาวของลกู ศรแทนขนาดของเวกเตอร์ หัวลูกศรแทนทศิ ทางของเวกเตอร์

เเรง สอนโดย อาจารยพ์ ชิ ญส์ ินี ยอดจิตร์ (อาจารย์ไอซ์) แรงเปน็ ปริมาณเวกเตอร์ ⭐️ขนาดของเเรง แทนดว้ ย ความยาวของลูกศร ⭐️ทศิ ทางของเเรง แทนดว้ ย ทิศทางของหัวลูกศร - สิ่งทีม่ ากระทาแลว้ วตั ถเุ คลื่อนท่ี / หยุดนง่ิ - เปลี่ยนทศิ ทาง เปลย่ี นรูปร่างได้ F1 = 30 นวิ ตนั F2 = 20 นวิ ตนั ������ สญั ลักษณ์ : F ������ มหี น่วยเป็น : นิวตัน (N) จากภาพ มเี เรงมากระทากบั วตั ถุ 2 เเรง ขนาดของเเรง F1 เท่ากับ 30 นิวตนั มที ศิ ทางไปทางขวามอื ขนาดของเเรง F2 เทา่ กบั 20 นิวตัน มีทศิ ทางไปทางขวามอื

เวกเตอร์ สอนโดย อาจารย์พิชญส์ ินี ยอดจิตร์ (อาจารยไ์ อซ์) F1 = 30 นวิ ตัน เวกเตอรท์ ่ีเทา่ กนั F2 = 30 นิวตนั เวกเตอรต์ รงข้ามกนั F1 = 30 นิวตนั F2 = 30 นวิ ตนั

สอนโดย อาจารย์พชิ ญ์สนิ ี ยอดจติ ร์ (อาจารย์ไอซ์) 1. จงเขียนแรงที่มีขนาด 400 นิวตัน และมีทิศทางไป ทางทิศตะวันออก N WE วิ ธี เ ขี ย น กา ห น ด ใ ห้ 1 เ ซ น ติ เ ม ต ร เ ท่ า กั บ 4 0 นิ ว ตั น S 2. จงเขียนแรงที่มีขนาด 250 นิวตัน และมีทิศทางไป ทางทิศตะวันตก วิ ธี เ ขี ย น กา ห น ด ใ ห้ 1 เ ซ น ติ เ ม ต ร เ ท่ า กั บ 5 0 นิ ว ตั น

สอนโดย อาจารยพ์ ชิ ญ์สินี ยอดจิตร์ (อาจารย์ไอซ์) 3. จงเขียนแรงที่มีขนาด 2,100 นิวตัน และมีทิศทางไป ทางทิศเหนือ N WE วิ ธี เ ขี ย น กา ห น ด ใ ห้ 1 เ ซ น ติ เ ม ต ร เ ท่ า กั บ 7 0 0 นิ ว ตั น S 4. จงเขียนแรงท่ีมีขนาด 3,000 นิวตัน และมีทิศทางไป ทางทิศตะวันตก วิ ธี เ ขี ย น กา ห น ด ใ ห้ 1 เ ซ น ติ เ ม ต ร เ ท่ า กั บ 5 0 นิ ว ตั น

สอนโดย อาจารยพ์ ชิ ญส์ ินี ยอดจติ ร์ (อาจารย์ไอซ์) 1. แรงลพั ธ์ทเ่ี กิดจากแรงยอ่ ยทอ่ี ยู่ในแนวเดียวกนั มากระทากับวัตถใุ นทศิ ทางเดียวกัน แรงมที ิศทางเดยี วกัน Fลพั ธ์ = F1 + F2 F1 = 4 N F2 = 4 N

1. แรงลัพธท์ เี่ กิดจากแรงยอ่ ยทอี่ ยู่ในแนวเดียวกันมากระทากบั วัตถใุ นทิศทางเดียวกัน วธิ กี ารเขียนแผนภาพของแรง F1 และ F2 แล้วหาแรงลพั ธท์ ก่ี ระทาต่อวัตถุ โดยใชว้ ิธหี างต่อหวั กาหนดให้ 1 เซนติเมตร เทา่ กบั 1 นิวตนั จึงเขยี นแรง F1 และ F2 ได้เปน็ F1 = 4 N F2 = 4 N Fลัพธ์ = F1 + F2 หาแรงลัพธ์ท่เี กดิ จาก F1 + F2 โดยการนาหางของแรง F2 มาตอ่ กบั หัวลกู ศรของแรง F1 F1 = 4 N F1 = 4 N F2 = 4 N F2 = 4 N แรงลพั ธท์ เี่ กดิ ขึ้นจากแรง F1 + F2 หาได้ โดยการลากเสน้ ตรงจากหางลกู ศรของแรง F1 ไปยงั หวั ลูกศรของแรง F2 Fลพั ธ์ = 8 N F1 = 4 N F2 = 4 N

สอนโดย อาจารย์พชิ ญส์ ินี ยอดจิตร์ (อาจารย์ไอซ)์ 2. แรงลพั ธท์ เ่ี กิดจากแรงย่อยท่อี ยใู่ นแนวเดยี วกันมากระทากับวตั ถุในทิศทางตรงขา้ มกนั Fลพั ธ์ = F1 + (-F2) แรงมที ิศตรงข้ามกัน F1 = 7 N F2 = 3 N

2. แรงลัพธท์ ่ีเกดิ จากแรงยอ่ ยทอ่ี ย่ใู นแนวเดยี วกันมากระทากับวตั ถุในทศิ ทางตรงข้ามกนั วธิ ีการเขียนแผนภาพของแรง F1 และ F2 แล้วหาแรงลัพธ์ทกี่ ระทาต่อวตั ถุ โดยใชว้ ิธีหางตอ่ หวั กาหนดให้ 1 เซนติเมตร เท่ากับ 1 นวิ ตนั จงึ เขยี นแรง F1 และ F2 ได้เป็น F2 = 3 N F1 = 7 N หาแรงลัพธ์ท่เี กดิ จาก F1 + F2 โดยการนาหางของแรง F2 มาต่อกับหัวลกู ศรของแรง F1 F2 = 3 N Fลัพธ์ = F1 + (-F2) F1 = 7 N แรงลัพธท์ ่เี กิดขึน้ จากแรง F1 + F2 หาได้ โดยการลากเส้นตรงจากหางลูกศรของแรง F1 ไปยังหวั ลูกศรของแรง F2 Fลัพธ์ = 4 N F2 = 3 N F1 = 7 N F2 = 3 N F1 = 7 N

สอนโดย อาจารยพ์ ชิ ญ์สินี ยอดจติ ร์ (อาจารย์ไอซ์) 2. แรงลพั ธท์ ี่เกดิ จากแรงยอ่ ยท่อี ยู่ในแนวเดยี วกันมากระทากบั วัตถใุ นทิศทางตรงขา้ มกนั Fลพั ธ์ = 0 F2 = 4 N F1 = 4 N

2. แรงลพั ธ์ท่ีเกิดจากแรงย่อยทีอ่ ยู่ในแนวเดยี วกันมากระทากับวตั ถุในทศิ ทางตรงข้ามกัน วธิ ีการเขียนแผนภาพของแรง F1 และ F2 แลว้ หาแรงลพั ธท์ ก่ี ระทาต่อวัตถุ โดยใชว้ ธิ หี างตอ่ หวั กาหนดให้ 1 เซนตเิ มตร เทา่ กบั 1 นิวตนั จงึ เขียนแรง F1 และ F2 ได้เปน็ F1 = 4 N F2 = 4 N หาแรงลัพธท์ ี่เกิดจาก F1 + F2 โดยการนาหางของแรง F2 มาต่อกับหัวลูกศรของแรง F1 F2 = 4 N F1 = 4 N F2 = 4 N F1 = 4 N เนื่องจากหางลกู ศรของแรง F1อยใู่ นตาแหนง่ เดยี วกับลกู ศรของแรง F2 ดงั น้นั แรงลัพธจ์ งึ มคี า่ เทา่ กบั ศูนย์ Fลัพธ์ = 0

สอนโดย อาจารย์พชิ ญส์ นิ ี ยอดจติ ร์ (อาจารย์ไอซ์) 1. นักเรียน 2 คนออกแรงผลักโต๊ะท่ีตั้งอยู่บนพื้นลื่นไม่มีความฝืดให้เคล่ื อนท่ีไปทางขวา มือด้วยขนาด 20 และ 40 นิวตัน จงคานวณหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ F1 = 20 N F2 = 40 N ทมี่ าภาพ : https://images.app.goo.gl/LTwWWEVaczvfuXUX6

สอนโดย อาจารยพ์ ชิ ญ์สินี ยอดจติ ร์ (อาจารย์ไอซ์) 2. ชายสองคนออกแรงผลักตู้ไม้ท่ีหยุดนิ่งบนพื้นเรียบลื่น โดยชายคนท่ี 1 ออกแรง F1 ผลัก ตู้ไม้ด้วยแรงขนาด 50 นิวตัน ชายคนที่สองออกแรง F2 ผลักตู้ไม้ด้วยแรงขนาด 30 นิวตัน ดัง ภาพ จงคานวณหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์

LET GO !

สอนโดย อาจารยพ์ ชิ ญ์สนิ ี ยอดจิตร์ (อาจารยไ์ อซ์) พิจารณาเหตุการณ์ต่อไปนี้ แล้วบอกว่าวัตถุมีสภาพการเครื่องที่คงเดิมหรือเป ลี่ยนแปลง โดยขีด ✓ลงใน □ แล้วอธิบายสภาพการเคลื่อนที่ เ ห ตุ ก า ร ณ์ คา อ ธิ บ า ย 1. ฉันวางหนังสือไว้บนโต๊ะ ❑ สภาพการเคล่ือนที่คงเดิม ❑ สถาพการเคล่ือนท่ีเปลี่ยนแปลง 2. แก้วปล่อยลูกบอลลงมาจากชั้น 3 ของอาคาร ❑ สภาพการเคลื่อนท่ีคงเดิม ❑ สถาพการเคลื่อนที่เปลี่ยนแปลง

3. บอยดีดลูกแก้วเบาๆให้กล้ิงไปบนพื้นคอน กรีต ข รุ ข ร ะ ❑ สภาพการเคลื่อนที่คงเดิม ❑ สถาพการเคล่ือนที่เปลี่ยนแปลง 4. โบนารถของเล่นวางบนแผ่นฟีเจอร์บอร์ดที่ วาง บนพื้นทราบ จากนั้นค่อยๆ เอียงฟีเจอร์บอร์ ดช้าๆ ใ ห้ ทา มุ ม กั บ พื้ น ร า บ ❑ สภาพการเคลื่อนท่ีคงเดิม ❑ สถาพการเคล่ือนที่เปล่ียนแปลง 5. เอ๋ยกาลังขับรถอยู่บนถนนด้วยอัตราเร็วค งตัว แต่มีสุนัขว่ิงตัดหน้ารถ เอ๋ยจึงเบรกรถกะทั นหัน ❑ สภาพการเคล่ือนท่ีคงเดิม ❑ สถาพการเคลื่อนที่เปลี่ยนแปลง

สอนโดย อาจารย์พชิ ญส์ ินี ยอดจติ ร์ (อาจารยไ์ อซ์) เ ขี ย น แ ผ น ภ า พ แ ส ด ง ข น า ด แ ล ะ ทิ ศ ท า ง ข อ ง แ ร ง ลั พ ธ์ ท่ี เ กิ ด จ า ก แ ร ง ห ล า ย แ ร ง ที่ ก ร ะ ทา ต่ อ กล่อง (1 cm : 20 N) แรงที่กระทาต่อกล่ อง แ ผ น ภ า พ แ ส ด ง แ ร ง ลั พ ธ์ 1. F1 = 20 N F2 = 40 N 1. 2. F1 = 20 N F3 = 50 N 2. F2 = 30 N

แรงที่กระทาต่อกล่ อง สอนโดย อาจารย์พิชญ์สนิ ี ยอดจิตร์ (อาจารยไ์ อซ)์ 3. F1 = 50 N F3 = 70 N แ ผ น ภ า พ แ ส ด ง แ ร ง ลั พ ธ์ F2 = 60 N 3. 4. F1 = 40 N F3 = 20 N 4. F2 = 30 N F4 = 50 N 5. F2 = 20 N 5. F4 = 30 N F3 = 40 N F1 = 60 N F5 = 20 N

กฎการเคลื่อนท่ขี องนิวตนั สอนโดย อาจารย์พชิ ญส์ นิ ี ยอดจิตร์ (อาจารย์ไอซ์) ⭐️กฎขอ้ ท่ี 1 ; กฎความเฉ่ือย ⭐️กฎขอ้ ที่ 2 ; กฎความเร่ง ⭐️กฎขอ้ ที่ 3 ; กฎเเรงกิรยิ า เเละเเรงปฏิกริ ยิ า F = 0 F = Ma เเรงกริ ิยา = เเรงปฏิกริ ยิ า วตั ถุหยุดนง่ิ หรอื เคลอ่ื นทใี่ นเเนวระนาบ วัตถเุ คลือ่ นที่ในเเนวดิ่ง วงกลม ������เกดิ กบั วัตถุตั้งเเต่ 2 อัน ������เเรงน้เี กิดข้นึ พรอ้ มกัน ดว้ ยความเรว็ คงท่ี โปรเจกไทล์ ซิมเปลิ ฮารโ์ มนกิ เเตก่ ระทากับวัตถุคนละกอ้ น ������เเรงมขี นาดเทา่ กนั ������ความเรง่ (a) เปน็ ศนู ย์ ������ความเรง่ (a) ไม่เท่ากับศูนย์ เเต่มที ิศทางตรงข้ามกันเสมอ ������ความเร็ว (v) คงท่ี ������ความเร็ว (v) ไม่คงที่

หน่วยท่ี 1 เรื่อง แรงและการเคล่ือนท่ี แรงเสียดทาน LET GO !

แรงเสยี ดทาน แรงเสียดทาน เป็นแรงท่เี กดิ ข้นึ ระหว่างผวิ สมั ผัสของวตั ถุ เพื่อตา้ นความพยายามในการเคลอื่ นทข่ี องวัตถุ ที่มาภาพ : https://images.app.goo.gl/hcDJkZXmq7n4kHsf8 สอนโดย อาจารยพ์ ชิ ญส์ นิ ี ยอดจิตร์ (อาจารย์ไอซ)์

เเรงเสียดทาน F ������เกดิ ข้นึ ระหวา่ งผวิ สมั ผัสของวตั ถุ W = mg ผิวสัมผสั ของวัตถุ ������มีทศิ ตรงข้ามกบั การเคล่อื นท่ี f ������สูตรคานวณ f = N f แทน เเรงเสยี ดทาน N แทน น้าหนกั ของวัตถุ หรอื เเรงโต้ตอบจากพ้ืน u หรอื มวิ แทน สมั ประสทิ ธิค์ วามเสยี ดทาน สอนโดย อาจารย์พชิ ญส์ ินี ยอดจิตร์ (อาจารย์ไอซ)์

เเรงเสียดทาน แรงทีต่ ้านการเคลือ่ นที่ของวัตถุ ������ สญั ลักษณ์ : f ������ มีหน่วยเป็น : นวิ ตนั (N) ������เเบ่งออกเปน็ 2 ประเภท 1. แรงเสยี ดทานสถติ ย์ - ออกแรงดงึ วัตถุ เเตว่ ตั ถุไมเ่ คลอ่ื นท่ี 2. เเรงเสยี ดทานจลน์ - ออกแรงดงึ วัตถุ ทาให้วตั ถเุ คลือ่ นที่ สอนโดย อาจารย์พิชญ์สนิ ี ยอดจิตร์ (อาจารยไ์ อซ)์

ประเภทของแรงเสยี ดทาน 1. แรงเสยี ดทานสถิต (static frictional force; fs) 2. แรงเสียดทานจลน์ (kinetic frictional force; fk) แรงเสยี ดทานท่ีเกดิ ข้ึนในขณะท่ีวัตถุอยู่น่ิงหรือกาลงั เร่มิ แรงเสียดทานทเ่ี กิดขน้ึ ในขณะท่วี ัตถุกาลงั เคลื่อนท่ไี ปบน เคลือ่ นที่ ขนาดของแรงเสียดทานสถติ จะเพ่ิมข้ึนตามขนาด ผิวของอีกวัตถุหนึ่ง เป็นแรงเสียดทานที่พยายามต้านการ ของแรงท่ีกระทาต่อวัตถุจนมีค่ามากทีส่ ดุ ขณะที่วัตถุเริม่ จะ เคลื่อนที่ ธรรมชาติของแรงเสียดทานจลน์ จะมีทิศทางตรง เคลอื่ นที่ เรียกวา่ แรงเสยี ดทานสถิตสงู สดุ ข้ามกับทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ ทาให้วัตถุนั้นเคลื่อนท่ี ช้าลงหรอื หยดุ นิ่ง สอนโดย อาจารยพ์ ชิ ญ์สินี ยอดจติ ร์ (อาจารยไ์ อซ)์

แรงเสียดทาน แรงเสยี ดทานสถิตสงู สดุ fs, max fk แรงเสยี ดทานจลน์ มีหนว่ ยเปน็ นิวตัน (N) มหี น่วยเป็น นิวตนั (N) fs, max = μsN fk = μkN สัมประสิทธคิ์ วามเสยี ดทาน μ N แรงปฏิกิรยิ าตั้งฉาก โดย μs คือ สมั ประสทิ ธิ์ความเสยี ดทานสถิต μk คอื สมั ประสิทธ์คิ วามเสียดทานจลน์ มหี น่วยเปน็ นิวตัน (N) สอนโดย อาจารย์พิชญส์ ินี ยอดจิตร์ (อาจารยไ์ อซ)์

++ ปจั จยั ท่ีมีผลต่อเเรงเสยี ดทาน ++ 1. พ้ืนผิวสมั ผัส ท่ีมาภาพ : https://i1.wp.com/www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/287/6/15/1-10.jpg - พืน้ ขรุขระ เเรงเสยี ดทานมาก - พ้ืนเรยี บ เเรงเสยี ดทานน้อย 2. น้าหนักของวัตถุ - น้าหนกั มาก เเรงเสยี ดทานมาก - น้าหนักนอ้ ย เเรงเสียดทานนอ้ ย สอนโดย อาจารย์พิชญ์สนิ ี ยอดจติ ร์ (อาจารย์ไอซ)์

☺ จากภาพ ใหเ้ ด็ก ๆ ระบุ ผิวสมั ผัสที่ทาให้เกิดแรงเสยี ดทาน  ทมี่ าภาพ : https://images.app.goo.gl/mkxm6RDqmXCUr3gR7 การเลน่ กระดานลื่น แรงเสียดทานเกิดข้นึ ระหว่างผิวสมั ผวั ของ ..............ก...้น............ กบั ....ก...ร..ะ.ด...า..น...ล...นื่ ........ สอนโดย อาจารย์พชิ ญ์สนิ ี ยอดจติ ร์ (อาจารยไ์ อซ)์

☺ จากภาพ ให้เด็ก ๆ ระบุ ผวิ สมั ผัสท่ที าให้เกดิ แรงเสยี ดทาน  ทม่ี าภาพ : https://images.app.goo.gl/wnPg6seWrLj3Y6p8A ปัน่ จักรยาน แรงเสยี ดทานเกิดขึน้ ระหวา่ งผวิ สมั ผวั ของ ........ล..้อ...จ..ัก...ร..ย..า..น..... กับ ..........ถ..น...น.............. สอนโดย อาจารย์พชิ ญ์สนิ ี ยอดจติ ร์ (อาจารยไ์ อซ)์

☺ จากภาพ ให้เด็ก ๆ ระบุ ผิวสัมผัสทที่ าให้เกดิ แรงเสยี ดทาน  ท่มี าภาพ : https://images.app.goo.gl/stee9c278NKTct6J9 การสไี วโอลิน แรงเสยี ดทานเกิดขึ้นระหว่างผวิ สัมผัวของ ............ค...นั ..ช...กั ......... กบั ....ส..า..ย...ไ.ว..โ..อ..ล...นิ........ สอนโดย อาจารย์พิชญ์สินี ยอดจิตร์ (อาจารยไ์ อซ)์

☺ จากภาพ ใหเ้ ด็ก ๆ ระบุ ผิวสัมผสั ที่ทาใหเ้ กิดแรงเสยี ดทาน  ที่มาภาพ : https://images.app.goo.gl/aSarseXeFfx2fTYX9 การเลน่ สเก็ตนา้ เเข็ง แรงเสยี ดทานเกดิ ขึน้ ระหวา่ งผวิ สัมผัวของ ........ใ.บ...ม...ดี...โ.ล...ห...ะ.... กับ .....พ...น้ื...น...้า..แ..ข..็ง......... สอนโดย อาจารย์พิชญ์สินี ยอดจติ ร์ (อาจารย์ไอซ)์

ชายคนหน่ึงออกแรงลากกล่องไม้หนัก 550 นิวตัน ไปบนพ้ืนในแนวระดับ โดยสัมประสิ ทธ์ิ ความเสียดทานจลน์ระหว่างกล่องไม้กับพ้ืนมีค่าเป็น 0.5 จงคานวณหาขนาดของแรงเสียด ทานท่ี เ กิ ด ขึ้ น สอนโดย อาจารย์พชิ ญส์ ินี ยอดจติ ร์ (อาจารยไ์ อซ)์

กล่องบรรจุ ของหนั ก 2, 000 นิ วตั น ถู กผลักให้ เคลื่ อนที่ ด้ วยความเร็วคงตัวไปบน พื้นถนน ซึ่งเกิดแรงเสียดทานจลน์ 1,500 นิวตัน จงหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ระหว่างก ล่อง บ ร ร จุ ข อ ง กั บ พ้ื น ถ น น สอนโดย อาจารยพ์ ิชญส์ ินี ยอดจิตร์ (อาจารยไ์ อซ)์

1. ธิติ ออกแรงลากล่ องไม้ หนั ก 300 นิ วตั น ให้ เคลื่ อนที่ ด้ วยความเร็วคงตัวไปบน พื้นราบ ท่ีมีสัมประสิทธ์ิความเสียดทานจลน์ระหว่างกล่องไม้กับพ้ืนเป็น 0.2 อยากทราบว่า แรงเสียดทาน จลน์มีค่าเท่าใด พร้อมวาดภาพประกอบ สอนโดย อาจารยพ์ ิชญ์สินี ยอดจติ ร์ (อาจารยไ์ อซ)์

-- ประโยชน์ของเเรงเสยี ดทานในชวี ติ ประจาวนั -- ⭐️เพม่ิ เเรงเสยี ดทาน ทีม่ าภาพ : https://i0.wp.com/www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/287/6/15/1-9.jpg - เพ่มิ ลวดลายพนื้ รองเท้า - เพ่ิมลวดลายยางรถยนต์ - ทาให้ผวิ ขรุขระ ⭐️ลดเเรงเสียดทาน - ใช้สารหล่อลนื่ สอนโดย อาจารย์พชิ ญส์ นิ ี ยอดจิตร์ (อาจารย์ไอซ)์

การนาความร้เู รื่องแรงเสยี ดทานมาใช้ในชวี ติ ประจาวัน การปกู ระเบือ้ งห้องนา้ ดว้ ยกระเบ้ืองทม่ี ผี ิวขรุขระ สไลเดอรถ์ ูกทาใหม้ พี ้นื ผวิ เรยี บล่ืน ช่วยเพ่ิมแรงเสยี ดทาน ใหพ้ ้นื ห้องน้าไมล่ ืน่ เกนิ ไป เพอื่ ลดแรงเสยี ดทาน ทาให้ผู้เลน่ ลื่นไถล ได้อย่างรวดเร็ว ดอกยางชว่ ยเพ่ิมแรงเสียดทาน การเล่นสกีตอ้ งเลน่ บนพนื้ เรียบลื่น ระหวา่ งรถกบั ถนน เพ่อื ลดแรงเสียดทาน ทาให้ผู้เลน่ เคลอ่ื นไหวได้งา่ ย สอนโดย อาจารย์พชิ ญ์สินี ยอดจติ ร์ (อาจารยไ์ อซ)์

หน่วยท่ี 1 เรื่อง แรงและการเคล่ือนท่ี แรงดนั และแรงพยงุ ในของเหลว LET GO !

สอนโดย อาจารยพ์ ชิ ญส์ นิ ี ยอดจิตร์ (อาจารย์ไอซ)์ ท่ีมา : https://www.youtube.com/watch?v=bQUAC7CjS-0

สอนโดย อาจารยพ์ ชิ ญส์ นิ ี ยอดจิตร์ (อาจารย์ไอซ)์ ท่ีมา : https://www.youtube.com/watch?v=bQUAC7CjS-0

สอนโดย อาจารยพ์ ชิ ญส์ นิ ี ยอดจิตร์ (อาจารย์ไอซ)์ ท่ีมา : https://www.youtube.com/watch?v=bQUAC7CjS-0

แรงดันในของเหลว สอนโดย อาจารยพ์ ิชญส์ นิ ี ยอดจิตร์ (อาจารย์ไอซ์) เมื่อวัตถุอยู่ในของเหลวจะมีแรงที่ของเหลวกระทาต อวัตถุในทุกทิศทาง โดยแรงที่ ของเหลว กระทาต้ังฉากกับผิวของวัตถุต อหนึ่งหน่วยพื้นที่ เรียกว า ความดันของของเหลว ความดนั มหี นวยเปน นิวตันตอตารางเมตร N/m2 P F F ขนาดของแรงทก่ี ระทาต้งั ฉากกับผวิ ของวัตถุ หรอื พาสคัล (Pa) A มหี นวยเปน นวิ ตนั (N) P = A พน้ื ทผ่ี ิวของวตั ถุ มีหนวยเปน ตารางเมตร m2 แรงดันคือ ? h แรงท่ีกระทาตั้งฉากกับผิวของวัตถุซึ่งทาโดยของแข็งของเหลวหรื อแก๊สต่อ หนึ่งหน่วยพื้นที่ของสารใดๆความดันเป็นปริมาณ สเกลา ร์ จึงมีแต่ขน าดไม่มี ทิศทางเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ P

สอนโดย อาจารยพ์ ชิ ญส์ นิ ี ยอดจิตร์ (อาจารย์ไอซ์) ท่ีมา : https://www.youtube.com/watch?v=bQUAC7CjS-0

ความดนั ของของเหลว สอนโดย อาจารยพ์ ิชญ์สินี ยอดจติ ร์ (อาจารย์ไอซ์) เพิ่ม ความดันของของเหลวทีร่ ะดบั ความลึกตา่ งๆ เเรงท่กี ระทากบั วตั ถทุ กุ ทศิ ทางเเละต้ังฉากกับผิววัตถุ ความดนั ของของเหลวมีขนาดเทา่ กับขนาดของ เเรงท่ีของเหลวกระทากบั พน้ื ท่ีหน่ึงหนว่ ย หาไดจ้ ากสูตร P = F/A P แทน ความดันของของเหลว ท่มี าภาพ : https://images.app.goo.gl/2oUSj6PJqvaxdDqQ7 F แทน เเรงทก่ี ระทากบั วตั ถุ A เเทน พื้นที่

สอนโดย อาจารยพ์ ิชญส์ ินี ยอดจติ ร์ (อาจารยไ์ อซ์) โจทย์…… จงเรียงลาดับน้าที่มีความดนั มากท่สี ุดไปนอ้ ยท่ีสุด A BC D

ความดนั ของน้าที่ระดับความลึกตา่ งๆ สอนโดย อาจารยพ์ ชิ ญ์สินี ยอดจติ ร์ (อาจารยไ์ อซ์) P = pgh ท่มี าภาพ : https://images.app.goo.gl/5gnogrLhfCyQyxSu7 P คือ ความดนั ของของเหลว มหี นว่ ยเปน็ นิวตัน/ตารางเมตร N/m2 หรอื พาสคัล (Pa) p คอื ความหนาแน่นของของเหลว มหี นว่ ยเปน็ กโิ ลกรัม/ลกู บาศกเ์ มตร (kg/m3) g คอื ค่าความเร่งเนอื่ งจากแรงโนม้ ถว่ งของโลก มหี นว่ ยเปน็ เมตร/วินาท2ี (m/s2) h คือ ความลึกของของเหลว มีหน่วยเป็น เมตร (m)

สอนโดย อาจารยพ์ ชิ ญส์ นิ ี ยอดจิตร์ (อาจารย์ไอซ์) ท่ีมา : https://www.youtube.com/watch?v=uDbdUKYwN2I


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook