Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปบทเรียน ม.1

สรุปบทเรียน ม.1

Published by pakorntus.syw, 2021-03-27 07:57:44

Description: สรุปบทเรียน ม.1

Search

Read the Text Version

หน่วยที 2 สารบรสุทธิ สสาร (matter ) คือ สิงทมี มี วล ต้องการทอี ยูแ่ ละสามารถสัมผัสได้ หรอื อาจหมายถึงสิงต่างๆทอี ยูร่ อบตัวเรา มตี ัวตน ต้องการทอี ยู่ สมั ผสั ได้ อาจมองเห็นหรอื มอง ไมเ่ ห็นก็ได้ เชน่ อากาศ หิน เปนต้น นักวิทยาศาสตรเ์ รยี กสสารทรี ูจ้ ักว่า สาร สาร (substance ) คือ สสารทศี กึ ษาค้นคว้าจนทราบสมบัติและองค์ประกอบทแี น่นอน สมบตั ิของสารบรสิ ทุ ธิ สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสาร เชน่ เนือสาร สี กลิน รส การนําไฟฟา การละลายนา จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความเปนกรด–เบส เปนต้น แบง่ สมบัติของสารออกเปน 2 ประเภท คือ สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมี สมบัติทางกายภาพ ( physical properties ) หมายถึง สมบตั ิของ สมบัติทางเคมี ( chemical properties ) หมายถึง สมบัติที สารทสี ามารถสังเกตได้จากลักษณะภายนอก เขน่ เกยี วข้องกับการเกิดปฏิกิรยิ าเคมแี ละองค์ประกอบทางเคมขี องสาร เชน่ - สถานะ - เนือสาร - สี กลิน รส - การติดไฟ - การผุกรอ่ น - ความแข็ง - ความเหนยี - ความหนาแน่น - การทําปฏิกิรยิ ากับนา - การเผาไหม้ - จุดเดือด - จุดหลอมเหลว - การนําไฟฟา - การทําปฏิกิรยิ ากับกรด – เบส - การเกิดสนิม - การละลาย สารบรสิ ุทธิ ประกอบด้วยสารเพยี งชนิดเดยี ว เชน่ ทองคําแท่ง สารผสม ประกอบด้วยสารตังแต่ ๒ ชนิดขึนไป เชน่ ทองรูปพรรณ (ทองคํา+โลหะอืน) 1. จุดเดือดและจุดหลอมเหลว สารบรสิ ุทธิแต่ละชนิดมสี มบัติบางประการเปนค่าเฉพาะตัว เชน่ สารบรสิ ุทธิจุดเดือดและจุดหลอมเหลวคงที แต่สารผสมมจี ุดเดือดและจุดหลอมเหลวไมค่ งที ขึนอยูก่ ับชนิดและอัตราสว่ นของสารทผี สมอยูด่ ้วยกัน จุดหลอมเหฤลว จุดเดือด จุดเยือกแข็ง จุดควบแน่น จุดเดือด (boiling point) คือ อุณหภูมิทขี องเหลวเปลยี นสถานะเปนแก๊ส จุดหลอมเหลว (meling point) คือ อุณหภูมิทขี องเเข็งเปลยี นสถานะเปนของเหลว 2. ความหนาแน่น ความหนาแน่น (Density) เปนปรมิ าณแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมวลของสารในหน่วยกรมั กับปรมิ าตรของสารใน 1 ลกู บาศก์เซนติเมตร หรอื มวลของสารใน หน่วยกิโลกรมั กับปรมิ าตรของสารใน 1 ลูกบาศก์เมตร ความหนาแน่นของสาร = มวล (g) หรอื มวล (kg) ปรมิ าตร (m3) ปรมิ าตร (cm3) หน่วยความหนาแน่น คือ กรมั ต่อลูกบาศก์เซนติเมตร หรอื กิโลกรมั ต่อลูกบาศก์เมตร สารบรสิ ุทธิแต่ละชนิดมคี วามหนาแน่น หรอื มวลต่อหนึงหน่วยปรมิ าตรคงที เปนค่าเฉพาะของสารนัน ณ สถานะและอุณหภูมิหนึง แต่สารผสมมคี วามหนาแน่นไม่ คงทขี ึนอยูก่ ับชนิดและสัดสว่ นของสารทผี สมอยูด่ ้วยกัน * สารบรสิ ุทธิจะมคี วามหนาแน่นคงที แต่สารผสมมคี วามหนาแน่นไม่คงที หากสสารนันมปี รมิ าตรเท่ากัน สสารทมี คี วามหนาแน่นมากกว่ายอ่ มมมี วลมากกว่า ซึงความหนาแน่นนกี ็เปนปจจัยหนึงที ทําให้เกิดการลอยหรอื จมของวัตถุด้วย โดยวัตถุทมี คี วามหนาแน่นน้อยมแี นวโน้มจะลอยอยูบ่ นวัตถุทมี คี วามหนาแน่นมากกว่า ** สารทมี คี วามหนาแน่นมากจะอยู่ด้านล่าง ส่วนสารทมี คี วามหนาแน่นจะลอยอยูด่ ้านบน รายวิชาพนื ฐานวิทยาศาสตร์ ชนั มธั ยมศกึ ษาปที 1 เล่ม 1

การจําแนกและองค์ประกอบของสารบรสิ ทุ ธิ สารบรสิ ุทธิประกอบด้วยสารเพยี งชนิดเดยี ว สามารถจําแนกออกเปนธาตุและสารประกอบ สารบรสิ ุทธิ ธาตุ สารประกอบ ธาตุประกอบด้วยอะตอมเพยี งชนิดเดยี ว และไมส่ ามารถ สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุตังแต่ 2 ชนิดขึนไป แยกสลายเปนสารอืนได้ด้วยวิธที างเคมี ธาตุเขยี นแทนด้วย รวมตัวกันทางเคมใี นอัตราสว่ นคงที มสี มบัติแตกต่างจากธาตุทเี ปน สัญลักษณ์ธาตุ เชน่ องค์ประกอบ สามารถแยกเปนธาตุได้ด้วยวิธที างเคมี สารประกอบ สามารถเขยี นแทนได้ด้วยสูตรเคมี เชน่ H He Li C B O2 N2 I4 S8 H2O NaCl NH3 CO2 C H O6 12 6 โครงสรา้ งอะตอม อะตอม คือ หน่วยยอ่ ยที โปรตอน มปี ระจุบวก เล็กทสี ุดของธาตุทแี สดงสมบัติ นิวตรอน เปนกลางทางไฟฟา ของธาตุนัน อิเล็กตรอน มปี ระจุลบ นิวเคลยี สประกอบด้วย โปรตอน และนิวตรอน ซึงกระจุกตัวรวมกัน หนาแน่น อิเล็กตรอนเคลือนทไี ด้ และอยูร่ อบนิวเคลยี ส การจําแนกธาตแุ ละการใชป้ ระโยชน์ ธาตุโลหะ (metal) ธาตุอโลหะ (non-metal) - นําไฟฟาและนําความ ธาตุกึงโลหะ - นําไฟฟาและนําความ รอ้ นได้ดี (metalloid) รอ้ นไมด่ ี - จุดเดือดและ - จุดเดือดและ จุดหลอมเหลวสูง สมบัติบางอยา่ ง จุดหลอมเหลวตา - แข็ง เหนยี ว ยืดเปนเส้น ตี เหมือนโลหะ - เปราะ แตกหักง่าย เปนแผน่ ได้ - พืนผิวไมม่ ันวาว - พืนผิวมันวาว บางอยา่ งเหมือน - พบทัง 3 สถานะ - สถานะของแข็งทังหมด อโลหะ ของแข็ง ของเหลว และ ยกเว้น ปรอทเปนของเหลว แก๊ส ธาตุกัมมันตรงั สี ธาตุกัมมันตรงั สี (radioactive element) คือ ธาตทุ สี ามารถแผร่ งั สไี ด้ และการทธี าตแุ ผร่ งั สอี อกมาอยา่ งต่อเนือง เรยี กว่า กัมมันตภาพรงั สี (radioactivity) เชน่ ยูเรเนยี ม เรดอน พอโลเนยี ม การแพทย์ การเกษตร อุตสาหกรรม โบราณคดี รกั ษาโรคมะเรง็ การฉายรงั สอี าหารเพอื การตรวจสอบรอยรา้ วในโลหะ การคํานวณหาอายุของโบราณวัตถุ การเอ็กซเรย์ ทําลายแบคทเี รยี หรอื การฉายรงั สอี ัญมณี หรอื อายุของฟอสซลิ จุลินทรยี ์ รายวิชาพนื ฐานวิทยาศาสตร์ ชนั มธั ยมศกึ ษาปที 1 เล่ม 1

หน่วยที 3 หน่วยพืนฐานของสิงมีชีวต เซลล์ เซลล์ (cell) คือ หน่วยพืนฐานทเี ล็กทสี ุดของสิงมชี วี ิต ทแี สดงสมบัติของการมชี วี ิต การศกึ ษาเซลล์เบืองต้นใช้เครอื งมือทเี รยี กว่า กล้องจุลทรรศน์ (microscope) ซึงชว่ ยขยายขนาดของวัตถุขนาดเล็กได้หลายเท่า สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสาร เชน่ เนือสาร สี กลิน รส การนําไฟฟา การละลายนา จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความเปนกรด–เบส เปนต้น แบง่ สมบัติของสารออกเปน 2 ประเภท คือ รายวิชาพนื ฐานวิทยาศาสตร์ ชนั มธั ยมศกึ ษาปที 1 เล่ม 1

หน่วยที 4 การดํารงชีวตของพืช การสบื พนั ธุ์แบบอาศยั เพศของพชื ดอก ดอก : เปนอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอก ในการสืบพันธุ์แบบอาศยั เพศ เกสรเพศเมยี เกสรเพศผู้ กลบี ดอก รงั ไข่ กลบี เลียง ออวุล ฐานรองดอก ส่วนประกอบของดอกไม้ ดอกไม้ มสี ว่ นประกอบ 4 สว่ น ได้แก่ 1. กลบี เลยี ง (Sepal) : เปนสว่ นทอี ยูน่ อกสุด มสี เี ขยี ว เปลยี นแปลงมาจากใบ ทําหน้าทปี องกันอันตรายใหแ้ ก่ดอกทยี ังตูม 2. กลบี ดอก (Petal) : เปนสว่ นทอี ยูถ่ ัดจากกลบี เลยี งเข้าไปมักมสี สี ันสวยงาม มกี ลินหอม หรอื มตี ่อมนาหวานบรเิ วณโคนกลบี ดอก ทําหน้าทลี ่อแมลงใหม้ า ชว่ ยผสมเกสร 3. เกสรเพศผู้ (Stamen) : อยูถ่ ัดจากกลบี ดอกเข้าไป ทําหน้าทสี รา้ งเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ มสี ว่ นประกอบสําคัญ ดังนี - อับเรณู (anther) : ภายในอับเรณูจะมถี ุงละอองเรณู ภายในถุงบรรจุละอองเรณู (pollen) ไว้จํานวนมาก - ก้านชูอับเรณู (filament) : ทําหน้าทชี ูอับเรณูให้สูงขึนเพือประโยชน์ในการผสมพันธุ์ 4. เกสรเพศเมยี (pistil) : เปนสว่ นทอี ยูใ่ นสุด ทําหน้าทสี รา้ งเซลล์สืบพันธุ์เพศเมยี หรอื เซลล์ไข่ มสี ว่ นประกอบสาํ คัญ ดังนี - ยอดเกสรเพศเมยี (stigma) : มขี นเล็กๆ และนาหวานเหนยี ว ๆ เพือดักจับละอองเรณู และนาหวานชว่ ยในการงอกหลอดเรณู - ก้านชูเกสรเพศเมยี (style) ทําหน้าทชี ูยอดเกสรเพศเมยี ให้อยูส่ ูง เพือประโยชน์ในการผสมเกสร - รงั ไข่ (ovary) ภายในรงั ไขอ่ าจมี 1 ออวุลหรอื หลายออวุลภายในออวุลจะมัเซลล์ไข่ เพอื ใช้ในการปฏิสนธิ กระบวนการสืบพันธุ์ของพืชดอก การถ่ายละอองเรณู (Pollination) การเคลือนย้ายละอองเรณจู ากอบั เรณูไปยังยอดเกสรเพศเมีย เพือใหเ้ ซลลส์ ืบพันธ์ุเพศผมู้ โี อกาสไปผสมกบั เซลลส์ บื พันธ์ุเพศเมีย ตัวกลางในการชว่ ยใหเ้ กดิ การะถ่ายละอองเรณู เชน่ แมลง สตั ว์ ลม นํา ฯลฯ การถ่ายละอองเรณู การปฏิสนธิ หลอดเรณู สเปรม์ (sperm) ตัวที 2 สเปร์ม (sperm) ตวั ที 1 ละอองเรณู เซลล์กลาง (polar nuclei) เซลลไ์ ข่ (egg cell) การปฏิสนธิ (Fertilization) ภายในเรณมู ีเซลล์สบื พันธเุ์ พศผู้ หรอื สเปรม์ (sperm) จาํ นวน 2 เซลล์ และมที ิวบ์นิวเคลยี ส (tube nucleus) 1 เซลล์ สร้างหลอดเรณูไปยังรังไข่ ภายในออวุลมีถงุ เอ็มบรโิ อซงึ มเี ซลลก์ ลาง หรือโพลารน์ วิ คลีไอ (polar nuclei) ซึงมี 2 นวิ เคลียสอยูต่ รงกลาง และมีเซลล์ไข่ (egg cell) การปฏิสนธิในพืชดอกจะเกิดการปฏสิ นธิ 2 ครงั เรียกว่า การปฏิสนธิซอ้ น (double fertilization) โดยเกดิ การรวมกันของเซลล์สบื พนั ธ์ุ ดงั นี สเปร์มตวั ที 1 (sperm 1) + เซลลไ์ ข่ (egg cell) ไซโกต (zygote) ตน้ ออ่ น (Embryo) สเปร์มตัวที 2 (sperm 2) + เซลลก์ ลาง (polar nuclei) เอนโดสเปร์ม (endosperm) หลังการปฏสิ นธิ กลีบเลยี ง กลีบดอก จะร่วงโรยไป รงั ไข่จะเจริญไปเปนผล ออวุลจะพัฒนาไปเปนเมล็ด (seed) รายวิชาพนื ฐานวิทยาศาสตร์ ชนั มธั ยมศกึ ษาปที 1 เล่ม 1

เมล็ด (Seed) การเคลอื นยา้ ยละอองเรณจู ากอบั เรณไู ปยงั ยอดเกสรเพศเมีย เพือให้เซลลส์ บื พนั ธ์เุ พศผู้มโี อกาสไปผสมกบั เซลล์สบื พันธ์เุ พศเมีย ตัวกลางในการช่วยใหเ้ กดิ การะถา่ ยละอองเรณู เช่น แมลง สตั ว์ ลม นํา ฯลฯ เปลือกหมุ้ เมลด็ เยอื หุ้มเมลด็ เอนโดสเปรม์ ไฮลมั ต้นอ่อน เอนโดสเปร์ม ลาํ ต้น เปลือกหุ้มเมลด็ เอม็ บรโิ อ สว่ นของใบเลยี ง ใบทแี ทจ้ ริง ต้นออ่ น เปลือกห้มุ เมล็ด ราก ใบเลยี ง

หน่วยที 5 พลังงานความร้อน เซลล์ เซลล์ (cell) คือ หน่วยพืนฐานทเี ล็กทสี ุดของสิงมชี วี ิต ทแี สดงสมบัติของการมชี วี ิต การศกึ ษาเซลล์เบืองต้นใช้เครอื งมือทเี รยี กว่า กล้องจุลทรรศน์ (microscope) ซึงชว่ ยขยายขนาดของวัตถขุ นาดเล็กได้หลายเท่า สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสาร เชน่ เนือสาร สี กลิน รส การนําไฟฟา การละลายนา จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความเปนกรด–เบส เปนต้น แบง่ สมบัติของสารออกเปน 2 ประเภท คือ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook