Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฟิสิกส์ - ไฟฟ้าสถิต (Static electricity)

ฟิสิกส์ - ไฟฟ้าสถิต (Static electricity)

Published by จิราวุฒิ ชมชื่น, 2022-03-07 12:11:03

Description: ฟิสิกส์ - ไฟฟ้าสถิต (Static electricity)

Search

Read the Text Version

หนังสือเล่มเล็ก SUBJECT ฟิสิกส์ PHYSICS

ปรากฏการณ์ธรรมชาติของไฟฟ้า ปรากฏการณ์ธรรมชาติของไฟฟ้า เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจาก ประจุไฟฟ้าซึ่งสะสมอยู่ในบริเวณใด บริเวณหนึ่ง และเกิดจาก การถ่ายโอนหรือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าบริเวณน้ันไปยัง อีกบริเวณหนึ่งในช่วงเวลาสั้น ๆ เรียกปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นว่า ปรากฏการณ์ไฟฟ้าสถิต ปรากฏการณ์ไฟฟ้าสถิตแบ่งได้ 3 ลักษณะ การดึงดูด การผลัก การเกิดประกายไฟฟ้า

ประจุไฟฟ้า ประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ ประจุบวกและประจุลบ การนำวัตถุสองชนิดมาถูกันจะเกิดอำนาจทางไฟฟ้า ทำให้สามารถดึงดูด วัตถุน้ำหนักเบาและมีขนาดเล็กได้ เรียกวัตถุทั้งสองว่า ประจุไฟฟ้า หรือ วัตถุท่ีมีประจุ ส่วนวัตถุที่ไม่มีอำนาจทางไฟฟ้าหรือหมดอำนาจ ทาง ไฟฟ้า กล่าวได้ว่า วัตถุนั้นเป็นกลาง การถ่ายโอนอิเล็กตรอนระหว่างวัตถุ

ประจุไฟฟ้า : ประจุไฟฟ้าในอะตอมวัตถุ ทฤษฎีโครงสร้างอะตอมกล่าวว่า วัตถุทุกชนิดจะประกอบด้วยอะตอมเป็นจำนวนมาก และแต่ละอะตอมประกอบด้วยอนุภาคมูลฐาน ก็คือ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า

การเหนี่ยวนำไฟฟ้า : อุปกรณ์ตรวจสอบประจุไฟฟ้า อุปกรณ์ตรวจสอบประจุไฟฟ้า เรียกว่า อิเล็กโทรสโคป (electroscope) แบ่งเป็น 2 ชนิด จานโลหะ แท่งฉนวน ก้านโลหะ ด้าย ก้านโลหะ ลูกพิท แผ่นโลหะบาง ขาตั้ง 1 2 อิเล็กโทรสโคปแผ่นโลหะ อิเล็กโทรสโคปลูกพิท แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์ : กฎของคูลอมบ์ ประจุที่กระจายอยู่บนทรงกลมตัวนำมีสภาพเป็น จุดประจุ (point charge) คูลอมบ์จึงสรุปผลการทดลองว่า “ขนาดของ แรงระหว่างจุดประจุเป็นสัดส่วนโดยตรงกับผลคูณของปริมาณประจุของจุดประจุทั้งสอง แต่เป็นสัดส่วนผกผันกับ กาลังสองของระยะห่างระหว่างจุดประจุทั้งสอง”

แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์ : แรงระหว่างจุดประจุสองจุดประจุ แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์ : แรงบนจุดประจุหนึ่งจากกลุ่มของจุดประจุ ในกรณีของจุดประจุมากกว่า 2 จุดประจุ แรงไฟฟ้าบนจุดประจุหนึ่งมีค่าเท่ากับผลบวกแบบเวกเตอร์ของแรงไฟฟ้าจากแต่ละจุดประจุบนจุดประจุนั้น

สนามไฟฟ้า สนามไฟฟ้า (electric field) บริเวณโดยรอบของวัตถุที่มีประจุ การหาสนามไฟฟ้าหรือความเข้ม ณ จุดใด ๆ ทำได้โดยนำประจุทดสอบขนาด +q ไปวางที่ตำแหน่งนั้น ถ้ามีแรงไฟฟ้ากระทำต่อประจุทดสอบแสดงว่า บริเวณนั้นมีสนามไฟฟ้า สนามไฟฟ้า : ความเข้มสนามไฟฟ้าจากจุดประจุเดี่ยว

สนามไฟฟ้า : ความเข้มสนามไฟฟ้าจากจุดประจุเดี่ยว สนามไฟฟ้า : ความเข้มสนามไฟฟ้าจากกลุ่มจุดประจุ สนามไฟฟ้ขาอขงอคงวกาลุม่มเจขุ้ดมปโสดรนยะาใจมุชจ้ไสะฟมมฟี ก้ค่าาาจรเทาด่ักงานแกีั้ตบ่ลผะลจบุดวปกรแะบจุบเวกเตอร์

สนามไฟฟ้า : ความเข้มสนามไฟฟ้าของตัวนำที่มีประจุ ควารมัศเขม้ีมaสนจึงาขมึ้นไฟอฟยู้่กาัจบารกะยปะรหะ่จาุงทั้งrหจมาดกจ qุดทศีู่นกรย์ะกจลาายงอขยอู่บงตนัวผินวำตัทวรนงำกทลรมงกลม แสดงได้ดั งภาพ เส้นสนามไฟฟ้า

สนามไฟฟ้า : จุดสะเทิน ปเมรื่อะจพุิเจไท่ฟาารฟก้ณัานทาแี่เจลสุ้ดะนนอัแ้นยรู่ใเงปกไ็ฟลน้กฟศัู้นนาขยพ์อบเงรีสวย่นากาจบุมดาไงนฟี้จว ุฟ่ด้าาไ มจจุ่าดมีกเสสป้ะนรเทแะิรจนุงบไ(วฟnกฟeส้uาอผt่งrาปaนรl ะแpจสุoทดีi่nมงีถtปึ)งริสมนาาณม ศักย์ไฟฟ้า

ศักย์ไฟฟ้า : ศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุ ศักย์ไฟฟ้าที่ตำแหน่งซึ่งอยู่ห่างเป็น ระ ยะ r จากจุดประจุ Q หาได้จาก ศักย์ไฟฟ้า : ศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุตัวนำทรงกลม ศักย์ไฟฟ้าที่จุดต่าง ๆ บริเวณภายในและภายนอกตัวนำทรงกลมที่มีประจุ

ศักย์ไฟฟ้า : ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ และสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ สนามไฟฟ้าสม่ำเสมอในบริเวณระหว่า งแผ่นโลหะคู่ขนาน หาได้จากสมการ ศักย์ไฟฟ้า : เส้นสมศักย์ เส้นสมศักย์ (equipotential line) คือ เส้นที่เชื่อมจุดต่าง ๆ ในสนามไฟฟ้า มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน เส้นสมศักย์จะตั้งฉากกับเส้นแรงไฟฟ้าเสมอ ประจุไฟฟ้าที่วาง ณ จุดต่าง ๆ บนเส้นสมศักย์เดียวกันจะมีพลังงานศักย์ ความต่างศักย์ไฟฟ้าเท่ากันเสมอ เส้นสมศักย์มีทิศตั้งฉากกับเส้นแรงไฟฟ้า เส้นสมศักย์ของประจุบวกและประจุลบ

ตัวเก็บประจุและความจุ : ตัวเก็บประจุ ตัวเก็บประจุ (capacitor) เป็นอุปกรณ์ทาง อิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วยแผ่นโลหะ ขนาน 2ไดแอิผเ่ลน็กมตี ฉรินก วเนช่คนั่นอกาลกาางศ เรียกฉนวนนี้ว่า เซรามิก ตัวเก็บประจุและความจุ : ความจุ สาคมวาารมถจคุำ(นcวaณpaหcาiไtดa้จnาcกeอ)ัตครือาสค่ววนารมะสหาวม่ าางรปถรใิมนากณารปเรก็ะบจปุบรนะตจัุวขนอำงชติั้นวนใดำชทิ้นรงหกนึล่งมกับ ความต่างศักย์ไฟฟ้าระ หว่างตัวนำทั้งสองชิ้น

ตัวเก็บประจุและความจุ : พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ ตัวเก็บประจุและความจุ : การถ่ายโอนประจุระหว่างตัวนำทรงกรม

การนำความรู้เกี่ยวกับ ไฟฟ้าสถิตไปใช้ประโยชน์ Thyoaun!k


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook