Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ดนตรีภาคอีสาน

ดนตรีภาคอีสาน

Published by ZaberrrRX, 2021-07-29 06:37:44

Description: ดนตรีภาคอีสาน

Search

Read the Text Version

เรอ่ื ง ดนตรภี าคอสี าน 1.นายจารุ​ชาติ​พวง​พรรณ​ทอง​เลขที่​30​ ช้ัน​ม.5/5 2.​นางสาววิไลลักษณ์​ผุริจันทร์​เลขท่ี​39 ช้ัน​ม.5/5 เตรียมอุดมศึกษาพฒั นาการ อุดรธานี

รายงานเล่มน้ีจดั ทาข้ึนเพอื่ เป็นส่วนหน่ึงของวชิ า นาฏศิลป์ ช้นั ม.5/5เพ่อื ใหไ้ ดศ้ ึกษาหา ความรู้ในเร่ือง เคร่ืองดนตรีภาคอีสาน และไดศ้ ึกษาอยา่ งเขา้ ใจเพือ่ เป็นประโยชนก์ บั การเรียน ผจู้ ดั ทาหวงั วา่ รายงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์กบั ผอู้ ่าน หรือนกั เรียน นกั ศึกษา ท่ีกาลงั หา ขอ้ มูลเร่ืองน้ีอยู่ หากมีขอ้ แนะนาหรือขอ้ ผดิ พลาดประการใด ผจู้ ดั ทาขอนอ้ มรับไวแ้ ละขอ อภยั มา ณ ท่ีน้ีดว้ ย ผจู้ ดั ทา 1.​นายจารุ​ชาติ​พวง​พรรณ​ทอง​เลขท่ี​30​ ช้ัน​ม.5/5 2.​นางสาววิไลลักษณ์​ผุริจันทร์​เลขที่​39 ช้ัน​ม.5/5 วนั ท่ี 23/07/64

สารบญั หนา้ เรื่อง 1 2-3 ดนตรีภาคอีสานคือ 4-9 ประวตั ิของดนตรีภาคอีสาน 10-11 ประเภทของดนตรีภาคอีสาน ยคุ เจริญรุ่งเรือง

คือดนตรีพ้นื บา้ นไดส้ ะทอ้ นถึงขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี วฒั นธรรม สภาพความเป็นอยู่ ความอุดมสมบูรณ์ ความแหง้ แลง้ โดยภาพสะทอ้ นเหลา่ น้ีจะดูไดจ้ ากสาเนียงเพลง บทเพลง ลกั ษณะของเคร่ืองดนตรีไดอ้ ยา่ งชดั เจน ซ่ึงดนตรี ของแตล่ ะภาคจะมีลกั ษณะโดยเฉพาะของตนเอง จะมีสาเนียงเพลง ภาษา เอกลกั ษณ์ และลกั ษณะเครื่องดนตรีแตกต่างกนั ออกไปตามลกั ษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ดนตรีทางภาคอีสาน เน่ืองจากทางภาคอีสานมีอากาศท่ีร้อนและแห้งแลง้ เมื่อถึง เวลาหนา้ ฝนชาวอีสานตอ้ งรีบทามาหากินเพ่อื เล้ียงปากเล้ียงทอ้ ง จนไม่มีเวลาที่จะสนุกสนาน มากนกั เครื่องดนตรีจึงไม่ สวยงาม ประดิษฐข์ ้ึนอยา่ งง่าย ๆ และใชว้ สั ดุอุปกรณ์ท่ีหาไดใ้ นทอ้ งถ่ิน การบรรเลงกร็ วดเร็วคึกคกั กระชบั และ สนุกสนาน แสดงถึงความเร่งรีบ ดนตรีพ้นื บา้ นอีสาน ซ่ึงประกอบดว้ ย เคร่ืองดีด สี ตี เป่ า ซ่ึงสามารถจาแนกไดด้ งั น้ี เครื่องดีด ไดแ้ ก่ พณิ ไหซอง เครื่องสี ไดแ้ ก่ ซออีสาน เคร่ืองตี ไดแ้ ก่ โปงลาง กลองหาง เครื่องเป่ า ไดแ้ ก่ แคน โหวด

ประวตั ิของดนตรีประเภทอสี าน ดนตรีพ้ืนบา้ นภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ (อีสาน) ดนตรีพ้นื บา้ นภาคอีสาน เป็นดนตรีประจาภูมิภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มีประวตั ิ ความเป็นมานบั พนั ปี และสืบต่อกนั มาจนถึงปัจจุบนั โดยยงั ดารงเอกลกั ษณ์ของวฒั นธรรมพ้ืนบา้ นไวอ้ ยา่ งมน่ั คง ในการศึกษาอาจ สืบคน้ จากการใชค้ าวา่ “ดนตรี” ในวรรณกรรมพ้นื บา้ นไดบ้ นั ทึกไวเ้ ป็นหลกั ฐาน 1.ประวตั ิการปรากฏคาวา่ “ดนตรี” ศพั ทท์ ่ีใชอ้ ยใู่ นภาษาไทยกลางและไทยอีสานในปัจจุบนั น้ี เดิมเป็นคาภาษาสนั สกฤต “ตนั ตริ” หรือ จากภาษาบาลีวา่ “ตุริยะ” หรือ “มโหรี” คาวา่ “ตนั ตริ” ท่ีปรากฏในวรรณกรรมพ้นื บา้ นอีสานเขียนวา่ “นนตรี” ซ่ึงกค็ ือ “ดนตรี” นนั่ เอง นอกจากน้ียงั มีคาท่ีมีความหมายคลา้ ยคลึงกนั ดงั น้ี 1.1 คาวา่ “นนตรี” พบในวรรณกรรมพ้ืนบา้ นอีส่านหลายเร่ือง ไดแ้ ก่ สินไช แตงอ่อน การะเกด ดงั ตวั อยา่ งดงั น้ี - บดั น้ีจกั กล่าวเถิงภูชยั ทา้ ว เสวยราชเบง็ จาล ก่อนแหลว้ ฟังยนิ นนตรีประดบั กล่อมซอซุง 1.2 คาวา่ “ตุริยะ” อาจเขียนในรูป “ตุริยะ” “ตุริยา” “ตุริเยศ” หรือ “ตุริยางค”์ เช่น - เม่ือน้นั ภูบาลฮู้ มุนตรีขานชอบ ฟังยนิ ตุริเยศยา้ ย กลอง ฆอ้ งเสพเสียง 1.3 คาวา่ “มโหรี” อาจมาจาก “มโหรี” ที่เป็นชื่อปี่ หรือมาจากคาวา่ “โหรี” ซ่ึงหมายถึงเพลงพ้ืน เมืองชนิดหน่ึงของอินเดีย คาวา่ “มโหรี” พบในวรรณคดีของอีสานดงั น้ี - มีท้งั มโหรีเหลน้ ทงั ละเมง็ ฟ้อนม่ายสิงแกวง่ เหล้ือม โขนเตน้ ใส่สาว (สิง = นางฟ้อน นางร้า

จะเห็นไดว้ า่ คาวา่ “นนตรี” “ตุริยะ” และ “มโหรี” เป็นคาท่ีนิยมใชใ้ นวรรณคดีและหมายถึง ดนตรี ประเภทบรเลงโดยทวั่ ไป แต่ในปัจจุบนั คาวา่ ดนตรี หมายถึง ดนตรีของราชสานกั ภาคกลางหรือดนครีไทยสากล ส่นดนตรีพ้นื บา้ นของชาวอีสานจะมี ช่ือเรียกเป็นคาศพั ทเ์ ฉพาะเป็นอยา่ ง ๆ ไป เช่น ลา (ขบั ร้อง) กล่อม สวดมนต์ สู่ขวญั เซิ้ง เวา้ ผญา หรือจ่ายผญา สวดสรภญั ญะ และอ่านหนงั สือผกู เป็นตน้ การท่ีจะสืบคน้ ประวตั ิความเป็นมาของดนตรีอีสานใหไ้ ดข้ อ้ มูลท่ีเป็นขอ้ เทจ็ จริงน้นั ทา ไดย้ าก เพราะไม่มีเอกสารใดท่ีบนั ทึกเรื่องราวทางดนตรีโดยเฉพาะ จะมีกล่าวถึงในวรรณคดีกเ็ ป็นส่วนประกอบของทอ้ งเรื่องเท่าน้นั เอง และที่กล่าวถึงส่วนมากกเ็ ป็นดนตรีในราชสานกั โดยกล่าวถึงชื่อดนตรีต่าง ๆ เช่น แคน พิณ ซอ ไค้ (แคนของชาวเขา) ขลุ่ย กลอง ตะโพน พาทย์ (กลอง ระนาด ฆอ้ ง สไนง์ (ป่ี เขาควาย) สวนไล (ชะไล-ป่ี ใน) ป่ี ออ้ หรือป่ี หอ้ เป็นตน้ ส่วนการ ประสมวงน้นั ที่เอยกม็ ีวงมโหรี ส่วนการประสมอยา่ งอื่นไม่กาหนดตายตวั แน่นอน เขาั ใจวา่ จะประสมตามใจชอบ แมใ้ น ปัจจุบนั การประสมวงของดนตรีอีสานกย็ งั ไม่มีมาตรฐานท่ีแน่ยอนแต่อยา่ งใด อยา่ งไรกต็ ามดนตรีอีสานในปัจจุบนั ที่ยงั คง ปฏิบตั ิอยมู่ ีทง่ั ดนตรีประเภทบรรเลงและดนตรีประเภทขบั ร้อง

ประเภท​ของด​ นตรีภ​ าคอสี าน พณิ ไห​หรือไหซอง เป็นพณิ ที่ทามาจากไหท่ีใส่ปลาร้าของชาวอีสาน นิยม ทาเป็นชุด ๆ ละ3ใบ มีขนาดลดหลน่ั กนั ไป ตรงปาก ไหขึงดว้ ยยางหนงั สติ๊ก หรือยางในรถจกั รยานแลง้ ผกู ขึงใหเ้ สียงประสานกนั โดยทาหนา้ ที่คลา้ ยกบั กีตาร์ เบส ผเู้ ล่นจะร่ายราประกอบไปดว้ ย

โปงลาง ดนตรพี ืน้ เมืองอีสานถือวา่ จงั หวะสาคญั มาก เครอ่ื งดนตรปี ระเภทตใี ชด้ าเนินทานองอย่างเดยี วคือ โปงลาง โปงลางมีวิวฒั นาการ มาจากระฆงั แขวนคอสตั วเ์ พ่ือใหเ้ กิดเสยี งโปงลางท่ีใชบ้ รรเลงอยใู่ นภาคอีสานมี2 ชนิด คอื โปงลางไมแ้ ละโปงลางเหลก็ ภาพท่ี แสดงคือ โปงลางไมซ้ ง่ึ ประกอบดว้ ยลกู โปงลางประมาณสิบสองลกู เรยี งตามลาดบั เสียงสงู ต่า ใชเ้ ชือกรอ้ ยเป็นแผงระนาด แต่ โปงลางไม่ใชร้ างเพราะเห็นวา่ เสยี งดงั อย่แู ลว้ แตน่ ามาแขวนกบั ท่ีแขวน ซง่ึ ยดึ ส่วนปลายกบั สว่ นโคนใหแ้ ผงโปงลางทามมุ กบั พืน้ 45 องศา ไมต้ ีโปงลางทาดว้ ยแก่นไมม้ ีหวั งอนคลา้ ยคอ้ นสาหรบั ผบู้ รรเลงใชต้ ดี าเนินทานอง1 คู่ และอีก 1 คสู่ าหรบั ผชู้ ว่ ยใช้ เคาะทาใหเ้ กิดเสียงประสานและจงั หวะตามลกั ษณะของดนตรพี ืน้ เมืองอีสานท่ีมีเสยี งประสาน

กลองหาง เป็นกลองยาวชนิดหน่ึง แต่มีรูปร่างเพรียวกวา่ ของภาคกลาง ที่เรียกกลองหางเพราะมีลาตวั ยาวเหมือนหาง ใชต้ ีผสมกบั กลองตุม้ และกลองกาบบ้งั ประกอบการฟ้อนหรือขบวนแห่งานบุญต่าง ๆ

แคน เป็นเครอ่ื งเป่าท่ีรูจ้ กั กนั แพรห่ ลายและถือว่าเป็นเครอ่ื งดนตรที ่ีเป็นสญั ลกั ษณข์ องชาวอีสาน แคนทาดว้ ยไมไ้ ผ่ ก่แู คนหรอื ไมซ้ าง เรยี กวา่ ไมเ้ ฮีย้ หรอื ไมเ้ ฮือ้ เป็นพืชตระกลู ไมไ้ ผใ่ ชเ้ ป็นคู่ ๆ ประกอบกนั เขา้ โดยอาศยั เตา้ แคนเป็นแกน แคนมีหลายชนิด เรยี กช่ือตาม จานวนคขู่ องไมไ้ ผท่ ่ีนามาประกอบกนั ไดแ้ ก่ แคนสาม แคนส่ี แคนหา้ แคนหก แคนเจด็ แคนแปด แคนเกา้ แคนจะเจาะรูนบั ทกุ ลา ลกู แคนตดั ใหต้ อ่ ลดหล่นั ลงมาเพ่ือหาเสียงใหไ้ ดร้ ะดบั สงู ต่า การเป่าแคนจะเป่าเป็นทานองเรยี กวา่ ลายแคน นิยมใชเ้ ลน่ กบั หมอลา หมอลากลอน เป็นตน้ การเทียบเสียง แคนเป็นเครอ่ื งดนตรที ่ีมี 7 เสยี ง(ระบบไดอะโตนิค) แตน่ ิยมเลน่ เพียง 5 เสียง (เพนอะโตนิค)

โหวด เป็นเครอ่ื งเป่าท่ีทาดว้ ยลกู แคนแตไ่ มม่ ีลนิ้ โดยเอาก่แู คนประมาณ 7-12ชิน้ มาตดั ใหไ้ ดข้ นาดลดหล่นั กนั ใหป้ ลายทงั้ สองเปิดปลาย ดา้ นลา่ งใชข้ ีส้ ตู รปิดใหส้ นิท สว่ นปลายบนปิดไวส้ าหรบั รูเป่า โดยนาก่แู คนมารวมกนั เขา้ กบั แกนไมไ้ ผ่ท่ีอย่ตู รงกลาง จดั ลกู แคนลอ้ ม แกนไมไ้ ผ่ในลกั ษณะทรงกลม ตรงหวั โหวดใชข้ ีส้ ตู รก่อใหเ้ ป็นรูปกรวยแหลมเพ่ือใชเ้ ป็นฐานสาหรบั จรดฝีปากดา้ นลา่ งและใหโ้ หวด หมนุ ไดร้ อบทิศเวลาเป่า โหวดเป็นเครอ่ื งเป่าชนิดหนง่ึ ท่ีไม่มีลนิ้ เกิดจากกระแสลมท่ีเป่าผ่านไมร้ วกหรอื ไมเ้ ฮีย้ (ไมก้ ่แู คน) หรอื ไมไ้ ผ่ ดา้ นรูเปิดของตวั โหมดทา ดว้ ยไมร้ วกขนาดเลก็ สนั้ ยาว เรยี งลาดบั ตามความสงู ต่าของเสยี ง ติดรอบกระบอกไมไ้ ผท่ ่ีใชเ้ ป็นแกนกลางตดิ ไวด้ ว้ ยขีส้ ตู รมี จานวน 6-9 เลา ความยาวประมาณ 25 เซนตเิ มตร เวลาเป่าจะหมนุ ไปรอบ ๆ ตามเสยี งท่ีตอ้ งการแตเ่ ดมิ โหวดใชผ้ กู เชือก ผูเ้ ลน่ ถือ ปลายเชือกแลว้ เหว่ยี งขนึ้ ไปบนทอ้ งฟา้ ทาใหเ้ กิดเสยี งโหยหวน ภายหลงั จงึ พฒั นาไปเป็นเครอ่ื งดนตรกี ารเทียบเสียง ระบบ 5 เสยี ง

ซอกันตรึม ซอกนั ตรมึ เป็นซอท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยกนั กบั ซออู้ แตกต่างกนั เพียงตรงท่ี กะโหลกซอกนั ตรมึ จะใหญ่กวา่ ซอกนั ตรมึ ท่ีมีเสยี งสงู และมีลกั ษณะ คลา้ ยซอดว้ งจะเรยี กกนั วา่ “ซอตรวั เอก” (ตรวั แปลวา่ ซอ) แตถ่ า้ ซอกนั ตรมึ ท่ีมีระดบั เสยี งทมุ้ ต่าคลา้ ยซออู้ และกะโหลกทาดว้ ยกระลามะพรา้ ว เรยี กว่าซออเู้ หมือนกนั ซอกนั ตรมึ ทงั้ สองนี้ มีระดบั เสียงสงู กวา่ ระดบั เสยี งของซออแู้ ละซอ้ ดว้ งธรรมดา สายละ 1 เสยี งเตม็ กลา่ วคือ ทงั้ คขู่ นึ้ เสยี งตามป่ีใน กะโหลกของซอตรวั เอก ทาจากไมเ้ นือ้ แข็ง กวา้ นใหก้ ลวงโดยเหลือความหนาเฉล่ยี โดยประมาณ0.5 นิว้ ขงึ หนงั ดา้ นหนง่ึ ดว้ ยหนงั ตะกวด หรอื หนงั ลกู ววั บางๆ และมีรูสาหรบั สอดใสค่ ดั ทวน ปลายคนั คนั ทวนมีลกู บิดสองลกู สาหรบั ขึงสาย สว่ นสายนนั้ ทาดว้ ยลวดเหนียว โดยมากท่ีพบ เหน็ มกั ใชล้ วดจากสายเบรครถจกั รยาน ขนาดของซอกนั ตรมึ มกั จะไมเ่ ป็นมาตรฐานท่ีแน่นอน เพราะขนึ้ อย่กู บั ฝีมือและความพอใจของผู้ ประดษิ ฐ์

ผลการศึกษาพบว่าดนตรีและเพลงพืน้ เมืองภาคกลางสัมพนั ธ์กบั การประกอบอาชีพการทานา​การจดั งาน ประเพณพี ธิ ีกรรมในเทศกาลสาคญั และความบนั เทงิ ทว่ั ไป​อกี ท้งั ยงั มดี นตรีและเพลงทมี่ ลี ักษณะเฉพาะของ กลุ่มชาติพนั ธ์ุต่างๆ​ขณะทว่ี วิ ฒั นาการของดนตรีและเพลงพืน้ เมืองภาคกลางสัมพนั ธ์กนั การเจริญเติบโตของ อาชีพศิลปิ นพืน้ เมือง​ในการแข่งขนั สร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆ​เช่น​ลาตดั ​เพลงฉ่อย​เพลงทรงเครื่อง​เพลงอแี ซว การพฒั นาประเทศตามแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาตินบั ต้ังแต่ทศวรรษ​2500​และรสนิยม วฒั นธรรมความบนั เทงิ แบบตะวนั ตก​ทาให้ดนตรีและเพลงพืน้ เมืองค่อยๆหมดไป​วฒั นธรรมดนตรีของกลุ่ม ชาติพนั ธ์ุทเี่ ข้มแขง็ บางกลุ่ม​เช่น​กลุ่มชาติพนั ธ์ุมอญ​แม้ยงั คงสืบทอดประเพณวี ฒั นธรรมของกลุ่มต่อไปได้​ แต่กไ็ ม่เข้มแข็งพอทจี่ ะรักษาแบบแผนวฒั นธรรมเช่นทเี่ คยมีมาในอดตี

ดนตรีพืน้ เมืองอสี านใต้จาแนกเป็ น​2​กลุ่ม​ตามความแตกต่างทางวฒั นธรรม​คือ​กลุ่มวฒั นธรรมไทยโคราช​ และกลุ่มวฒั นธรรมไทยเขมร​กลุ่มวฒั นธรรมไทยโคราช​ได้แก่​วฒั นธรรมของกลุ่มคนใน​จงั หวดั นครราชสีมา​ ซ่ึงอยู่ใกล้ภาคกลางและหัวเมืองสาคญั มาแต่เดมิ ​จึงได้รับอทิ ธิพลมาจากวฒั นธรรมภาคกลาง​มกี ารละเล่น​อื่นๆ คล้ายภาคกลาง​รวมท้งั เพลงโคราชซึ่งเป็ นเอกลกั ษณ์ของวฒั นธรรมไทยโคราช​กลุ่มวฒั นธรรมเขมร​ได้แก่​ วฒั นธรรมของกลุ่มคนในจังหวดั ​สุรินทร์​บุรีรัมย์​ศรีษะเกษ​ซึ่งมกี ลุ่มคนเขมรเป็ นกลุ่มใหญ่​ทาให้วฒั นธรรม เขมรเป็ นวฒั นธรรมกระแสหลกั ​โดยเฉพาะวฒั นธรรมดนตรีทเี่ รียกว่าวฒั นธรรมกนั ตรึม การพฒั นาเส้นทาง คมนาคม​ต้ังแต่สมยั รัชกาลท​่ี 5​ทาให้วฒั นธรรมดนตรีและการแสดงจากส่วนกลางเข้าไปมอี ทิ ธิพลต่อดนตรี พืน้ เมืองอสี านใต้มากขนึ้ ​แต่ยงั คงไว้ซ่ึงวฒั นธรรมการแสดงแบบด้งั เดมิ อยู่มาก​อย่างไรกต็ ามภายหลงั จากที่ รัฐบาลใช้แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบบั ท​่ี 1​เป็ นต้นมา​วฒั นธรรมตะวนั ตกจากส่วนกลางเข้ามา แทนทวี่ ฒั นธรรมดนตรีด้งั เดมิ ทาให้ศิลปิ นปรับปรุงองค์ประกอบการแสดงดนตรีตามอย่างวงดนตรีลูกทุ่ง​เกดิ เพลงโคราชรูปแบบใหม่​ทเ่ี รียกว่า​เพลงโคราชซ่ิง และวงกนั ตรึมในรูปแบบใหม่​การสืบทอดวฒั นธรรมดนตรี พืน้ เมืองภาคกลางและภาคอสี านใต้ในปัจจุบนั ​จงึ เป็ นวฒั นธรรมทไ่ี ด้รับการยกย่องให้เป็ นเอกลกั ษณ์ของ ท้องถิน่ ซึ่งได้รับการส่งเสริมจากภาครัฐ​เพื่อการท่องเทย่ี วและเนมรดกวฒั นธรรมประจาชาติ และวฒั นธรรมท่ี ศิลปิ นสามารถคดิ สร้างสรรค์และปรังปรุงประยุกต์​สร้างความหลากหลายในรูปแบบของศิลปะเพ่ือจูงใจผู้ชมใน รูปแบบต่างๆโดยผสมผสานกบั ดนตรีตะวนั ตก​เพื่อประกอบอาชีพ​เช่น​ลาตดั ​เพลงอแี ซว เพลงโคราชกนั ตรึม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook