Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมายและจรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

กฎหมายและจรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

Published by Nitchanan Yathipeng, 2021-11-03 07:49:54

Description: กฎหมายและจรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

Search

Read the Text Version

กฎหมายและ จรรยาบรรณในการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล

ความหมายของกฎหมายและจรยิ ธรรม กฎหมายทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ พระราชบญั ญตั ิว่าดว้ ยการกระทาความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2550 สรปุ บทลงโทษสาหรบั ผู้กระทาความผดิ กฎหมายภายใต้พ.ร.บ.ว่า ด้วยการกระทาผิดเกยี่ วกับคอมพิวเตอร์ ความหมายของกฎหมายและจริยธรรม จริยธรรมทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ

กฎหมาย คือ “กฎระเบียบ ข้อบังคับท่ีสถาบันผู้มีอานาจ สูงสุดของประเทศตราข้ึนใช้ บังคับรวมท้ังกฎระเบียบข้อบังคับท่ี เกิดจากจารีตประเพณีท่ีได้รับการยอมรับนับถือจากสังคม หรือ จากบุคคลท่ัวไป ท่ีอยู่รวมกันในสังคมเพ่ือใช้กับบุคคลทุกคนในการ บริหารประเทศหากไม่ปฏิบตั ติ าม” จริยธรรม คือ “แนวทางปฏบิ ตั ขิ องคนในสังคม ซ่ึงบุคคล ผู้นั้นควรยึดถือในการ ดารงชีวิต และการทาตนเพื่อให้เกิด ประโยชนแ์ ละมีความสงบสขุ ตอ่ ตนเอง ผูอ้ นื่ และสังคม”

กฎหมายทางเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย คณะรัฐมนตรี อนุมัติเมื่อวันท่ี 15 ธันวาคม 2541 ให้ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติเป็นผู้ร่าง มีการ กาหนด กฎหมายที่จะรา่ งทงั้ ส้ิน 6 ฉบบั คอื 1. กฎหมายธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Transactions Law) 2. กฎหมายลายมือชอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Signatures Law) 3. กฎหมายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ (National Information Infrastructure) 4. กฎหมายการคมุ้ ครองขอ้ มูลสว่ นบุคคล (Data Protection Law) 5. กฎหมายการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Fund Transfer Law) 6. กฎหมายเกี่ยวกับการกระทาความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law)

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอรพ์ .ศ. 2550 ผา่ นการเห็นชอบจากสภานิติ บัญญัติการ ลงพระปรมาภิไธย และการประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาแล้ว เม่ือ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2550 และจะ มีผลใช้บังคับต้ังแต่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 เป็นต้นไป ดังนั้นผู้ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ตโดยท่ัวไป ผู้ให้บริการ ซ่ึงรวมไปถึงหน่วยงานต่างๆ ที่ เปิดบริการอินเทอร์เน็ตให้แก่ผู้อ่ืนหรือ กลุ่มพนักงานนักศึกษาใน องค์กร ควรทราบ ถึงรายละเอียดของพระราชบัญญัติว่าด้วยการ กระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. 2550 โดยประเทศไทย ได้ มีการบังคับใช้เปน็ ทเ่ี รยี บรอ้ ยแล้ว

สรปุ บทลงโทษสาหรบั ผูก้ ระทาความผดิ กฎหมายภายใตพ้ .ร.บ.ว่าดว้ ยการกระทาผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ ฐานความผดิ โทษจาคกุ โทษปรับ การเข้าถงึ ระบบคอมพวิ เตอรโ์ ดยไม่ชอบ ไม่เกิน 6 เดือน ไมเ่ กนิ 10,000 บาท คอมพวิ เตอร์ท่ีผู้อืน่ จัดทาขน้ึ เป็นการเฉพาะโดยไม่ชอบ ไมเ่ กนิ 1 ปี ไมเ่ กนิ 20,000 บาท การเข้าถงึ ข้อมูลคอมพวิ เตอรโ์ ดยไมช่ อบ ไม่เกิน 2 ปี ไมเ่ กิน 40,000 บาท การดักรบั ขอ้ มลู คอมพิวเตอร์ของผ้อู ื่นโดยไมช่ อบ ไมเ่ กิน 3 ปี ไม่เกิน 60,000 บาท การทาใหเ้ สยี หาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง เพมิ่ เติม ข้อมลู คอมพวิ เตอรโ์ ดยไม่ชอบ ไมเ่ กิน 5 ปี ไม่เกิน 100,000 บาท การกระทาเพ่อื ใหก้ ารทางานของระบบคอมพวิ เตอร์ของ ผอู้ น่ื ไม่สามารถทางานไดต้ ามปกติ ไมเ่ กนิ 5 ปี ไมเ่ กิน 100,000 บาท การส่งข้อมลู คอมพวิ เตอรร์ บกวนการใช้ระบบ คอมพวิ เตอร์ของคนอ่นื โดยปกติสขุ (Spam Mail) ไม่มี ไม่เกิน 100,000 บาท การจาหนา่ ยชดุ คาสง่ั ท่จี ัดทาขึ้นเพอื่ นาไปใชเ้ ป็น เคร่อื งมอื ในการกระทาความผิด ไมเ่ กิน 1 ปี ไมเ่ กิน 20,000 บาท การกระทาตอ่ ความมัน่ คง และไมเ่ กิน 200,000 บาท - ก่อความเสียหายแก่ข้อมลู คอมพิวเตอร์ ไมเ่ กนิ 10 ปี และ60,000-300,000 บาท - กระทบตอ่ ความมัน่ คงปลอดภัยของประเทศ/เศรษฐกิจ 3 ปถี ึง 15 ปี ไมม่ ี - เปน็ เหตุใหผ้ อู้ ่ืนถงึ แก่ชวี ิต 10 ปีถึง 20 ปี การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทาความผิดอนื่ (การเผยแพร่ เน้อื หาอันไม่เหมาะสม) ไมเ่ กนิ 5 ปี ไม่เกิน 100,000 บาท ผ้ใู ห้บรกิ ารจงใจสนับสนนุ หรอื ยนิ ยอมใหม้ กี ารกระทา ความผิด ตอ้ งระวางโทษ เชน่ เดียวกบั ต้องระวางโทษ เช่นเดียวกับ ผู้กระทา ความผดิ ผกู้ ระทา ความผิด การตกแตง่ ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ทีเ่ ป็นภาพของบุคคล ไมเ่ กนิ 3 ปี ไมเ่ กนิ 60,000 บาท

ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและความนิยมใช้ อนิ เทอร์เน็ตอยา่ งแพรห่ ลาย ทาให้ผ้ใู ช้คอมพวิ เตอร์สามารถ จัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลหรือข้อมูลส่วนตัวแบบออนไลน์ได้ จานวนมาก ความไว้วางใจในระบบสารสนเทศก็มีมากข้ึน ทาใหม้ ีความเส่ียงในการใชเ้ ทคโนโลยใี นทางทีผ่ ดิ มากขนึ้ ด้วย แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศสาคัญที่ส่งผลกระทบ ตอ่ จรยิ ธรรมสาเหตหุ ลกั ไดแ้ ก่ 1. สมรรถนะในการประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์ท่ีเพ่ิมขึ้น อย่างรวดเรว็ 2. ตน้ ทุนของแหล่งจดั เกบ็ ขอ้ มลู ลดลงแตใ่ ชเ้ ทคโนโลยีในการจัดเก็บ ทสี่ ูงข้นึ 3. ความก้าวหน้าในการวิเคราะหข์ อ้ มลู 4. ความกา้ วหน้าของระบบเครือขา่ ยและอนิ เทอรเ์ นต็

โดยทวั่ ไปเมอื่ พิจารณาถึงคุณธรรมจรยิ ธรรมเกย่ี วกับการใชเ้ ทคโนโลยีคอมพวิ เตอรแ์ ละ สารสนเทศแลว้ จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ท่รี ู้จกั กนั ในลกั ษณะตัวย่อว่า PAPA ประกอบดว้ ย 1. ความเป็นสว่ นตวั (Information Privacy) ความเป็นสว่ นตัวของขอ้ มลู และสารสนเทศ โดยทวั่ ไปหมายถงึ สิทธิที่จะอย่ตู ามลาพงั และเป็นสทิ ธทิ เี่ จ้าของสามารถที่จะ ควบคุมขอ้ มูลของตนเองในการเปดิ เผยให้กับผ้อู น่ื สิทธนิ ้ใี ชไ้ ดค้ รอบคลุมท้ังปจั เจกบุคคล 2. ความถูกตอ้ ง (Information Accuracy) ในการใช้คอมพวิ เตอร์เพือ่ การรวบรวม จัดเก็บ และเรียกใช้ข้อมูลน้ัน คุณลักษณะที่สาคัญประการหนึ่ง คือ ความน่าเช่ือถือ ได้ของข้อมูล ทั้งน้ี ข้อมูลจะมีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับความถูกต้องในการบันทึกข้อมูลด้วย ประเด็นด้าน จรยิ ธรรมทเ่ี กยี่ วข้องกบั ความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู โดยท่ัวไปจะพิจารณาว่าใครจะเป็นผรู้ ับผดิ ชอบตอ่ ความถูกต้องของข้อมลู ทีจ่ ดั เกบ็ และ เผยแพร่ เช่น ในกรณีที่องค์การให้ลูกคา้ ลงทะเบยี นดว้ ยตนเอง หรอื กรณขี องข้อมูลที่เผยแพรผ่ ่านทางเว็บไซต์ 3. ความเป็นเจา้ ของ (Information Property) สิทธิความเปน็ เจ้าของ หมายถงึ กรรมสิทธ์ิในการถือครองทรพั ยส์ นิ ซึ่งอาจเปน็ ทรพั ยส์ ินทว่ั ไปทีจ่ บั ตอ้ งได้ เช่น คอมพวิ เตอร์ รถยนต์ หรืออาจเปน็ ทรพั ย์สินทางปัญญา (ความคดิ ) ที่จับต้องไมไ่ ด้ 4. การเข้าถงึ ขอ้ มลู (Data Accessibility) ปจั จบุ ันการเข้าใชง้ านโปรแกรม หรือระบบคอมพิวเตอรม์ ักจะมกี ารกาหนดสิทธติ ามระดบั ของผู้ใช้งาน ทงั้ น้ี เพ่อื เปน็ การ ปอ้ งกนั การเขา้ ไปดาเนนิ การตา่ งๆ กบั ขอ้ มลู ของผใู้ ชท้ ่ีไมม่ สี ว่ นเกี่ยวขอ้ ง และเป็นการรกั ษาความลบั ของขอ้ มูล ตวั อย่างสิทธิในการใช้ งานระบบ

ประโยชน์ของการมีจริยธรรม 1. ประโยชน์ต่อตนเอง ภาคภูมใิ จ เปน็ ท่รี ักใคร่ เป็นคนดี 2. ประโยชน์ตอ่ สังคม สบสขุ ปรองดอง สามคั คี 3. ประโยชน์ต่อประเทศชาติความเจริญรุ่งเรือง สามัคคีความ พฒั นา 4. ประโยชน์ตอ่ องคก์ รธุรกิจ ยกระดับมาตรฐานขององคก์ ร 5. ประโยชน์ต่อการดารงรักษาไว้ซึ่งจริยธรรม เผยแพร่ รักษา จรยิ ธรรมไปสู่ร่นุ ต่อไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook