Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปวิทย์ หน่วย 4

สรุปวิทย์ หน่วย 4

Published by s60131113036, 2021-09-10 11:47:14

Description: สรุปวิทย์ หน่วย 4

Search

Read the Text Version

สรปุ เนอ้ื หา By Kru pitsinee yodjit (K.ice) สรปุ วทิ ย์ “ ม.2 “ หน่วยท่ี 4 Kru pitsinee yodjit (K’ice) ท่มี าภาพ : https://www.freepik.com/ character_4317330.htm#page=1&query=Education%20icon%20collection&position=47 ช่องทางการตดิ ต่อ Line : iceicie , Instagram : Ppsnyjip , Facebook : Pitsinee yodjit

สรปุ เนื้อหา By Kru pitsinee yodjit (K.ice) สรปุ หน่วยท่ี 4 เรอ่ื ง เชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์ ++++++++++++++++++ เชอื้ เพลิงซากดกึ ดาบรรพ์ (Fossil fuel) ++++++++++++++++++ เชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์ (Fossil fuel) เป็นแหล่งพลังงานสิ้นเปลืองหรือพลังงานท่ีใช้แล้วหมดไป ซึ่งเกิดจากการแปรสภาพของซากสิ่งมีชีวิตที่สะสมและทับถมกันใต้ผิวโลกภายใต้สภาพที่เหมาะสมเป็นเวลา หลายลา้ นปี โดยถ่านหนิ และปิโตรเลียมมีกระบวนการเกิดทแี่ ตกต่างกัน ได้แก่ ถ่านหิน ปิโตรเลียม หนิ น้ามนั และแกส๊ ธรรมชาติ +++++++++++++++++++++++++++++++ ถ่านหนิ (Coal) +++++++++++++++++++++++++++++++ เป็นเชื้อเพลิงธรรมชาติหรือหินตะกอนชนิดหนึ่งซึ่งเกิดจากการสะสมของซากพืชในยุคดึกดาบรรพ์ เวลานานจนเปล่ียนสภาพเปน็ ถา่ นหิน มีสว่ นประกอบทส่ี าคญั คอื ส่วนประกอบของคาร์บอน ประเทศไทยพบถา่ นหนิ ประเภทใดมากท่ีสดุ คอื ลกิ ไนต์ และ ซับบทิ ูมนิ สั เป็นของแขง็ ติดไฟได้ดี ใหค้ วามร้อนสงู มีสนี ้าตาลถงึ ดา ** กระบวนการเกิดถา่ นหนิ ** เกิดขึ้นบริเวณหนอง บึง แอ่งน้า หรือที่ชื้นแฉะ ริแม่น้า ริมทะเล ซึ่งเป็นบริเวณ ที่มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช เกิดวงชีวิตวนต่อเนื่องกันจน เกิดการสะสมของซากพืช และทับถมเป็นจานวนมาก เมื่อบริเวณนี้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทางธรณี แผ่นดินจะทรุดตัวลง ทาให้สภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป เช่น น้าท่วมการ เคลื่อนไหวของเปลือกโลก ส่งผลให้ซากพืชต่าง ๆ ได้รับความร้อนและแรงกดดันจาก ภายในโลกและเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีและฟิสิกส์ ซากพืชเหล่าน้ีจงึ แปรสภาพไปเปน็ ถา่ นพตี ต่อมามีชั้นดินและหินมาทับถมคลุมชน้ั ถา่ นหินจนอยูใ่ นสภาพปจั จบุ นั ชอ่ งทางการติดต่อ Line : iceicie , Instagram : Ppsnyjip , Facebook : Pitsinee yodjit

สรปุ เนื้อหา By Kru pitsinee yodjit (K.ice) สรุปหนว่ ยที่ 4 เรอื่ ง เชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์ พตี พีตเป็นขั้นแรกเริ่มของการเกิดถ่าน หิน ซึ่งเกิดจากการทับถมของซากพืชใน ทม่ี า : https://dlink.me/n5pq4 ระยะเวลาไม่นาน ซากพืชบางส่วนยัง สลายตัวไม่หมด ทาให้ยังมองเห็นซากพืช เป็นลาต้น กง่ิ และใบ พตี มสี นี า้ ตาลถงึ สีดา มีปริมาณคาร์บอนต่ากว่าร้อยละ 60 โดย มวล มีปริมาณออกซิเจนและความชื้นสูง เป็นถ่านหินคุณภาพระดับต่าสุด สามารถใช้ เป็นเชื้อเพลิงได้ แต่มีค่าความร้อนต่าและ เผาแลว้ ได้ควนั มาก ลิกไนต์ เป็นถ่านหินที่มีอายุการถูกทับถม มากกว่าพีต มีผิวด้าน สีน้าตาล และมีซาก พืชที่ยังย่อยสลายไม่หมด มีปริมาณ คาร์บอนร้อยละ 55-60 มีปริมาณ ออกซิเจนค่อนข้างสูง มีความชิ้นสูงถึงร้อย ละ 30-70 เมื่อติดไฟจะมีควันและเถ้าถ่าน มาก นามาใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับผลิต กระแสไฟฟา้ และบ่มใบยาสูบ ที่มา : http://energyearth.co.th/product?lang=th ช่องทางการติดต่อ Line : iceicie , Instagram : Ppsnyjip , Facebook : Pitsinee yodjit

สรุปเน้ือหา By Kru pitsinee yodjit (K.ice) สรุปหนว่ ยท่ี 4 เรือ่ ง เชื้อเพลงิ ซากดึกดาบรรพ์ ซับบทิ ูมินสั เป็นถ่านหินที่มีอายุการถูกทับถม มากกว่าลิกไนต์ มีผิวด้านและเป็นมันสี น้าตาลถงึ สีดา มที ัง้ เนือ้ ออ่ นและเนื้อแข็ง มี ความชื้นประมาณร้อยละ 25-30 มีปริมาณ คาร์บอนร้อยละ 71-77 และมีปริมาณ กามะถันต่า ส่วนใหญ่ใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิต กระแสไฟฟ้าและอตุ สาหกรรมอนื่ ๆ ที่มา : http://energyearth.co.th/product?lang=th บิทมู ินัส เป็นถ่านหินที่มีอายุการถูกทับถม มากกว่าซับบิทูมินัส และได้รับความกดดัน สูงจนอัดตัวแน่น มีเนื้อแน่น สีดา มี ปริมาณคาร์บอนร้อยละ 80-90 และมี ความชิ้นร้อยละ 2-7 มีคุณภาพดีกว่า ลิกไนต์ เมื่อเผาไหม้แล้วจะให้ความร้อนสูง นามาใช้เปน็ เช้อื เพลงิ ในโรงงานอตุ สาหกรรม และโรงงานไฟฟา้ ทม่ี า : http://energyearth.co.th/product?lang=th ช่องทางการตดิ ต่อ Line : iceicie , Instagram : Ppsnyjip , Facebook : Pitsinee yodjit

สรปุ เนอื้ หา By Kru pitsinee yodjit (K.ice) สรปุ หนว่ ยท่ี 4 เรอ่ื ง เช้ือเพลงิ ซากดึกดาบรรพ์ แอนทราไซต์ เป็นถ่านหินที่มีอายุการถูกทับถม ยาวนานที่สุด มีสีดา มีลักษณะเนื้อแน่น ที่มา : http://energyearth.co.th/product?lang=th เป็นมันวาว น้าและแก๊สต่างที่อยู่ภายในหิน ระเหยไปจนหมดเหลือเพียงคาร์บอนเป็น องคป์ ระกอบมากกว่ารอ้ ยละ 90 มีความชนื้ น้อย ติดไฟยาก เมื่อนามาเผาไหม้จะให้ ความร้อนสงู ไมม่ ีควัน นามาใช้เป็นเชื้อเพลงิ ในอุตสาหกรรมตา่ งๆ ประเภทของ ปริมาณ ปรมิ าณ ปรมิ าณ ความดัน ความลึก เวลา ถา่ นหนิ คาร์บอน ความช้ืน ความร้อน สงู น้อย นอ้ ย พตี ต่า สูง ต่า มาก ลกิ ไนต์ ซบั บทิ มู ินัส สูง ต่า สูง ต่า มาก ทมู นิ สั ทราไซด์ ช่องทางการตดิ ตอ่ Line : iceicie , Instagram : Ppsnyjip , Facebook : Pitsinee yodjit

สรปุ เนื้อหา By Kru pitsinee yodjit (K.ice) สรุปหนว่ ยที่ 4 เร่ือง เช้ือเพลงิ ซากดึกดาบรรพ์ หนิ นา้ มัน เป็นหินตะกอนที่มีเนื้อละเอียดมีสารประกอบอินทรีย์แทรกอยู่ สามารถนาไปกลั่นน้ามันเพื่อใช้เป็น เชื้อเพลิงได้ หินน้ามันจัดเป้นต้นกาเนิดของปิโตรเลียม โดยเกิดจากการสะสมตัวของซากพืชซากสัตว์ร่วมกบั ตะกอนขนาดเล็กในแอง่ ตะกอน และถูกทับถมภายใต้ความกดดันและอณุ หภมู ิสูงเปน็ เวลานาน แหลง่ หนิ น้ามนั ทส่ี าคญั ในประเทศไทยอยใู่ นพ้ืนท่ี จงั หวัดตาก ลาพนู และกระบี่ กระบวนการเกดิ หินนา้ มัน ซากพชื จาพวกสาหรา่ ยและสัตวเ์ ลก็ ๆ จะจมลงส่ใู ตแ้ หลง่ น้าและสะสมพอก ตวั เปน็ ช้ันอยูใ่ นแหล่งนา้ ซึ่งมีปริมาณออกซเิ จนน้อย เม่อื เวลาผ่านไป เปลอื กโลกเกิดการเปล่ยี นแปลงทรดุ ตวั ลง ซากพชื และซากสตั วร์ วมไปถงึ แรธ่ าตทุ ่ผี ุพังมา จากชน้ั หินซง่ึ เป็นสารอนนิ ทรีย์จะถกู ทบั ถมลงไปลึกมากขึน้ เมือ่ เวลาผา่ นไป น้าทอ่ี ยู่ภายในซากพชื ซากสตั ว์จะระเหยออกไปจนหมด สารอนทิ รยี ท์ ี่อยู่ในซากพืชและซากสตั ว์จะเปลี่ยนไปในรูปแบบของเคอโรเจน สารประกอบเคอโรเจนเม่ือผสมกับตะกอนดนิ ทถ่ี กู อัดแนน่ จะกลายเป็นหนิ นา้ มัน ชอ่ งทางการตดิ ตอ่ Line : iceicie , Instagram : Ppsnyjip , Facebook : Pitsinee yodjit

สรุปเน้ือหา By Kru pitsinee yodjit (K.ice) สรุปหนว่ ยท่ี 4 เรื่อง เช้ือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ ส่วนประกอบในหินน้ามนั 1. สารประกอบอนินทรีย์ ได้แก่แร่ธาตุต่าง ๆ ท่ีผุพังมาจากชนั้ หนิ โดยกระบวนการทางกายภาพและทางเคมี ประกอบดว้ ยแรธ่ าตทุ ี่สาคัญ 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คอื > กลมุ่ แรซ่ ลิ เิ กต ไดแ้ ก่ ควอทซ์ เฟลสปาร์ เคลย์ > กลุม่ แร่คารบ์ อเนต ได้แก่ แคลไซต์ โดโลไมต์ 2 สารประกอบอินทรีย์ ประกอบดว้ ยบิทเู มน และเคอโรเจน > บทิ เู มน < ละลายได้ในเบนซีน เฮกเซน และตวั ทาละลายอินทรียอ์ ่นื ๆ จึงแยกออกจากหนิ น้ามันไดง้ า่ ย > เคอโรเจน < ไมล่ ะลายในตัวทาละลาย หินนา้ มนั ทม่ี สี ารอินทรียล์ ะลายอยใู่ นปริมาณสูงจดั เปน็ หนิ นา้ มนั คณุ ภาพดี ถา้ อา่ นถึงตรงน้แี ลว้ อาจารย์อยากบอกวา่ พวกเราเกง่ อยู่แล้ว สู้ๆนะ ตง้ั ใจนะคะ <3 ช่องทางการติดตอ่ Line : iceicie , Instagram : Ppsnyjip , Facebook : Pitsinee yodjit

สรุปเน้ือหา By Kru pitsinee yodjit (K.ice) สรุปหน่วยท่ี 4 เร่ือง เชื้อเพลงิ ซากดึกดาบรรพ์ ปโิ ตรเลียม (Pertroleum) มาจากคาในภาษาละติน 2 คา คือ เพตรา (Petra) แปลว่าหิน และโอเลียม (Oleum) ซึ่งแปลว่า นา้ มัน รวมความแลว้ หมายถึง น้ามันทีไ่ ดจ้ ากหิน สามารถแบ่งตามสถานะทสี่ าคัญได้ 2 ชนดิ คอื น้ามนั ดบิ (Oil) และแก๊สธรรมชาติ (Natural Gas) ประกอบดว้ ยสารไฮโดรคารบ์ อนที่เกดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติ มธี าตุ ที่เป็นองค์ประกอบหลัก 2 ชนิด คือ คาร์บอน (C) และ ไฮโดรเจน (H) โดยอาจมีธาตุอโลหะชนิดอื่น เช่น กามะถัน ออกซิเจน ไนโตรเจน ฯลฯ ปนอยู่ด้วย ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้ง ของแข็ง ของเหลว หรือ แก๊ส ขึ้นอยู่ กับองค์ประกอบของปิโตรเลียมเองเป็นสาคัญ นอกจากนี้ความร้อน และความกดดันของสภาพแวดล้อมท่ี ปิโตรเลียมนัน้ ถูกกักเกบ็ กม็ สี ่วนในการกาหนดสถานะของปิโตรเลียม ปโิ ตรเลยี ม ไมม่ สี ี ไมก่ ลนิ่ แกส๊ ธรรมชาติ นา้ มนั ดิบ เป็นของเหลว เป็นแก๊ส มสี ีนา้ ตาลถึงดา กระบวนการเกดิ ปิโตรเลียม ซากพชื และซากสตั วข์ นาดเลก็ ถูกทบั ถมด้วยตะกอนที่มขี นาดเลก็ ละเอียด ในแอ่งสะสมตะกอนในสภาวะทีข่ าดออกซเิ จน ซากพืชและซากสตั วข์ นาดเล็กถกู ทบั ถมลึกลงเรื่อย ๆ ภายใต้ความดนั และอณุ หภูมสิ ูงเปน็ เวลานานหลายลา้ นปี จนเกดิ เป็นปโิ ตรเลียม ช่องทางการติดตอ่ Line : iceicie , Instagram : Ppsnyjip , Facebook : Pitsinee yodjit

สรปุ เน้อื หา By Kru pitsinee yodjit (K.ice) สรุปหนว่ ยที่ 4 เรอ่ื ง เชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์ โครงสรา้ งแหล่งกกั เกบ็ ปโิ ตรเลียม เกิดจากการหักงอของชั้นหิน ทาให้มีรูปร่างโค้งคล้าย กระทะคว่าหรือหลังเต่า ปิโตรเลียมจะถูกกักเก็บอยู่ บริเวณจุดสูงสุดโครงสร้างแบบนี้ถือว่ามีประสิทธิภาพ ในการกักเกบ็ นา้ มนั ไดด้ ที ส่ี ุด โครงสร้างแบบประทนุ คว่า โครงสร้างแบบรอยเลือ่ น เกิดจากการหักงอของชั้นหิน ส่งผลให้แนวทางการ เคลื่อนที่ของชั้นหินมีทิศทางที่แตกต่างกัน ทาให้ ปิโตรเลยี มถูกกกั เกบ็ อย่ใู นช่องที่ปิดกน้ั เกิดจากชั้นหินถูกดังให้โก่งตัวด้วยแร่เกลือจนเกิด ลักษณะคล้ายกับโครงสร้างกระทะคว่าอันใหญ่ ทาให้ ปโิ ตรเลยี มถูกกักเกบ็ อยบู่ รเิ วณดา้ นข้างของโดม โครงสร้างแบบรปู โดม เกิดขึ้นได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงของ โครงสรา้ งแบบลาดบั ชนั้ ผิวโลกในอดีต ชั้นหินกักเก็บน้ามันจะถูกล้อมเป็น กระเปาะอยู่ระหว่างชั้นหินเนื้อแน่น น้ามันและแก๊สจะ เคลื่อนเข้าไปรวมตัวกันอยู่ในส่วนโคง้ ก้นกระทะ โดยมี ชน้ั หนิ เน้อื แน่นปิดทับอยู่ ชอ่ งทางการตดิ ตอ่ Line : iceicie , Instagram : Ppsnyjip , Facebook : Pitsinee yodjit

สรุปเนอ้ื หา By Kru pitsinee yodjit (K.ice) สรปุ หน่วยที่ 4 เรือ่ ง เช้ือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ ช่องทางการติดตอ่ Line : iceicie , Instagram : Ppsnyjip , Facebook : Pitsinee yodjit

สรุปเนือ้ หา By Kru pitsinee yodjit (K.ice) สรปุ หนว่ ยที่ 4 เรื่อง เชื้อเพลงิ ซากดึกดาบรรพ์ พลงั งานแสงอาทิตย์ (Solar energy) เป็นพลังงานทดแทนที่ใหญ่ที่สุด และมีปริมาณมากที่สุด แสงเป็นพลังงานที่สะอาด มนุษย์ใช้ ประโยชน์จากพลังงานแสงโดยใช้เครื่องมือที่ เรียกว่า เซลล์สุริยะหรือเซลล์แสงอาทิตย์ (solar cell) เปลยี่ นพลังงานแสงใหก้ ลายเป็นพลงั งานไฟฟา้ ทีม่ า : https://images.app.goo.gl/6uGgWdbs5jCbDbv17 พลงั งานลม (Wind power) เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ความกดอากาศ และแรงจากการหมุนของโลก พลังงานลม เป็นพลังงานที่สะอาดไม่ก่อให้เกิดมลภาวะ มนุษย์ใช้ประโยชน์จากลมโดยใช้กังหันลมเปลี่ยนพลังงานลมท่ี อยู่ในรูปของพลงั งานจลน์ไปเป็นพลังงานกลโดยการหมนุ ของใบพดั ให้เปลย่ี นเปน็ พลงั งานไฟฟา้ ทม่ี า : https://images.app.goo.gl/BWGsoS3NyypXJKJW7 ช่องทางการติดตอ่ Line : iceicie , Instagram : Ppsnyjip , Facebook : Pitsinee yodjit

สรุปเนื้อหา By Kru pitsinee yodjit (K.ice) สรปุ หน่วยท่ี 4 เรอ่ื ง เชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์ พลงั งานน้า (Hydropower) พลังงานน้า พลังงานน้าตก พลังงานน้าจากธรรมชาติ หรือการสร้างเขื่อนกั้นน้าและให้น้าตก ไหลผา่ นกังหันนา้ ซงึ่ ตดิ อย่บู นเคร่อื งกาเนดิ ไฟฟ้ากาลังงานนา้ ทีไ่ ดจ้ ะขน้ึ อยู่กับความสูงของน้าและอัตรา การไหลของน้าที่ปล่อยลงมา การนาเอาพลังงานน้ามาใช้ประโยชน์โดยการให้น้าไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่า พลงั งานศกั ย์ของน้าถูกเปลี่ยนเปน็ พลังงานจลน์ โดยกงั หนั นา้ (Turbines) ที่มา : https://images.app.goo.gl/SPc4m2QX8CJAC2Lz7 พลังงานชีวมวล (Biomass energy) เป็นพลงั งานท่ีมาจากการเผาไหม้สารอินทรียซ์ ึง่ เป็นแหลง่ กักเกบ็ พลังงานจากธรรมชาติ เพื่อเป็น แหล่งพลงั งานความรอ้ นให้กับกระบวนการผลติ ไฟฟา้ ทดแทนพลังงานเช้ือเพลิง ทม่ี า : https://www.aksorn.com/ ช่องทางการติดต่อ Line : iceicie , Instagram : Ppsnyjip , Facebook : Pitsinee yodjit

สรปุ เนื้อหา By Kru pitsinee yodjit (K.ice) สรปุ หน่วยที่ 4 เร่ือง เช้ือเพลงิ ซากดึกดาบรรพ์ พลังงานความร้อนใตพ้ ิภพ (Geothermal energy) พลงั งานความรอ้ นใต้พิภพ เกดิ จากการเคลอื่ นตัวของเปลือกโลกทาใหเ้ กดิ แนวรอยเลอ่ื น ภายใต้ ความร้อนและความดันสูง ส่งผลให้น้ามีอุณหภูมิสูงขึ้นกลายเป็นน้าร้อนหรือไอน้าแทรกขึ้นมาบนผิวดิน ตามรอยเล่อื นท่แี ตกสามารถนามาผลติ กระแสไฟฟา้ ได้ ทมี่ า : https://www.aksorn.com/ พลงั งานไฮโดรเจน (Hydrogen Energy) ไฮโดรเจนเป็นธาตุที่เบาที่สุด และเป็นธาตุที่รวมอยู่ในโมเลกุลของสารประกอบจาพวก ไฮโดรคาร์บอน สามารถนาแก๊สไฮโดรเจนมาใช้เป็นเชื้อเพลิงแทนการเผาไหม้ เพื่อใช้ในการผลิต กระแสไฟฟ้าและขับเคล่อื นรถยนตไ์ ด้ ท่ีมา : https://www.aksorn.com/ ช่องทางการตดิ ตอ่ Line : iceicie , Instagram : Ppsnyjip , Facebook : Pitsinee yodjit


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook