Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore KM อุตรดิตถ์

KM อุตรดิตถ์

Published by Nirut46631, 2020-08-31 08:55:36

Description: KM อุตรดิตถ์

Search

Read the Text Version

แบบบันทึกองคค์ วามร้รู ายบุคคล ภายใตก้ ารดาเนินงานโครงการ “วาระชุมชน : 1 พฒั นากร 1 หมู่บ้านชมุ ชนต้นแบบ” 1. ชอื่ องค์ความรู้ การสรา้ งเครือขา่ ยผลิตภณั ฑ์ OTOP และเกษตรปลอดภยั ต้นแบบ หมบู่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียงบา้ นรอ้ งลึก หมทู่ ี่ 6 ตาบลผกั ขวง อาเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดติ ถ์ 2. ช่ือเจา้ ขององค์ความรู้ นางสาวมกุ ขะรนิ ทร์ พทุ โธสาวะโก นักวิชาการพฒั นาการพัฒนาชุมชน สงั กัดสานักงานพัฒนาชมุ ชนอาเภอทองแสนขัน จังหวดั อตุ รดิตถ์ 3. ที่มาและความสาคัญของปัญหา การดาเนนิ งานพัฒนาหมูบ่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียงต้นแบบ เป็นการสนบั สนุนส่งเสรมิ ให้หมบู่ ้าน/ชมุ ชน มีผนู้ า ท่ีสามารถบริหารจดั การไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ มีครวั เรอื นพฒั นาทนี่ าเอาศาสตร์ความรู้และคณุ ธรรมใชใ้ นการบริหารจดั การ ชวี ติ อย่างมีระบบ มีการช่วยเหลือเก้อื กูลซง่ึ กันและกัน พัฒนาคณุ ภาพชีวติ อยู่ไดอ้ ยา่ งมีความสุขและสามารถพง่ึ ตนเองได้ แต่ ปัจจัยภายนอกก็สง่ ผลกระทบตอ่ การใช้ชวี ิตในปจั จุบัน ท้งั จากปัญหาด้านเศรษฐกิจ สงั คม การขาดแคลนน้าใช้และนา้ เพอ่ื การเกษตร ปญั หาภยั แล้ง และปัญหาโรคระบาด ซ่งึ ส่งผลตอ่ หลายครอบครวั ทง้ั เรื่องการไม่มีอาชีพ ผลผลิตราคาตกต่า รายได้ ลดลง ปัญหาหน้สี นิ และปญั หาสุขภาพ ดังนั้นเพ่ือทจ่ี ะทาใหค้ นในหมบู่ า้ น/ชุมชนสามารถผ่านวกิ ฤติเหล่านีไ้ ปได้ จึงตอ้ งรวม พลังกนั ของคนในชุมชนในการแกไ้ ขปัญหาและสร้างเครือข่ายที่แข็งแกรง่ เพื่อมอี านาจต่อรองในทอ้ งตลาด 4. วธิ ีการ/ข้นั ตอนการดาเนินงาน ๔.๑ ประชมุ ชแี้ จง ผนู้ าชมุ ชน กลุม่ องค์กรต่าง ๆ ครอบครัวพัฒนา และเครอื ขา่ ยภาคกี ารพัฒนา ๔.๒ จดั ทาแผนปฏิบตั ิการ ๔.๓ ดาเนนิ การตามแผนปฏบิ ตั กิ าร -จดั กจิ กรรมในการสร้างเครือขา่ ยผลติ ภัณฑ์ OTOP ในหมบู่ า้ นชุมชนหรอื ในระดบั ตาบล อาเภอ -จัดกจิ กรรมการแลกเปลี่ยนรเู้ ทคนิคในการเพ่มิ ผลผลติ และทาให้ผลผลิตทางเกษตรปลอดภัย -จดั กจิ กรรมการเรียนรู้การบรหิ ารจัดการน้าและพน้ื ทตี่ ามหลักเกษตรทฤษฎใี หม่ ประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ๔.๔. ตดิ ตามการดาเนนิ งาน ใหค้ าแนะนา ข้อเสนอแนะในทกุ กจิ กรรม ๔.๕.ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ๔.๖ สรุปผลการดาเนนิ งาน ประเมินผล ถอดบทเรียน และวิเคราะหผ์ ลการดาเนนิ งาน 5. ผลลพั ธ์ 5.1 เทคนิคทใ่ี ช้ -กระบวนการมีส่วนรว่ มของชมุ ชนและบูรณการการทางาน -การศกึ ษาหาความรู้/องค์ความรู้ -การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ ใช้ชาวบา้ นสอนชาวบา้ น 5.2 ขอ้ พงึ ระวงั -เจา้ หนา้ ท่ตี อ้ งมคี วามรู้ด้านนอี้ ย่างถ่องแท้ -การกาหนดระยะเวลาในติดตาม/การจดั ทาตวั ช้วี ดั กิจกรรมให้ชัดเจน/ระยะเวลาการดาเนินงานทเ่ี หมาะสม 5.3 ปัจจยั แหง่ ความสาเร็จ 5.๑. การสร้างทมี งานเป็นสิ่งสาคัญมากในการทางานให้ประสบผลสาเรจ็ เพราะการทางานพฒั นาชุมชนเป็นงานท่ีใช้ หลัก “การมีสว่ นรว่ ม” ในทกุ ระดับภาคสว่ นท้ังจากภาครัฐ องค์กรภาคประชาชน เชน่ สานกั งานเกษตรอาเภอ ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล ชมรมอาสาพัฒนาชุมชน คณะกรรมการพัฒนา สตรอี าเภอ ศนู ย์ประสานงานองค์การชมุ ชนอาเภอ

5.๒. การประสานงาน เป็นการบรู ณาการทางานร่วมกบั ผนู้ าชุมชน แกนนากลมุ่ องคก์ รชุมชนแกนนากลมุ่ องคก์ ร เครอื ขา่ ย ทมี งานภาคกี ารพัฒนาระดับตาบล/อาเภอ เพื่อคน้ หาข้อมูล รวบรวมผลงานของกลุ่มองคก์ รต่าง ๆ จัดทาเอกสาร ความรูใ้ นการขยายผลสู่หมูบ่ ้านอ่นื 5.3. ผูน้ าชุมชนมีศักยภาพและมภี าวะผู้นา เสยี สละ มกี ารบริหารจัดการหมู่บ้านท่ีดปี ระกอบด้วยผูใ้ หญบ่ ้าน สมาชิก อบต. ประธานคณะกรรมการพัฒนาสตรี(กพสม.) ประธานกลุ่มองค์กร ตวั แทนครัวเรือนพัฒนา ๓๐ ครวั เรือนและประชาชน โดยทุกคนตอ้ งมองไปยงั จุดมงุ่ หมายเดียวกันในการพึ่งตนเองและสรา้ งความเขม้ แข็งในการรวมตวั กนั สร้างเปน็ เครอื ข่ายใน การทาผลผลิตทางการเกษตรทป่ี ลอดภยั และผลติ ภณั ฑ์ OTOP ทีเ่ ปน็ ที่ยอมรับ 5.4 ปญั หาและวธิ ีการแกไ้ ข การดาเนนิ งานดาเนินการในรูปแบบกลุ่ม และขยายเป็นเครือข่ายต้องอาศัยความร่วมมอื จากทุกภาคสว่ น และตอ้ งมี การดาเนินการอย่างต่อเนื่อง ไมเ่ ห็นแก่ประโยชนส์ ว่ นตวั และอาจจะใหเ้ วลานานกวา่ ท่ีเครือขา่ ยของหมู่บ้านชมุ ชนจะเข้มแข็ง พัฒนากรและภาคกี ารพฒั นาจงึ ตอ้ งมัน่ ให้กาลังใจและใหค้ าแนะนาเพ่ือให้การดาเนินการนั้นยังเป็นไปอย่างต่อเน่อื ง 5.5 กจิ กรรมท่ปี ระสบผลสาเร็จในหมู่บ้าน (3 กจิ กรรม) ๑) กจิ กรรมการเรยี นรู้การบรหิ ารจัดการน้าและพ้ืนที่ตามหลักเกษตรทฤษฎใี หม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ๒) กจิ กรรมการแลกเปล่ียนรเู้ ทคนคิ ในการเพิ่มผลผลติ และทาให้ผลผลิตทางเกษตรปลอดภัย ๓) จดั กจิ กรรมในการสรา้ งเครือข่ายผลติ ภัณฑ์ OTOP ในหมบู่ ้านชมุ ชน

ภาพถ่ายกจิ กรรมที่ดาเนินการ (อย่างน้อย 6 ภาพ พรอ้ มคาอธิบายใตภ้ าพ) กิจกรรมการเรยี นรู้ตามหลกั เกษตรทฤษฎใี หม่ ประยกุ ต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” กิจกรรมการแลกเปลี่ยนรู้เทคนคิ ในการเพม่ิ ผลผลิตและทาให้ผลผลติ ทางเกษตรปลอดภยั จัดกจิ กรรมในการสร้างเครอื ขา่ ยผลติ ภัณฑ์ OTOP ในหม่บู ้านชุมชน



แบบบันทึกองค์ความรรู้ ายบุคคล ภายใต้การดาเนินงานโครงการ “วาระชมุ ชน : 1 พัฒนากร 1 หมู่บ้านชุมชนตน้ แบบ” 1. ชือ่ องค์ความรู้………สง่ เสรมิ การปลูกพืชผักสวนครวั ……………………………………… (ระบุหม่บู า้ นทด่ี าเนนิ การ)……หมทู่ ี่ ๗ ตาบลขอ่ ยสงู อาเภอตรอน จังหวัดอุตรดติ ถ์ 2. ชื่อเจา้ ขององคค์ วามรู้ (ชือ่ -สกุล/ตาแหนง่ /สงั กดั ).....นางทพิ ย์วรรณ เหล็กจันทร์..... 3. ทม่ี าและความสาคัญของปญั หา ปญั หาความยากจนเปน็ ปญั หาระดบั ชาติ ทีย่ งั ไม่สามารถแก้ไขให้หมดไปได้ ทุกวันน้ปี ระชาชนมีความเดือดรอ้ น ในการดนิ้ รนหาเงนิ มาใชจ้ ่ายในชวี ิตประจาวนั ซง่ึ จาเปน็ ต้องกินต้องใช้ แต่ในความเปน็ จรงิ เราไมส่ ามารถจะหาเงนิ ใหไ้ ด้มาก พอทีจ่ ะมาใช้ชวี ิตอย่างปกติสขุ ได้ สาหรับคนท่มี รี ายไดน้ อ้ ยความเดอื ดรอ้ นย่อมมมี าก จะรอให้รฐั บาลมาชว่ ยกค็ งชว่ ยไดไ้ ม่ มาก เพราะประเทศไทยยงั มีคนทยี่ ากจนอยเู่ ยอะกว่าคนม่งั มี ดงั นัน้ การน้อมนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยการพึง่ พาตนเอง คือ ทาการเกษตรกรรม ทีท่ ากันมา ต้งั แต่บรรพบรุ ุษ แบบทาเอง กินเอง ใชเ้ อง เหลือกข็ าย จงึ เป็นแนวคดิ ทย่ี ังใช้ได้อยตู่ ลอด ตราบใดทเี่ รายงั ไมม่ ีอาชพี ที่ แน่นอน ยั่งยืนและรายไดห้ ลกั ที่มากพอ เราจะเอารายได้มาจากไหน เพอ่ื มาใชจ้ ่ายในการซ้ือพชื ผกั ท่ีตลาดมาทาเป็นอาหาร กนิ กันเองในครอบครัว หากเราปลูกกินเอง จะเป็นการลดรายจา่ ยอีกวิธหี นงึ่ 4. วธิ ีการ/ขั้นตอนการดาเนนิ งาน ..1.. ..จัดหาวสั ดุ อุปกรณ์ ที่จะดาเนนิ การ 2....คัดเลือกสถานที่จะดาเนนิ การ 3... คดั เลอื กกลุม่ กล่มุ เปา้ หมายท่จี ะได้รบั การสนับสนนุ ใหด้ าเนนิ การ 4....ประชุมกลุ่มเป้าหมายให้ดีก่อนที่จะดาเนินการเพ่ือลดความเสีย่ งของการลม้ เหลว 5. นาเสนอผลสาเรจ็ ของการทากจิ กรรม เชน่ วีดีทศั น์ ศกึ ษาดงู าน 6 สาธติ วิธีการปฏิบัติแบบเป็นรปู ธรรม (ปฏิบัตจิ ริง) 7 ตดิ ตามการปฏิบตั กิ ิจกรรมของกลุ่มเป้าหมายสมา่ เสมอ 8. คดั เลือกเป็นตัวอยา่ ง เผยแพรผ่ ลงาน 5. ผลลัพธ์ 5.1 เทคนคิ ที่ใช้ -..หลกั การมีสว่ นร่วม - หลักการบริหารจัดการกลมุ่ 5 ก . 5.2ข้อพงึ ระวงั - กลมุ่ เปา้ หมายไมป่ ฎบิ ัติจรงิ จัง เพราะไม่มกี ฎกติกา หรอื ขอ้ บงั คับ - การละเลย ไมม่ ีสจั จะกบั ตัวเอง และขึ้นอย่กู ับนิสัยของแตล่ ะคน - สภาพดนิ ฟ้า อากาศ (แหง้ แลง้ , นา้ ท่วม) 5.3ปัจจัยแห่งความสาเร็จ ...-..การกากับดูแล ตดิ ตามผ้ทู ไี่ ดร้ ับสนบั สนนุ ฯ ไปดาเนนิ การอย่างตอ่ เนือ่ ง ใกล้ชิด .........................- การยกย่องชมเชย เผยแพร่ผลงานของผ้ทู าแล้วประสบความสาเรจ็ ............................................................ ....................................................................................................................................................................................................

5.4 ปญั หาและวธิ ีการแกไ้ ข...............-..ข้ออ้างว่าไมม่ เี วลา.. .......(ไมส่ ามารถแก้ไขได)้ ................................................... .............................................................-.ปลกู แลว้ ขาดการดแู ล... .(ไมส่ ามารถแก้ไขได)้ ................................................... ............................................................- ขาดความรู้ วธิ กี ารดแู ล (หาขัอมูลจากแหล่งความรู้ไดม้ าก เชน่ ทางไลน์ ทางกลู เกิล 5.5กิจกรรมที่ประสบผลสาเรจ็ ในหมู่บ้าน (3 กิจกรรม) 1) ...ปลกู พืชผกั สวนครัว มี ครัวเรือนตวั อยา่ งการปลูกพชื ผักสวนครวั ในหมบู่ า้ น....................................................... 2) ...จดั ต้งั กลมุ่ ปลูกพืชผักสวนครวั ........................................................................................................................... 3) ........................................................................................................................................................ ภาพถ่ายกจิ กรรมทีด่ าเนินการ (อยา่ งน้อย 6 ภาพ พร้อมคาอธิบายใต้ภาพ) วสั ดอุ ุปกรณใ์ นการดาเนนิ การ คัดเลือกพ้นื ทจ่ี ะดาเนนิ การ

คัดเลอื กกลุม่ เป้าหมายทีส่ นใจจรงิ จัง ประชุมกลุม่ เป้าหมายให้ดีก่อนทีจ่ ะดาเนนิ การ นาเสนอผลสาเรจ็ การทากิจกรรม สาธิตการปฏิบตั จิ รงิ ตดิ ตามผลการปฏบิ ัตอิ ย่างสมา่ เสมอ คดั เลอื กเป็นตัวอย่างทด่ี ี

แบบบันทึกองคค์ วามรู้รายบคุ คล ภายใต้การดาเนนิ งานโครงการ “วาระชมุ ชน : 1 พัฒนากร 1 หมบู่ า้ นชมุ ชนต้นแบบ” 1. ชือ่ องค์ความรู้ การพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานราก สู่หมู่บา้ นพัฒนาอย่างยงั่ ยืน 2. ชอื่ เจา้ ของความรู้ นางลดั ดาวัลย์ ฟองดา ตาแหน่ง นักวชิ าการพัฒนาชุมชนชานาญการ ๓. ท่มี าและความสาคัญของปญั หา ตามวิสยั ทศั นก์ รมการพัฒนาชมุ ชน “เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคง และชมุ ชนพงึ่ ตนเองได้ ภายในปี 2565” นนั้ กรมการพัฒนาชุมชน ไดม้ ุ่งขับเคล่ือนกิจกรรมตามประเด็นยุทธศาสตร์ ทั้ง 4 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ ไปสู่การปฏิบัตใิ ห้เกิด ประโยชน์ ต่อประชาชนอย่างแทจ้ ริง บ้านวังผาชัน หมทู่ ี่ 6 ตาบลน้าไคร้ อาเภอน้าปาดฯ เป็นหมบู่ ้านขนาดกลาง จานวน 139 ครัวเรือน ประชากร 457 คน ได้รบั การส่งเสรมิ และกระบวนการพฒั นาตามกิจกรรมตา่ งๆ เช่น โครงการแก้ไขปญั หาความยากจน (กข.คจ.) มี กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต ตามแนวทางกรมฯ จานวน 3 กลุ่ม เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหมู่บ้านสัมมาชีพชุมชน เป็นหมู่บา้ นที่สตรรี วมตัวกันจัดต้ังกลุ่มอาชีพได้รับการส่งเสริมและพัฒนาผลติ ภัณฑ์ OTOP คัดสรรได้ระดับ 5 ดาว เปน็ หมู่บ้าน ที่ผคู้ นในชุมชน มีความรัก ความสามคั คี มีคณุ ธรรม เอ้ืออารี ดูแลช่วยเหลือจดั สวัสดิการชมุ ชนให้แกผ่ ู้ดอ้ ยโอกาส ปฏิบัตศิ าสนกิจ เป็นเนืองนิตย์ มกี ารพัฒนา/ปรับภูมิทศั น์บริเวณหม่บู ้านให้น่าอยู่ มีแผนชุมชนเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาหมู่บา้ น บนพ้นื ฐานข้อมูล/ สารสนเทศ เช่น ข้อมลู จปฐ กชช.2ค และข้อมูลอ่ืนๆ ๔. วธิ กี าร/ขัน้ ตอนการดาเนินงาน ๔.๑ ประชุมชแี้ จงใหป้ ระชาชน สมาชิกกล่มุ ตา่ งๆ ผู้นาชมุ ชน กลุม่ /องค์กร เพื่อสรา้ งการรับรู้ในการดาเนนิ โครงการฯ ๔.๒ ทบทวนกฎ ระเบียบทเ่ี ก่ียวขอ้ ง แนวทางปฏิบัติ/การดาเนินงานของกิจกรรมพฒั นาชมุ ชนแตล่ ะกจิ กรรม 4.3 คัดเลอื กคณะทางาน/ชุดปฏบิ ัติการ การพฒั นาหม่บู า้ น(มาจากทุกกลุม่ /องคก์ ร) 4.4 จดั ทาแผนปฏิบัติการ โดยมุง่ เนน้ ให้แต่ละกิจกรรมสามารถเปน็ ต้นแบบในการพัฒนาแกห่ มบู่ า้ น/ชมุ ชนใกลเ้ คียง ๔.5 ดาเนนิ การตามแผนปฏิบัตกิ ารเพ่ือขบั เคล่ือนการดาเนนิ งานการพฒั นาชมุ ชน ๔.6. ติดตามการดาเนนิ งาน ใหค้ าแนะนา ข้อเสนอแนะในทุกกิจกรรม ๔.7.ประชาสมั พนั ธ์ เผยแพร่ ๔.8 สรุปผลการดาเนินงาน ประเมินผล ถอดบทเรยี น และวิเคราะหผ์ ลการดาเนินงาน ๕. ผลลพั ธ์ ๕.๑ เทคนิคที่ใช้ -กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนและบูรณการการทางาน -การศึกษาหาความรู้/องค์ความรู้ -การยกยอ่ ง เชดิ ชผู ลงานท่ีประสบผลสาเรจ็ ๕.๒ ขอ้ พึงระวงั -การกาหนดระยะเวลาในติดตาม/การจัดทาตัวชีว้ ัดกิจกรรมให้ชัดเจน/ระยะเวลาการดาเนินงานทเ่ี หมาะสม ๕.๓ ปัจจยั แหง่ ความสาเร็จ -คนในชมุ ชน/ชุดปฏิบตั ิการ/ทีมงาน -คู่มือ สอื่ เอกสาร ระเบียบ แนวทางการดาเนินงานของแตล่ ะกิจกรรม ๕.๔ ปญั หาและวธิ ีการแก้ไข ขาดสถานที/่ ศนู ย์ปฏิบตั ิการทจี่ ะแสดงผลงาน แนวทางแกไ้ ขคอื ใชส้ ถานที่วดั หรือทีท่ าการกลมุ่ ใด กลมุ่ หนงึ่ ไปพลางกอ่ น ๕.๕ กิจกรรมทปี่ ระสบผลสาเร็จในหมู่บ้าน (3 กิจกรรม) 4.5.1 การจัดตงั้ ศูนย์จัดการกองทนุ ชุมชน (มคี ณะกรรมการบริหารศนู ย์ฯ 1 คณะ ดาเนินการสารวจขอ้ มลู กองทนุ ชมุ ชน และลกู หน้ีทง้ั หมด นาไปสู่การบริหารหน้ี 1 ครัวเรอื น 1 สญั ญา เพ่อื ลดปัญหาหนี้ซ้าซอ้ น หนี้นอกระบบ และลดหน้คี รวั เรอื น) 4.5.2 การดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตตามหลกั ธรรมาภิบาล (ยุบรวมกลุ่มออมทรัพยเ์ พือ่ การผลิต เพ่ือง่าย ในการบริหารจดั การเหลอื เพยี ง 1 กลุ่ม) 4.5.3 เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ครัวเรือนมีภูมิคุ้มกันที่ดี น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใ น ชีวิตประจาวัน ประกอบอาชีพโดยสมั มาชีพชมุ ชน ครัวเรอื นพ่ึงตนเองได้ ……………………………………………………………………. ภาพถา่ ยกจิ กรรมท่ดี าเนนิ การ

(อย่างน้อย 6 ภาพ พร้อมคาอธบิ ายใตภ้ าพ) ประชุมสร้างการรบั ร้/ู คัดเลอื กชุดปฏิบตั ิการ ชดุ ปฏิบัตกิ าร/ทมี งาน ผลิตภัณฑ์ชุมชน เข้าคัดสรรไดร้ ะดบั 5 ดาว

แบบบนั ทกึ องค์ความรู้รายบุคคล ภายใตก้ ารดาเนินงานโครงการ “วาระชมุ ชน : 1 พัฒนากร 1 หมู่บ้านชมุ ชนต้นแบบ” 1. ช่ือองคค์ วามรู้ เทคนคิ การสรา้ งกลุ่มอาชีพในหมู่บ้านบา้ นสมั มาชีพชมุ ชน บา้ นพงสะตือ หมู่ท่ี ๖ ตาบลบ้านแก่ง อาเภอตรอน จังหวัดอตุ รดิตถ์ 2. ช่ือเจา้ ขององค์ความรู้ นางสาวณฐมน วงษแ์ ก้ว เจ้าพนักงานพัฒนาชุมชนชานาญงาน สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอตรอน จังหวัดอุตรดติ ถ์ 3. ท่มี าและความสาคัญของปญั หา บ้านพงสะตอื หม่ทู ่ี ๖ ตาบลบา้ นแกง่ อาเภอตรอน จังหวัดอุตรดติ ถ์ มีจานวน ๑๙๓ ครวั เรือน ประชากร จานวน ๖๐๖ คน (ข้อมลู จปฐ.ปี ๒๖๕๒) ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกรรม ทานา ปลกู หอม กระเทยี ม ราคาผลผลติ ผนั ผวนกับการตลาด จากการวิเคราะห์ปญั หาคุณภาพชวี ติ ของหมู่บา้ นด้วยโปรแกรม CIA Program ทาใหท้ ราบวา่ หมู่บา้ น มีสภาพปญั หาด้านความยากจน มีคา่ คะแนน ค่าคะแนน ๑.๖๗ ดังนน้ั สง่ิ สาคัญท่ตี อ้ งดาเนนิ การในการแก้ปญั หาดังกลา่ ว คอื สร้างอาชพี เสริมให้ยั่งยนื ตามแนวทางสมั มาชีพชุมชน ภายใตห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยเน้นการสร้างความ มนั่ คงทางอาหาร ลดรายจา่ ยในครัวเรอื น ลดต้นทุนในการประอบอาชีพหลกั เพ่อื พฒั นาคุณภาพชีวิตทด่ี ีอยา่ งยั่งยนื 4. วธิ ีการ/ข้ันตอนการดาเนินงาน ๑. ขนั้ เตรยี มการ ประชุมแกนนาหมบู่ า้ น/วิเคราะห์สภาพเปน็ หาของหมู่บา้ น /พจิ ารณาคัดเลือกครวั เรอื นเป้าหมาย ๒. ข้นั ดาเนินการ (๑) จัดเวทใี หค้ วามรู้แลกเปลี่ยน เพอ่ื ปรับทัศนะคติกล่มุ เป้าหมาย รวมทง้ั ให้ความรู้และสร้างความเข้าใจหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง เพอื่ นาไปปฏิบตั เิ ปน็ วิถีชีวติ ส่งเสริมให้จดั ทาบญั ชคี รัวเรอื น และรว่ มกนั วิเคราะหใ์ นการสร้างอาชีพ (๒) จดั ใหค้ วามรู้การประกอบอาชีพให้กลุ่มเป้าหมายท่ีสนใจและฝึกปฏิบัติ ไดแ้ ก่ การเลย้ี งปลาดุกในกระชัง และการปลูกกระเทียมปลอดสาร (๓) ให้ความรู้การทางานเป็นทีมและการจัดต้งั กลมุ่ และสนบั สนนุ วัสดใุ นการประกอบอาชีพ ๓. ขัน้ ตดิ ตามและประเมินผล มกี าหนดการติดตามเดือนละ ๒ คร้งั เพอ่ื ให้ทราบผลการดาเนินงาน และกระตุ้น ใหก้ ลุ่มเปา้ หมายมีแรงบันดาลใจในการดาเนนิ การ และรว่ มกนั ปรึกษาหาทางแกไ้ ขกรณีที่ประสบปัญหา 5. ผลลพั ธ์ 5.1 เทคนิคทใี่ ช้ ๑) การบูรณาการทางาน เน่อื งจากการทางานมหี ลายมติ ทิ ่ีเกี่ยวขอ้ ง ซ่งึ เปน็ ปญั หาความต้องการของชมุ ชน จะต้องประสานหน่วยงานหรือภาคีการทางานท่สี ามารถเขา้ มาเชือ่ มตอ่ การทางานใหบ้ รรลุเป้าหมายได้ ๒) ปราชญ์ชาวบา้ นเปน็ แกนนาในการตดิ ตามผลการดาเนนิ งานและสนบั สนุน ๓) จดั ตงั้ กลุม่ อาชพี เป็นหลกั ในการบริหารจดั การเพ่ือให้เกิดความยัง่ ยืน 5.2 ข้อพึงระวงั การเลอื กครวั เรอื นเปา้ หมาย ต้องเกิดจากความสมัครใจ และมีความต้ังใจในการฝึกอาชพี เพ่ือกอ่ ให้เกดิ การ สร้างอาชพี ท่มี ่นั คง และควรเลือกอาชพี ท่ีเปน็ ความตอ้ งการของชาวบา้ นโดยแท้จรงิ มคี วามถนัด มีความรู้ ประสบการณ์ 5.3 ปจั จยั แห่งความสาเรจ็ สร้างอาชพี ท่ชี าวบา้ นตอ้ งการ และการติดตามอย่างใกลช้ ดิ /ร่วมกนั แก้ไขปัญหา 5.4 ปญั หาและวธิ ีการแกไ้ ข ปัญหา : ปลาดุกท่เี ลย้ี งในกระชงั เปน็ แผล ส่งผลใหป้ ลาตาย วิธกี ารแก้ไขปญั หา : ประสานงานกับประมงอาเภอตรอน มาให้ตรวจสภาพน้าและปลาดุกในกระชัง ประมงอาเภอตรอน ได้แนะนาวิธีใหอ้ าหารและวิธที าให้น้าสะอาด 5.5 กิจกรรมท่ปี ระสบผลสาเร็จในหมู่บา้ น (3 กิจกรรม) 1) กล่มุ เลี้ยงปลาดุกในกระชัง ๒) กล่มุ ปลูกกระเทียมปลอดสาร 3) การผลิตสารไล่แมลงดว้ ยสมุนไพร

ภาพถา่ ยกจิ กรรมที่ดาเนินการ กลุ่มสมั มาชีพชุมชน การผลิตสารไลแ่ มลงดว้ ยสมุนไพร กลุม่ ปลกู กระเทยี มปลอดสาร กลุ่มเลยี้ งปลาดกุ ในกระชัง

แบบบันทึกองคค์ วามรู้รายบุคคล ภายใต้การดาเนินงานโครงการ “วาระชมุ ชน : 1 พัฒนากร 1 หมบู่ า้ นชมุ ชนต้นแบบ” 1. ช่ือองคค์ วามรู้ การพฒั นาหมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพียง บา้ นน้าหมันใต้ หมู่ที่ 5 ตา้ บลน้าหมัน อ้าเภอทา่ ปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ 2. ช่ือเจ้าขององค์ความรู้ นางสาวปาณิสรา แกว้ ผนกึ นกั วชิ าการพฒั นาชมุ ชนปฏบิ ตั ิการ ส้านักงานพัฒนาชมุ ชนอ้าเภอท่าปลา จังหวดั อุตรดิตถ์ 3. ทมี่ าและความสาคัญของปญั หา ปจั จบุ ันวิถีชวี ติ ของคนในชนบทเปลี่ยนแปลงไปมาก เนอื่ งจากปัญหาการภยั แล้ง การผลผลติ จากภาคเกษตร ตกตา้่ เกษตรกรหันไปพึ่งสารเคมเี พ่อื เพิ่มผลผลิต ซึ่งเป็นการเพ่ิมต้นทุนในการผลิตมากขนึ ในขณะท่ีราคาสินค้าการเกษตรยัง ตา่้ ท้าให้เกิดปัญหาหนสี ินมากขึน วัยแรงงานจึงอพยพเข้าสู่ชุมชนเมอื งเพ่ือประกอบอาชีพในภาคอุตสาหกรร ม ภาคบริการ มากขนึ การใช้ชวี ติ เปล่ียนไปตามกระแสบรโิ ภคนยิ ม ยึดค่านยิ มตามแบบตะวันตก เนน้ การพ่ึงพาภายนอก มากกวา่ ทีจ่ ะพงึ่ พา ตนเอง เมื่อมีปัจจัยภายนอกท่ีกระทบ เช่น ปัญหาการแพร่กระจายของโรค ติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19) ท่ีกระทบกับเศรษฐกิจโลก หลายบริษัทยักษ์ใหญ่ต้องล้มละลาย ปิดโรงงาน เลิกจา้ งพนักงาน เป็นจ้านวนมาก ส่งผลให้ แรงงานท่ีเข้าไปท้างานในชุมชนเมืองตกงานอยา่ งกะทันหัน พร้อมภาระหนีสิน บางรายถึงกับปลดิ ชพี ตนเองเพราะหาทางออก ไมไ่ ด้ “…เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นปรชั ญาชถี งึ แนวการดา้ รงอยแู่ ละปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตังแต่ระดับ ครอบครัว ระดับชมุ ชน จนถงึ ระดับรฐั ทังในการพัฒนาและบรหิ ารประเทศให้ด้าเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะ การ พัฒนาเศรษฐกจิ เพอ่ื ใหก้ ้าวทันต่อโลกยุคโลกาภวิ ัฒน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความ จา้ เป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตวั ทดี่ ีพอสมควรต่อการมผี ลกระทบใด ๆ อนั เกิดจากการเปลย่ี นแปลง ทังภายนอกและ ภายใน ทงั นีจะต้องอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวัง อย่างยง่ิ ในการน้าวิชาการ ต่าง ๆ มาใชใ้ นการ วางแผนและการดา้ เนินการทุกขันตอน และขณะเดยี วกันจะต้องเสริมสร้างพนื ฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา้ หน้าที่ ของรัฐ นักทฤษฎแี ละนักธรุ กิจ ในทกุ ระดับ ให้มีส้านึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต และให้มีความ รอบรูท้ ่ีเหมาะสม ด้าเนินชีวิตดว้ ยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพ่ือให้สมดลุ และพร้อมต่อ การรองรับการ เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทังดา้ นวัตถุ สังคม สิง่ แวดลอ้ ม และวัฒนธรรม จากโลกภายนอก ได้เป็นอย่างดี ” บา้ นน้าหมนั ใต้ หมู่ท่ี 5 ตา้ บลนา้ หมนั อา้ เภอทา่ ปลา จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ เป็นหมบู่ ้านทไ่ี ดร้ บั งบประมาณ โครงการสร้างและพฒั นาสมั มาชีพชมุ ชนระดับหมบู่ า้ น ในปี พ.ศ.2561 และได้รบั งบประมาณโครงการขับเคลือ่ นการพฒั นา หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ปี พ.ศ.2562 ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตร - ท้านา ปัญหาที่พบในชุมชนไดแ้ ก่ รายได้ น้อย ไมเ่ พียงพอต่อการดา้ เนินชีวติ ขาดการออม ขาดองคค์ วามรู้ในชุมชน 4. วธิ กี าร/ขน้ั ตอนการดาเนินงาน 1) โครงการสัมมนาการเรียนรู้วิถีชีวติ เศรษฐกิจพอเพียง โดยคดั เลือกแกนน้าพฒั นาจ้านวน 30 ครัวเรอื น เพ่อื วิเคราะห์ปัญหา ประเมนิ ศกั ยภาพหมบู่ า้ น เพื่อใหห้ าทางแก้ไขและพฒั นาหมูบ่ า้ นร่วมกัน 2) โครงการสัมมนาการเรียนรวู้ ิถีชีวติ เศรษฐกจิ พอเพยี งจากแหล่งเรียนรตู้ ้นแบบ โดยแกนนา้ พัฒนาจา้ นวน 30 คน ศึกษาดูงานจากหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี งตน้ แบบ (บา้ นพ)ี่ ณ บ้านใหมโ่ พธเ์ิ ย็น หมู่ท่ี 6 ต้าบลวังแดง อ้าเภอตรอน จังหวัดอุตรดติ ถ์ เพอ่ื นา้ กลับมาประยุกต์ ปรบั ใชใ้ นการพัฒนาบ้านน้าหมันใต้ 3) โครงการสง่ เสรมิ การจัดท้าแผนชีวติ และแผนชมุ ชน แกนนา้ พัฒนาจ้านวน 30 คน ร่วมจัดทา้ แผนชวี ติ และแผนชมุ ชน จากการวเิ คราะหป์ ัญหา และประเมินศกั ยภาพหมู่บา้ น โดยมโี ครงการท้าเอง ไดแ้ ก่ 3.1) การปรับปรงุ คมุ้ บา้ น ปรับปรงุ ภูมทิ ัศน์ของหมู่บ้าน พัฒนาพืนทส่ี าธารณะของหมูบ่ ้าน 3.2) การจัดทา้ บัญชีครวั เรือน

-2- 3.3) การพฒั นากลมุ่ อาชีพ บ้านนา้ หมนั ใต้ มกี ลุม่ อาชพี ทังหมด 5 กลุม่ ได้แก่ 1) กลมุ่ วิสาหากิจ ชมุ ชนบ้านนา้ หมันใต้ ผลติ กระยาสารท 2) กลุ่มแปรรปู กระถางยางรถยนต์ 3) กลุ่มหัตถกรรม 4) กลุม่ แปรรูปเมลด็ มะมว่ ง หิมพานตบ์ ้านน้าหมนั ใต้ 5) กล่มุ แปรรปู ขนมจนี บา้ นนา้ หมนั ใต้ 4) โครงการการขบั เคลอื่ นวิถีชีวติ เศรษฐกิจพอเพียง ดา้ เนนิ กิจกรรมลดรายจ่าย เพิม่ รายได้ โดยการทา้ นา้ ยาลา้ งจาน นา้ ยาซกั ผ้า และสบู่สา้ หรบั ใชเ้ อง และจ้าหน่าย 5) โครงการประชมุ เชิงปฏบิ ตั ิการถอดบทเรียนและประเมนิ ผลการพฒั นาหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง 5. ผลลัพธ์ 5.1 เทคนคิ ที่ใช้ - พัฒนากรตอ้ งมคี วามเป็นกันเอง เขา้ ถึง เข้าใจ ถงึ จะสามารถพฒั นาได้ โดยการเขา้ พืนทบ่ี ่อยๆ หาโอกาสเขา้ รว่ ม ประชมุ ประจ้าเดือนของหมูบ่ า้ น เพ่ือกระต้นุ ใหด้ า้ เนินกิจกรรมอย่างตอ่ เน่ือง - บูรณาการกบั หน่วยงานภาคเี พ่ือของบรับการสนับสนุนวิทยากร หรอื งบประมาณ เชน่ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตา้ บล น้าหมนั กศน.อ้าเภอทา่ ปลา เพอ่ื สนับสนนุ การดา้ เนนิ กิจกรรมสง่ เสรมิ อาชีพ เปน็ ต้น - บรู ณาการโครงการอ่นื ๆ ของหน่วยงาน เช่น กจิ กรรมตามแผนปฏิบัตกิ าร 90 วัน สร้างความมนั่ คงดา้ นอาหาร ขอรบั เมลด็ พนั ธ์ผุ ัก เพาะปลกู ไว้บรโิ ภค เพอ่ื ลดรายจ่ายในครัวเรอื น และแบ่งปนั กนั ในชมุ ชน เปน็ ต้น - ศึกษาหาความรู้ เพอื่ ทีจ่ ะได้เปน็ ทปี่ รกึ ษาแก่ชุมชน 5.2 ข้อพึงระวงั - 5.3 ปัจจัยแห่งความสาเร็จ - การบูรณาการท้างานร่วมกันกับภาคีเครอื ขา่ ย - ผนู้ ้ามีความเสยี สละ ซื่อสัตย์ อดทน และเปน็ แบบอยา่ งให้คนในชมุ ชน - ความสามัคคีของคนในชุมชน - การมีส่วนรว่ มของคนในชุมชน - การบรหิ ารจัดการชมุ ชนโปรง่ ใส 5.4 ปัญหาและวธิ ีการแกไ้ ข - คนในชมุ ชนไมต่ ระหนักถึงความส้าคญั ในปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ดังนนั ผู้นา้ และแกนน้าพัฒนาต้องเปน็ แบบอยา่ ง ตอ้ งทา้ ก่อน เม่อื เหน็ ผลการปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง คนในชมุ ชนถงึ ปฏิบตั ิตาม - คนในชมุ ชนคอ่ ยขา้ งเป็นผู้สงู อายุ กระตนุ้ การเรียนร้ดู ว้ ยกิจกรรมสันทนาการหรือ กจิ กรรมท่ีได้ปฏิบตั ิตามมากกว่า ท่จี ะเนน้ การบรรยาย 5.5 กจิ กรรมที่ประสบผลสาเรจ็ ในหมู่บา้ น (3 กจิ กรรม) 1) การพฒั นาอาชีพ 2) ศนู ย์เรยี นรเู้ ศรษฐกิจพอเพียง 3) กองทุนแม่ของแผน่ ดิน

-3- ภาพถา่ ยกิจกรรมที่ดาเนินการ กจิ กรรมสัมมนาเรียนร้วู ถิ ชี ีวติ เศรษฐกจิ พอเพียง ดงู านบ้านพ่ี กิจกรรมลดรายจ่าย เพ่มิ รายได้ กจิ กรรมลดรายจา่ ย เพิ่มรายได้ กิจกรรมพฒั นาอาชพี -การทากระยาสารท กิจกรรมพัฒนาอาชพี -จัดตงั ้ กลุม่ หตั ถกรรม กิจกรรมพัฒนาหม่บู ้าน-ปรบั ปรุงภมู ทิ ัศน์ กจิ กรรมพฒั นาหมู่บ้าน-จัดทาค้มุ บ้าน





แบบบนั ทึกองค์ความรู้รายบุคคล ภายใตก้ ารดาเนินงานโครงการ “วาระชุมชน : 1 พัฒนากร 1 หมบู่ ้านชมุ ชนต้นแบบ” 1. ชื่อองคค์ วามรู้ …………..……การขับเคลื่อนหมบู่ า้ นเศรษฐกิจพอเพยี งต้นแบบ…..……………………………….. (ระบหุ มบู่ า้ นท่ีดาเนนิ การ) …บา้ นหนองโบสถ์ หมูท่ ี่ 7 ตาบลร่วมจติ อาเออทา่ ลลา จงั หวัดอตุ รดติ ถ.์ .. 2. ชือ่ เจา้ ขององค์ความรู้ (ชื่อ-สกุล/ตาแหน่ง/สังกัด).............นางสาวสาวิตรี เม่นสนิ ตาแหน่ง นักวิชาการ พฒั นาชุมชนลฏบิ ตั ิการ สงั กดั สานักงานพัฒนาชมุ ชนอาเออทา่ ลลา จังหวดั อตุ รดิตถ์............................. 3. ที่มาและความสาคัญของปญั หา ผลจากการใช้แนวทางการพัฒนาลระเทศไลสู่ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิดการเลลี่ยนแลลงแก่สังคมไทย อย่างมากในทกุ ด้าน ไม่วา่ จะเลน็ ดา้ นเศรษฐกิจ การเมอื ง วัฒนธรรม สงั คมและสงิ่ แวดล้อม สาหรับผลของการพัฒ นาในด้านบวกน้ัน ได้แก่ การเพิ่มข้ึนของอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางวัตถุ และสาธารณูลโอคต่างๆ ระบบส่อื สารทที่ ันสมัย หรอื การขยายลริมาณและกระจายการศกึ ษาอย่าง ท่ัวถึงมากขึ้น แต่ผลด้านบวกเหล่าน้ีส่วนใหญ่กระจายไลถึงคนในชนบท หรือผู้ด้อยโอกาสในสังคม เล็นส่วนน้อย การ เลล่ียนแลลงของสงั คมไดเ้ กิดผลลบตามมาดว้ ย เช่น การขยายตัวของรฐั เขา้ ไลในชนบท ได้ส่งผลให้ชนบทเกดิ ความอ่อนแอ ในหลายดา้ น ทั้งการตอ้ งพ่ึงพิงตลาดและพ่อค้าคนกลางในการสงั่ สินค้าทุน ความเสอ่ื มโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบ ความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และการรวมกลุ่มกันตามลระเพ ณีเพื่อการจัดการทรัพยากรท่เี คยมีอยู่แตเ่ ดิมแตก สลายลง อูมิความรู้ อูมลิ ัญญาทเ่ี คยใชแ้ ก้ลัญหาและส่ังสมลรับเลล่ยี นกันมา ถกู ลมื เลอื นและเริ่มสญู หายไล ส่ิงสาคญั กค็ อื ความพอเพียงในการดารงชีวติ ซงึ่ เล็นเง่ือนไขพนื้ ฐานที่ทาให้คนไทยสามารถพึ่งพาตนเองได้ และดาเนินชวี ติ ไลไดอ้ ย่างมศี ักด์ิศรีอายใต้อานาจและความมีอสิ ระในการกาหนดชะตาชีวิตของตนเอง ความสามารถในการ ควบคมุ และจัดการเพ่ือให้ตนเองได้รบั การสนองตอบต่อความตอ้ งการตา่ งๆ รวมทั้งความสามารถในการจัดการลัญหาต่างๆ ได้ด้วยตนเอง ซ่ึงทั้งหมดนี้ถือว่าเล็นศักยอาพพืน้ ฐานที่คนไทยและสังคมไทยเคยมอี ยแู่ ต่เดิม ต้องถูกกระทบกระเทือน ซึ่ง วกิ ฤตเศรษฐกิจจากลญั หาฟองสบู่และลัญหาความอ่อนแอของชนบท รวมทั้งลัญหาอื่นๆ ที่เกดิ ขน้ึ ล้วนแตเ่ ล็นขอ้ พิสจู นแ์ ละ ยนื ยันลรากฏการณน์ ้ีได้เล็นอยา่ งดี 4. วธิ กี าร/ขัน้ ตอนการดาเนินงาน “...การพัฒนาลระเทศจาเล็นตอ้ งทาตามลาดบั ข้นั ต้องสรา้ งพนื้ ฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใชข้ อง ลระชาชนส่วนใหญเ่ บื้องต้นกอ่ น โดยใช้วิธีการและอุลกรณ์ทลี่ ระหยัดแต่ถูกตอ้ งตามหลักวิชาการ เม่อื ได้พืน้ ฐานความมัน่ คง พร้อมพอสมควร และลฏิบัติไดแ้ ล้ว จึงคอ่ ยสร้างค่อยเสริมความเจรญิ และฐานะทางเศรษฐกจิ ข้ันท่สี งู ขึ้นโดยลาดบั ตอ่ ไล...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗) “เศรษฐกิจพอเพยี ง” เลน็ แนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว รชั กาลท่ี 9 ท่ีพระราชทาน มานานกว่า ๓๐ ลี เป็นแนวคิดท่ีตั้งอย่บู นรากฐานของวัฒนธรรมไทย เลน็ แนวทางการพฒั นาทีต่ ้งั บนพื้นฐานของทาง สายกลาง และความไมล่ ระมาท คานึงถงึ ความพอลระมาณ ความมีเหตผุ ล การสรา้ งอูมคิ ุ้มกนั ในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรู้ และคณุ ธรรม เลน็ พืน้ ฐานในการดารงชีวิต ท่ีสาคญั จะตอ้ งมี “สติ ปญั ญา และความเพยี ร” ซง่ึ จะนาไลสู่ “ความสุข” ใน การดาเนินชีวิตอยา่ งแทจ้ ริง วธิ กี าร/ขัน้ ตอนการดาเนินงาน 1. ศึกษาแนวทางการดาเนนิ กจิ กรรม/โครงการ เศรษฐกจิ พอเพียงต้นแบบ 2. กาหนดแผนงาน ระยะเวลา กระบวนการ ข้ันตอนการดาเนนิ งานและจดั ทาแผนการขบั เคลื่อนกิจกรรม ของหมู่บ้าน 3. ลระชุมช้ีแจงทาความเขา้ ใจกบั หมู่บ้าน ลระกอบด้วย ผู้นาหมบู่ ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน หัวหน้า คมุ้ บ้าน ลระธานกลมุ่ องคก์ รต่างๆ ในหม่บู ้าน ผทู้ รงคณุ วฒุ ิในหมบู่ ้าน และลระชาชนในหมบู่ ้าน โดยทาความเข้าใจให้ ทุกคนทราบถงึ รายละเอียด และแนวทางการดาเนินงานทุกข้ันตอน

-2- 3. ขับเคลือ่ นกิจกรรมตามแผนทีก่ าหนดให้บรรลุผลเลน็ รูลธรรม การลระชมุ เชงิ ลฏิบัติการครอบครัวพัฒนา โดยมวี ตั ถุลระสงค์เพอ่ื ใหค้ รอบครวั พฒั นาไดศ้ ึกษาเรียนรู้เก่ียวกับหลกั ลรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รจู้ กั ลระเมนิ สถานการณ์ ของหมบู่ า้ น วิเคราะหส์ าเหตบุ นพนื้ ฐานของเหตุและผล รว่ มกันกาหนดแผนพฒั นาตนเองและหมู่บ้าน 4. ตดิ ตามลระเมนิ ผล สรลุ ผลการดาเนินงาน จัดการความรู้ เพอ่ื เผยแพรล่ ระชาสัมพันธ์ 5. ผลลพั ธ์ 5.1 เทคนิคทีใ่ ช้ - วธิ กี ารในการขบั เคล่อื นงาน - กระบวนการในการขับเคล่อื นงาน - โครงการ/กิจกรรมในการแก้ไขลัญหา 5.2 ข้อพึงระวัง การยึดตดิ กบั แผนงานและวธิ ีการมากเกนิ ไล โดยไม่คานึงถึงลจั จัยแวดลอ้ มรอบขา้ ง อาจทาให้การทางานไม่ บรรลุเล้าหมายตามท่ีต้ังไว้ 5.3 ปัจจยั แหง่ ความสาเร็จ - การถอดองคค์ วามร้จู ากลราชญ์ผู้ที่มีความรคู้ วามเช่ยี วชาญและลระสบผลสาเร็จในการลระกอบอาชีพ - ครวั เรอื นยอมรบั และเข้าสูก่ ารพฒั นาโดยใช้โครงการเศรษฐกจิ พอเพยี ง ของกรมการพฒั นาชุมชนเล็น จดุ เรมิ่ ต้น ยอมรับในหลักการ ขน้ั ตอนของโครงการเพ่อื นาไลสูผ่ ลสาเรจ็ ในการเล็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ - เรียนรู้และคน้ หานวตั กรรมใหม่ ๆ ในการพัฒนาอย่างต่อเนอ่ื ง 5.4 ปญั หาและวธิ ีการแก้ไข ลัญหาสาหรบั คนส่วนมาก คอื ไม่มีเวลา ในการคน้ ควา้ ศกึ ษา หาความรู้ วธิ กี ารแก้ไขลญั หา คือ จะต้อง บรหิ ารเวลาให้สมดุลในทุก ๆ ด้าน 5.5 กิจกรรมท่ปี ระสบผลสาเร็จในหมู่บ้าน (3 กจิ กรรม) 1) ชนะเลิศครัวเรอื นสัมมาชีพตัวอย่างระดับจังหวดั จังหวัดอุตรดิตถ์ ลระจาลี 2562 2) เลน็ หมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพียงต้นแบบ ลระจาลี 2563 3) มีกลมุ่ อาชพี ที่หลากหลาย เช่น กลุม่ เล้ียงจง้ิ หรีด กลุ่มเลยี้ งไก่ไข่อารมณด์ ี กลมุ่ เลี้ยงกบ กล่มุ เล้ียงวัว กลมุ่ จกั สานบ้านหนองโบสถ์

ภาพถ่ายกจิ กรรมทีด่ าเนินการ ประชมุ ให้ความรู้เกีย่ วกับโครงการสมั มนา ประชมุ ใหค้ วามรเู้ ก่ียวกับโครงการสัมมนา การเรียนรวู้ ถิ ชี ีวิตเศรษฐกจิ พอเพียง การเรียนรวู้ ิถีชวี ติ เศรษฐกจิ พอเพียง ครัวเรอื นสัมมาชีพตวั อยา่ งระดับจังหวัด ฝึกการทาถงั ขยะใชเ้ อง จงั หวดั อตุ รดิตถ์ ประจาปี 2562 เพ่อื เปน็ การคัดแยกขยะในครวั เรือน ฝึกการทาน้ายาอเนกประสงค์ ฝกึ การทาน้ายาอเนกประสงค์ (นา้ ยาล้างจาน , น้ายาซกั ผา้ , น้ายาปรับผ้านมุ่ ) (นา้ ยาล้างจาน , นา้ ยาซักผ้า , นา้ ยาปรบั ผา้ น่มุ )

แบบบนั ทกึ องค์ความรรู้ ายบคุ คล ภายใต้การดาเนินงานโครงการ “วาระชมุ ชน : 1 พฒั นากร 1 หมูบ่ ้านชมุ ชนต้นแบบ” 1. ชอื่ องค์ความรู้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP กลมุ่ แปรรปู เมลด็ มะม่วงหมิ พานต์ บ้านสามร้อยเมตร หมู่ 12 ตาบลทา่ ปลา อาเภอทา่ ปลา จังหวัดอุตรดติ ถ์ 2. ชอ่ื เจา้ ขององคค์ วามรู้ นางสาวสุรนี ันท์ มานะ ตาแหนง่ นักวิชาการพฒั นาชุมชนปฏบิ ตั ิการ สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอท่าปลา 3. ที่มาและความสาคัญของปัญหา โค รงการหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ( ONE TAMBON ONE PRODUCT : OTOP ) เป็นหนึ่งในนโยบายสาคัญ เรง่ ด่วนของรัฐบาล ท่ีแถลงต่อรัฐบาลไทย มีเปา้ หมายมุ่งเน้นใหแ้ ต่ละชุมชนได้นาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใชใ้ นการพัฒนาสินค้า โดยภาครัฐ พร้อมทจี่ ะเขา้ ช่วยเหลือในด้านความรู้สมยั ใหม่ และการบริหารจดั การ เพื่อเชื่อมโยงสินค้าจากชมุ ชน สู่ตลาดท้ัง ในและต่างประเทศ ด้วยระบบร้านค้าเครือข่าย และอินเตอร์เน็ต และเพ่ือสง่ เสริมสนบั สนุนกระบวนการพัฒนาท้องถนิ่ สร้าง ชมุ ชนที่เข้มแข็ง พงึ่ ตนเองได้ ให้ประชาชนมีสว่ นร่วมในการสร้างงาน สร้างรายได้ ดว้ ยการนาทรพั ยากร ภมู ปิ ัญญาในท้องถิ่น มาพฒั นาเป็นผลิตภัณฑ์และบริการท่มี ีคุณภาพ มีจุดเด่นและมีมลู ค่าเพิ่ม เป็นท่ีตอ้ งการของตลาดทัง้ ใน และตา่ งประเทศ สอดคลอ้ งกบั วัฒนธรรม และวถิ ีชีวติ ทอ้ งถิน่ กองทุน แตใ่ นปี 2563 กลุ่มแปรรปู เมลด็ มะม่วงหมิ พานตบ์ า้ นสามรอ้ ยเมตร ซงึ่ มี คณะกรรมการ จานวน 15 คน และสมาชิก จานวน 50 คน ไดร้ บั ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จึงอาจทาให้กลมุ่ ประสบปญั หาไม่สามารถจาหน่ายผลติ ภัณฑ์ และขาดเงินทุนในการดาเนนิ กิจการ การพฒั นาผลิตภัณฑ์ OTOP เปน็ แนวทางประการหนง่ึ ทจ่ี ะแก้ไขปัญหาดังกล่าว และสร้างความเจริญแกช่ ุมชน ให้ สามารถยกระดับฐานะความเปน็ อยู่ของคนในชุมชนใหด้ ีขึ้น โดยการผลิตหรือจดั การทรัพยากรทมี่ อี ยู่ในท้องถ่ิน ให้กลายเป็น สินค้าทมี่ คี ณุ ภาพ มจี ดุ เด่นเปน็ เอกลกั ษณข์ องตนเองท่ีสอดคลอ้ งกับวฒั นธรรมในแต่ละท้องถิ่น 4. วิธกี าร/ข้นั ตอนการดาเนินงาน 1. ศึกษาขอ้ มูลกล่มุ ผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP 2. ประชมุ กลุม่ ผูผ้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รว่ มกันวิเคราะห์สถานการณ์ของกลุ่ม 3. จดั ทาแผนการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ ชอ่ งทางทนุ ช่องทางการตลาด 4. เขียนโครงการขอรบั การสนบั สนุนงบประมาณจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตเข่ือนสิริกิต์แิ ละกู้เงนิ กองทนุ พัฒนาบทบาทสตรี 5. ส่งเสริมการพฒั นาบรรจภุ ัณฑ์ และรปู แบบผลติ ภณั ฑ์ และเชือ่ มโยงกบั กล่มุ ผู้ประกอบการ OTOP อื่น ๆ เพ่ือ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 6. ตดิ ตามประเมินผลการพัฒนาผลิตภัณฑ์ 5. ผลลัพธ์ 5.1 เทคนิคท่ีใช้ - การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ของกล่มุ ให้มีความหลากหลาย และตรงกับความตอ้ งการของตลาด - เพ่มิ ชอ่ งทางการจาหนา่ ยโดยใชช้ อ่ งทางออนไลน์ และขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานท่ีเกย่ี วขอ้ ง - เขียนโครงการของงบประมาณจากไฟฟา้ ฝ่ายผลติ เขอ่ื นสิรกิ ิติ์ และการกู้เงินกองทุนพฒั นาบทบาทสตรี 5.2 ข้อพึงระวัง - สมาชกิ ในกลุ่มต้องมคี วามมุ่งม่ัน ตงั้ ใจ อดทน และยอมรบั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง - คณะกรรมการกลุม่ ต้องมกี ารชแี้ จงสมาชิกถึงปัญหาท่ีเกดิ ขึ้น และหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน

-2- 5.3 ปัจจยั แห่งความสาเร็จ - การบรหิ ารจดั การกลมุ่ ทมี่ ีประสิทธิภาพ - การผลติ สนิ ค้าที่มีคณุ ภาพตรงกับความตอ้ งการของผู้บริโภค - การบรหิ ารการตลาด ช่องทางการตลาด - การบริหารดา้ นการเงนิ การขอรบั การสนับสนนุ จากหนว่ ยงาน - การมสี ว่ นรว่ มของคณะกรรมการและสมาชิกในกลมุ่ 5.4 ปัญหาและวธิ ีการแก้ไข - ความไมไ่ ว้ใจกัน จงึ ตอ้ งมีสรา้ งแนวคดิ กระบวนการมีส่วนร่วม และการบรหิ ารจดั การรว่ มกัน ยดึ หลกั ความ โปรง่ ใสตรวจสอบได้ สรา้ งความหวงแหนและตระหนกั ถึงความเป็นเจ้าของร่วมกนั - ทนุ ในการประกอบกิจการของกลมุ่ ไมเ่ พียงพอ จงึ ตอ้ งขอรบั การสนบั สนุนจากหนว่ ยงาน - ราคาเมล็ดมะม่วงหิมพานต์มไี ม่คงท่ี สง่ ผลให้ต้นทุนการผลิตแปรผัน จึงต้องมีการวางแผนในการลงทนุ 5.5 กิจกรรมทป่ี ระสบผลสาเร็จในหมู่บา้ น (3 กิจกรรม) 1) มผี ลติ ภณั ฑ์ของกลมุ่ ทีไ่ ด้รบั การพัฒนาเพ่มิ ข้ึนอยา่ งน้อย 1 ผลิตภัณฑ์ และกล่มุ มรี ายไดเ้ พมิ่ ขึ้น 10% 2) หมู่บ้านสามรอ้ ยเมตรเปน็ หมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพยี งต้นแบบ ปี 2560 และได้รบั การประกวดเป็นหม่บู ้าน แผน่ ดนิ ธรรมแผน่ ดินทองในปี 2563 3) มีพ้นื ที่ทเี่ ปน็ ศูนยเ์ รยี นรู้ โคก หนองนาโมเดล คือ พืน้ ที่ของนายประทมุ ลัคณา

ภาพถา่ ยกจิ กรรมท่ีดาเนนิ การ การประชุมหารือเพ่ือหาแนวทางแก้ไขร่วมกับเรื่องเงนิ ทนุ ศึกษาข้อมูลของกลุ่ม และหาแนวทางการพัฒนาร่วมกัน ระหวา่ งกลุ่มกบั สานักงานพัฒนาชมุ ชน การประชุมของกล่มุ แปรรูปเมลด็ มะมว่ งหิมพานต์บา้ น ผลติ ภัณฑข์ องกลุ่มท่ีรบั การพัฒนา สามร้ อยเมตร การพฒั นาบรรจุภณั ฑใ์ ห้มคี วามหลากหลาย การแปรรูปเมลด็ มะมว่ งหมิ พานต์ของกลมุ่

แบบบนั ทึกองค์ความร้รู ายบคุ คล ภายใตก้ ารดาเนินงานโครงการ “วาระชุมชน : 1 พฒั นากร 1 หมู่บา้ นชุมชนต้นแบบ” 1. ชือ่ องคค์ วามรู้ ศนู ย์เรียนรู้หม่บู ้านกองทนุ แม่ของแผน่ ดิน บ้านเสยี้ ว หมทู่ ี่ 1 ตาบลบา้ นเสีย้ ว อาเภอฟากท่า จงั หวดั อุตรดิตถ์ 2. ช่อื เจา้ ขององค์ความรู้ นายโตมร รตั น้าหนิ นกั วิชาการพฒั นาชุมชนปฏบิ ตั กิ าร สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอฟากทา่ จงั หวดั อตุ รดิตถ์ 3. ทมี่ าและความสาคัญของปญั หา สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชนิ นี าถ ทรงเสดจ็ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและมกี ารจดั พิธรี วม พลังมวลชน โดยทุกปีพระองค์ทรงพระราชทานทรพั ยส์ ่วนพระองค์ให้ราษฎรอาสาป้องกนั ยาเสพติด ใช้ทางาน แก้ไขปัญหายาเสพติดในชมุ ชน และพระองค์ทรงให้พระบรมราโชวาท และมพี ระกระแสดารสั หว่ งใย เก่ียวกับเรอื่ ง ยาเสพติดเปน็ อย่างมาก ทาให้ ป.ป.ส.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร่วมกับหน่วยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งรว่ มกันคิดท่จี ะขยาย ผลต่อยอดทรัพย์พระราชทานนี้ โดยตั้งชอื่ ว่า “กองทุนแม่ของแผน่ ดนิ ” ซงึ่ “กองทุนแม่ของแผน่ ดิน” ถอื เป็นอีก ตวั อย่างหนึ่งทศ่ี นู ยอ์ านวยการตอ่ สู้เพ่ือเอาชนะยาเสพติด (ศตส.) นาความหว่ งใยของพระองคม์ าขยายผลตอ่ ยอด กระบวนการเอาชนะยาเสพติดอย่างย่ังยืน ด้วยพลังแผ่นดินของคนไทยทุกคน โด ยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระราชทานทรพั ย์ส่วนพระองค์มาเป็นขวัญถงุ สริ ิมงคลไปยังประชาชน เพื่อเป็นศนู ย์รวม ทางจิตใจในการเอาชนะ ยาเสพตดิ ไดอ้ ยา่ งยง่ั ยืนตลอดไป บ้านเส้ียวได้รับกองทุนแม่ของแผ่นดินเมอ่ื วันท่ี 27 กันยายน พ.ศ. 2550 และจากความทเ่ี ป็น ชุมชนทสี่ ามารถดาเนินการตามแนวทางสร้างชุมชนเข้มแขง็ ได้สาเร็จเป็นแห่งแรกของอาเภอจนได้รับการยอมรับ จากชุมชน และหน่วยงานต่างๆ บ้านเสี้ยวได้ยกฐานะเป็น “ศนู ย์เรียนรกู้ องทุนแมข่ องแผ่นดินจังหวัดอุตรดิตถ์ และเป็นศูนย์กลางของอาเภอฟากท่า” กลุ่มชมรมรวมพลังสร้างสรรค์บ้านเสี้ยว ซ่ึงประกอบด้วยสมาชิก 6 หมบู่ ้าน 4. วธิ ีการ/ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. มกี ารทาความเข้าใจโครงการทุกครวั เรือน ประชุมช้แี จงและแจกเอกสารความรู้เกี่ยวกับ กองทนุ แม่ 2. มีการรับสมัครคณะกรรมการกองทนุ แม่ของแผ่นดนิ และกาหนดบทบาทบทบาทหนา้ ท่ขี อง คณะกรรมการกองทุนแมข่ องแผ่นดนิ ไว้ 10 ประการ 3. มีการรับสมัครครัวเรือนสมาชกิ เขา้ ร่วมโครงการคิดเป็นร้อยละของครวั เรือนท้ังหมดจานวน รอ้ ยละ 100 % ท่เี ข้ารว่ มโครงการครวั เรอื น 4. มกี ารจัดตัง้ กฎชมุ ชนเขม้ แขง็ - มกี ฎหลักของชุมชนเขม้ แข้ง 7 ประการ แสดงไว้อย่างชดั เจน - มกี ฎรองซงึ่ เปน็ ทย่ี อมรับของสมาชิกในชมุ ชนแสดงไวช้ ัดเจน 5. การให้ความรคู้ วามเขา้ ใจเรอื่ งยาเสพตดิ 6. มีการจัดตัง้ กองทุนแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ 7. มีการประชาคมคัดแยกดว้ ยสันตวิ ธิ ี 8. มกี ารจัดกิจกรรมร่วมกบั สมาชิกอยา่ งตอ่ เนือ่ ง 10. มกี ารรกั ษาสถานะของชมุ ชนเข้มแข้ง 11. มกี ารดาเนินงานศูนยเ์ รียนรู้กองทุนกองทุนแมข่ องแผ่นดิน

-2- 5. ผลลพั ธ์ 5.1 เทคนคิ ทใ่ี ช้ - พัฒนากรตอ้ งมคี วามเป็นกนั เอง เข้าถึง เข้าใจ ถึงจะสามารถพัฒนาได้ โดยการเขา้ พ้นื ที่บ่อยๆ หาโอกาส เขา้ รว่ มประชมุ ประจาเดือนของหมบู่ ้าน เพื่อกระตนุ้ ให้ดาเนินกจิ กรรมอยา่ งตอ่ เน่ือง ประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจ เกีย่ วกบั แนวทางการดาเนนิ งานให้ประชาชนไดร้ บั ทราบ - การตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน โดยชุดปฏิบัติการตรวจสุขภาพกองทนุ แม่ของแผน่ ดิน ใช้แบบ ตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดินเป็นเคร่ืองมือในการเก็ บรวบรวมข้อมลู และวเิ คราะหข์ ้อมูลเพ่ือจัดระดับ สขุ ภาพของกองทุนแม่ของแผน่ ดนิ - ส่งเสริมให้คณะกรรมการดาเนินงานตามขั้นตอนโดยเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนเข้ามาส่งเสริมสนบั สนุนทุก ขั้นตอน - ต้องคอยส่งเสริมให้ดาเนินงานตามแนวทาง และตรวจสอบการใชจ้ า่ ยเงินใหอ้ ยู่ในระเบียบและแนวทางท่ี กาหนด และจัดกจิ กรรมทส่ี ่งเสรมิ ป้องกันแก้ไขปัญหาเก่ียวกับยาเสพตดิ - บูรณาการกับหน่วยงานภาคีตา่ งๆ ของหน่วยงาน เช่นร่วมกับศูนย์ปฏิบัตกิ ารต่อสู้เพ่ือเอาชนะปัญหา ยาเสพติด องค์การบรหิ ารส่วนตาบลบ้านเสี้ยว สถานีตารวจภธู รฟากท่า กองร้อยตระเวนชายแดนท่ี 314 และ หน่วยราชการต่าง ๆ ร่วมกนั ปราบปรามผู้เสพ และขบวนการคา้ ยาเสพติดในพื้นท่ี - ศกึ ษาหาความรู้ เพื่อท่จี ะไดเ้ ปน็ ท่ีปรึกษาแก่ชมุ ชน 5.2 ขอ้ พึงระวงั - 5.3 ปจั จยั แห่งความสาเร็จ - การบูรณาการทางานร่วมกนั กับภาคเี ครอื ข่าย - ผนู้ ามีความเสียสละ ซอ่ื สตั ย์ อดทน และเปน็ แบบอย่างให้คนในชมุ ชน - ความสามัคคขี องคนในชมุ ชน - การมสี ่วนรว่ มของคนในชมุ ชน - การบริหารจดั การชุมชนโปร่งใส 5.4 ปัญหาและวธิ ีการแกไ้ ข - ในชุมชนมวี ัยรุน่ ท่ีคกึ คะนอง อยากรู้อยากลอง ต้องการให้เพื่อนฝงู ยอมรบั ครอบครัวแตกแยก ขาดความ รกั ความอบอุ่น วา้ เหว่ ขาดทีย่ ึดเหนย่ี ว และเขา้ ไปศึกษาตอ่ ในตวั จงั หวัด ห่างไกลครอบครัว ทาให้เสี่ยงต่อการเสพ ยาได้งา่ ยข้นึ - คนในชมุ ชนคอ่ ยข้างเป็นผ้สู ูงอายุ กระตนุ้ การเรียนรู้ด้วยกิจกรรมสนั ทนาการหรอื กจิ กรรมท่ีได้ปฏิบัติ ตามมากกวา่ ทจี่ ะเน้นการบรรยาย 5.5 กิจกรรมที่ประสบผลสาเร็จในหมู่บ้าน (3 กิจกรรม) 1) รางวัลรองชนะเลศิ อันดบั ท่ี 1 หมู่บ้าน “กองทนุ แม่ของแผ่นดิน” ประจาปี 2562 2) รางวัลชนะเลิศระดบั จงั หวดั หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง “อยเู่ ย็น เปน็ สุข” ประจาปี 2561 3) ศูนย์เรียนรูด้ า้ นปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และศูนยเ์ รยี นรู้กองทุนแม่ของแผ่นดนิ

-3- ภาพถ่ายกิจกรรมที่ดาเนนิ การ ศนู ยเ์ รียนร้กู องทุนแม่ของแผ่นดิน วทิ ยากรประจาศูนย์เรียนรู้ กจิ กรรมขับเคลอ่ื นกองทุนแม่ฯ กจิ กรรมหารายได้สมทบทุน กิจกรรมให้ความร้กู องทุนแมฯ่ หมู่บ้านเฉลิมพระเกยี รติฯ

แบบบันทึกองคค์ วามรรู้ ายบุคคล ภาพถ่าย ภายใต้การดาเนินงานโครงการ “วาระชุมชน : 1 พฒั นากร 1 หมูบ่ า้ นชมุ ชนต้นแบบ” 1. ชื่อองคค์ วามรู้ …………การขยายผลโครงการโคก หนอง นา…โมเดล………………… (ระบุหมบู่ า้ นท่ดี าเนินการ) …หมบู่ า้ นวังแดงสบิ เอ็ด…หม่ทู ่ี 11…ตาบลวังแดง………………………………… 2. ชอ่ื เจ้าขององคค์ วามรู้ (ชื่อ-สกลุ /ตาแหน่ง/สงั กัด).....นายวรชิต...ขาแชม่ ..นักวชิ าการพฒั นาชุมชนชานาญการ เจ้าของ องคค์ วามรู้ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอตรอน..... 3. ทมี่ าและความสาคัญของปัญหา .....โครงการ “โคก หนอง นา โมเดล” เป็นกิจกรรมทส่ี าคัญทก่ี รมการพฒั นาชุมชน กาหนดเป็น.....ของโครงการ พัฒนาหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง เพื่อให้ชุมชนมีศักยภาพในการบริหารจัดการและพัฒนาตนเองสู่ความม่ันคง มง่ั คั่ง ยั่งยืน และมีความสขุ ซง่ึ เป็นแนวทางการดาเนินงานตามหลกั พระราชา รชั กาลท่ี 9 ได้ทรงพระราชทานไว้ สามารถใช้ แก้ไขปัญหาการบริหารจัดการพืน้ ทโี่ ดยเฉพาะในเร่ืองน้า เพอื่ ประชาชนได้เรยี นรู้เพอื่ นาไปปฏบิ ัตไิ ด้อย่างถูกตอ้ ง ซึ่งจะ ช่วยใหช้ วี ติ ความเปน็ อยู่ของชาวบ้านดขี ึ้น และนาไปส่ศู นู ย์เรยี นรตู้ ลอดชีวติ ของประชาชนในชมุ ชน 4. วธิ ีการ/ข้นั ตอนการดาเนินงาน .. 1) ประชาสมั พันธ์คดั เลือกผู้สมัครใจเข้าร่วมโครงการ โคก หนองนา โมเดล 2) คดั เลือกพื้นท่ีทดี่ าเนินโครงการโคก หนอง นา โมเดลที่มคี วามพร้อม และเหมาะสมสาหรับใช้ดาเนิน โครงการโคกหนองนา โมเดล พร้อมท้ังลงทะเบียนพื้นท่ีไว้ในสาระบบ 3) สรา้ งการเรียนรู้แก่ผู้สมคั รร่วมโครงการโคก หนอง นา โมเดล เพื่อเขา้ ใจแนวทางการดาเนนิ งาน และ สง่ เสริมด้านการบรหิ ารจดั การใหเ้ กดิ ความย่งั ยนื 4) สร้างเครือขา่ ย โคก หนองนา โมเดล เพ่อื เกิดการแลกเปล่ียนและพัฒนาอยา่ งต่อเนอื่ ง 5) ประชาสัมพันธเ์ ชงิ รกุ ทั้ง online และ off Line ใน 3 แนวทาง 1) สื่อสารสรา้ งความรบั รู้อย่าง ตอ่ เนื่อง 2) รายงานความคบื หน้า กระต้นุ ใหเ้ กิดกิจกรรม และ (3) ประกาศความสาเรจ็ 6) ประเมินศกั ยภาพ สรปุ บทเรยี นและจดั การองค์ความรู้ 5. ผลลัพธ์ 5.1 เทคนคิ ทใ่ี ช้ ๑. แนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดารงอยู่และปฏบิ ัตติ นของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับ ครอบครัว ระดับชุมชน จนถงึ ระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบรหิ ารประเทศให้ดาเนนิ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการ พฒั นาเศรษฐกิจ เพื่อใหก้ ้าวทนั ต่อโลกยคุ โลกาภวิ ัฒน์ ความพอเพยี ง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึง ความจาเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อนั เกิดจากการเปลยี่ นแปลงท้ังภายใน ภายนอก ทั้งนี้ จะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวังอย่างยง่ิ ในการนาวชิ าการตา่ งๆ มาใชใ้ นการ วางแผนและการดาเนินการ ทุกขนั้ ตอน ๒. แนวคดิ โคก หนอง นา โมเดล เปน็ การบริหารจัดการพ้นื ท่ีอันเป็นแนวทางของการท่ีจะช่วยทาให้มนษุ ย์สามารถดารงชีวติ อยไู่ ด้อย่างมั่นคง ม่งั คั่ง และยังยืน และเป็นแหล่งเรยี นรู้ท่ีมีชีวิต ซ่ึงการดาเนนิ งานจะยึดหลักการมีส่วนรว่ ม และการช่วยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั ของพ่ี น้องประชาชน ให้ประชาชนสามารถเรียนรู้และนาไปปรับประยุกต์ใช้ตามภูมิสงั คม และภูมินิเวศน์ของแต่พ้ืนท่ี เพื่อให้ เกิดการ \"พอกนิ พออยู่ พอใช้ พอร่มเย็น\" และขั้นพ้ืนฐานขจัดปัญหาส่ิงแวดล้อมต่างๆท่ีเปน็ วกิ ฤตของโลกให้หมดสิน้ ไป ท้งั ภยั แล้ง น้าทว่ ม อาหารไมป่ ลอดภยั ดว้ ยสารเคมี ยาฆา่ แมลง ฝุ่นละออง ปา่ ไมล้ ดลงจนทาให้ธรรมชาติขาดสมดลุ ๓. แนวคดิ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน การเปิดโอกาสให้บุคลากรเข้ามามสี ว่ นร่วมในการคิดรเิ ร่มิ ตัดสนิ ใจในการปฏิบัติงานและการร่วมรับผิดชอบ ในเรื่องต่างๆ อันมีผลกระทบมาถึงตัวของบุคคลการทีจ่ ะสามารถทาให้บุคลากรเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเพือ่ แกไ้ ข ปัญหา

5.2 ข้อพงึ ระวงั ปัญหาการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีสาเหตุหลักมาจากการใช้ทรพั ยากรอย่างไร้ขอบเขต ของมนุษย์ได้ สง่ ผลกระทบในวงกว้างตอ่ สมดุลระบบนเิ วศและส่งิ แวดลอ้ ม การเกิดปรากฏการณต์ ่างๆที่เปน็ ภัยคุกครามตอ่ แหลง่ ผลติ อาหาร เช่น แห้งแลง้ นา้ ท่วม โรคระบาดศตั รูพืช ภาวะวิกฤตท่ีส่งผลกระทบต่อภาคเกษตรอย่างมาก คือ การเกดิ ภัยแล้งที่นบั วนั จะ ทวีความรนุ แรงเพม่ิ ข้นึ ทุกปี ท่ผี ่านมาประเทศไทยรับมอื กบั ปญั หาภัยแล้งอย่างหลากหลาย เช่นการสรา้ งเขอื่ น การสร้าง อ่างเก็บน้า หรอื การทาระบบชลทาน ซึง่ รปู แบบเหลา่ นี้สามารถใช้แกไ้ ข ปัญหาไดใ้ นบางพนื้ ที่ของประเทศไทยเทา่ นั้น 5.3 ปจั จัยแหง่ ความสาเรจ็ “โคก หนอง นา โมเดล เปน็ รูปแบบหนึ่งของการแก้ปญั หาเรือ่ งการจดั การน้า โดยการน้อมนาพระราชดารัส ในรัชกาลที่ 9 ดา้ นการทาเกษตร ทฤษฎใี หมต่ ามแนวเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้บริหารจดั การนา้ และพนื้ ทกี่ ารเกษตรโดยมกี าร ผสมผสานกบั ภูมิปญั ญา พ้นื บ้านใหส้ อดคล้องกัน โดยแบ่งพ้ืนทเ่ี ป็นสดั ส่วน 30:30:30:10 ดงั นี้ 30 % สาหรับแหลง่ น้า โดยการขุดบอ่ ทาหนองและคลองไส้ไก่ 30% สาหรบั ทานา ปลูกข้าว 30% สาหรับทาโคกหรอื ป่า ปลกู ปา่ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง คอื ปลูกไม้ใชส้ อย ไม้กินได้ และไม้เศรษฐกิจ เพ่ือใหไ้ ดป้ ระโยชน์ คอื มกี นิ มีอยู่ มใี ช้ มคี วามอุดม สมบูรณ์และความร่มเย็น และ 10% สาหรับที่อยูอ่ าศยั และเล้ียงสตั ว์ เช่น ไก่ ปลา ววั และควาย ท่สี ามารถเป็นศูนย์ เรยี นรูโ้ คก หนอง นา โมเดล แกค่ นทวั่ ไปได้ 5.4 ปญั หาและวธิ ีการแกไ้ ข ......จดุ เรียนรโู้ คกหนองนา โมเดลมีจานวนนอ้ ยและอยู่พืน้ ทีห่ า่ งไกล ดังนั้นแตล่ ะอาเภอจาเปน็ ตอ้ งมีศนู ยเ์ รียนรู้ โคก หนอง นา โมเดล ประจาอาเภอ ซ่งึ สามารถใช้เป็นจุดแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ระหว่างกันของชาวบา้ นในพื้นท่ี ที่เดนิ ทาง สะดวกและประหยัดค่าใชจ้ ่าย และมีลกั ษณะทางกายภาพของพืน้ ท่ีใกล้เคียงกัน ชาวบา้ นในแต่ละอาเภอสามารถเดินทางมา เรยี นรแู้ ละนาไปปฏบิ ตั ิปรับใช้กับพน้ื ที่ตนเองไดถ้ ูกต้อง 5.5 กจิ กรรมทป่ี ระสบผลสาเร็จในหมู่บา้ น (3 กจิ กรรม) 1) ..การทาน้าส้มควนั ไม้...................................................................................... 2) ..การทาจุลนี ทรียส์ ังเคราะห์แสง......................................................................................... 3) ..การปลกู พชื ..5..ระดับ.....................................................................................................

ภาพถ่ายกจิ กรรมท่ีดาเนนิ การ (อย่างน้อย 6 ภาพ พรอ้ มคาอธิบายใต้ภาพ) ผญ.บญุ ส่ง เรอื งเดช วทิ ยากร ประจาศนู ยเ์ รยี นรู้ ถา่ ยทอดกระบวนการเรยี นรู้ การปลกู พืช 5 ระดับ การเผาถา่ นน้าส้มควันไม้ กระบวนการเรยี นร้กู ารทาจุลีนทรีย์สังเคราะหแ์ สง

แบบบนั ทกึ องค์ความรู้รายบคุ คล ภายใต้การดาเนนิ งานโครงการ “วาระชุมชน : 1 พฒั นากร 1 หม่บู ้านชุมชนต้นแบบ” 1. ชื่อองค์ความรู้ การบริหารจดั การทนุ ชุมชนโดยกระบวนการชุมชน บา้ นดงงาม หมู่ 3 ตาบลจริม อาเภอท่าปลา จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ 2. ชอ่ื เจา้ ขององคค์ วามรู้ พ.อ.ท.นริ ุธ สมสงิ ห์ ตาแหน่ง นกั วชิ าการพัฒนาชมุ ชนปฏบิ ัติการ สานักงานพัฒนาชมุ ชนอาเภอท่าปลา 3. ที่มาและความสาคัญของปัญหา สถานการณข์ องกองทนุ สถานการณ์เงนิ ทุนของกลุ่มต่าง ๆ ขอ้ มูลการก้เู งิน แผนชุมชนของหมูบ่ ้าน ข้อจากดั ของการ ดาเนินงานกองทนุ การนาขอ้ มูล จปฐ. / กชช.2ค. จะเปน็ สว่ นในการนาข้อมลู มาวิเคราะห์ร่วมกนั เพอ่ื หาทางออกในการ บริหารจัดการทนุ ในหมูบ่ า้ นใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ ความสาคัญในการแกไ้ ขปัญหาเศรษฐกจิ /สังคมในชมุ ชน โดยผูน้ าชมุ ชนจะเป็น ผนู้ าในการค้นหาปญั หาของชมุ ชน และความตอ้ งการของชุมชน การแก้ไขปัญหาหนีส้ ินเปน็ สิง่ ทีส่ าคญั เป็นลาดบั ตน้ โดยสารวจปญั หาที่เกิดในครัวเรือนแต่ละครวั เรอื นในทกุ ด้าน อาทิเช่น เรื่องปากทอ้ ง การประกอบอาชีพ สวัสดิการต่าง ๆ และความตอ้ งการของคนในครัวเรือน เพอื่ จะได้เปน็ ขอ้ มูล ประกอบการวิเคราะหป์ ญั หา และหาแนวทางแกไ้ ขปัญหาของคนในชมุ ชน ศนู ยจ์ ัดการกองทุนชมุ ชน จงึ มีหน้าท่ีรบั ผิดชอบเก่ียวกับการบูรณาการข้อมลู กองทุนชมุ ชนในพน้ื ท่ีบริหารจดั การหนี้ ส่งเสรมิ วินัยทางการเงนิ ของคนในชุมชนใหใ้ ช้เงินทุนในชุมชนเพื่อสร้างงานสรา้ งรายได้ต่อยอดอาชีพ และใหเ้ กิดประโยชน์ สูงสุด 4. วิธกี าร/ขนั้ ตอนการดาเนินงาน สง่ เสรมิ การบูรณาการกลุ่ม/องค์กร/กองทุนการเงินให้มีการเช่อื มโยงการบรหิ ารจดั การเงินทุนชุมชนให้เป็นระบบ มคี วามเปน็ เอกภาพ สามารถแกไ้ ขปญั หาหนี้สนิ และบรหิ ารจัดการชมุ ชนไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้ 3 กจิ กรรม คอื - แกไ้ ขปญั หาหนสี้ ิน โดยการบรหิ ารจัดการหนคี้ รัวเรอื น ไปสู่ 1 ครวั เรือน 1 สัญญา - เช่ือมโยงการบริหารจัดการเงนิ ทุนในชมุ ชนให้เป็นระบบ โดยการจัดทาฐานขอ้ มลู ทนุ ชมุ ชน ฐานข้อมูลหน้ีสนิ ครัวเรอื น บริหารจัดการหน้ปี รบั โครงสรา้ งหนี้และสง่ เสรมิ วนิ ัยทางการเงินใหค้ นในชุมชน - สง่ เสรมิ สนับสนุนใหค้ รัวเรือนน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปปรับใชใ้ นการดาเนินชีวติ และวางแผน ชีวติ จนสามารถลดหนี้ปลดหนแี้ ละนาไปสู่ชวี ติ ทีม่ คี ณุ ภาพ 5. ผลลพั ธ์ 5.1 เทคนิคทใ่ี ช้ คณะกรรมการศูนย์จัดการกองทนุ ชุมชนเป็นตัวกลางในการเจรจาระหว่างลกู หน้ีกับเจ้าหน้ี(กลมุ่ /กองทนุ ทีล่ ูกหน้ีท่ี เปน็ สมาชิกไดก้ ูย้ ืม) เพื่อตกลงให้ความช่วยเหลือในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เช่น การปรับลดอัตราดอกเบย้ี /คา่ ปรับ การยดื ระยะเวลาการผอ่ นชาระคืน การกาหนดวงเงินกู้ใหมฯ่ ลฯ แลว้ หากลุ่ม/กองทุนใดกองทนุ หนึ่งเป็นผรู้ บั ผดิ ชอบเพยี งกองทนุ เดียว โดยคานงึ ถึงการเป็นสมาชิกของลูกหน้ีและจานวนวงเงนิ กู้ที่เปน็ ไปตามระเบียบ/ขอ้ บังคับของกลมุ่ /กองทนุ นนั้ ๆ 5.2 ขอ้ พึงระวัง - คณะกรรมการกลมุ่ /กองทุน ท่ีเป็นสมาชกิ ศูนย์จัดการกองทนุ ชุมชนต้องประชมุ ชี้แจงสรา้ งความเขา้ ใจแก่สมาชกิ กล่มุ /กองทุนของตน พร้อมท้ังจดั ทา/ปรบั แก้ไขระเบยี บข้อบังคบั กลุ่ม/กองทุน หรือปรบั /ยืดระยะเวลาการชาระคืนเงินกูใ้ ห้ เป็นไปตามมติ (กพู้ รอ้ มกันสง่ ใช้คืนพร้อมกนั หรือไม่พรอ้ มกนั กไ็ ด)้ - พจิ ารณาลูกหน้โี ดยการแบง่ กลมุ่ ลูกหน/ี้ จัดประเภทลูกหนีต้ ามวงเงินหนี้ ใหเ้ หมาะสมกับเงินทุน (สภาพคล่องทาง การเงิน) ของกลุม่ /กองทนุ และการเป็นสมาชิกกลมุ่ /กองทุนของลกู หน้ีรวมถึงขอ้ จากัดในเร่ืองระเบยี บข้อบังคับของกลุม่ / กองทุน

-2- 5.3 ปัจจัยแหง่ ความสาเร็จ - คดิ ดตี ่อกัน - ให้เกียรตกิ ัน - ทาความเข้าใจกัน - ความจรงิ ใจใหก้ ัน - สร้างความสัมพันธ์ต่อกัน 5.4 ปญั หาและวิธีการแกไ้ ข - ความไมไ่ ว้ใจกัน สร้างแนวคดิ ของการรวมคนในหมู่บ้านทม่ี คี วามแตกตา่ งกัน ใหม้ คี วามเห็นอกเหน็ ใจกนั มีความเสยี สละ เพ่อื บรรลุส่เู ป้าหมายหมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียงแห่งความสขุ 5.5 กิจกรรมทีป่ ระสบผลสาเร็จในหมู่บ้าน (3 กจิ กรรม) 1) สถาบันการจัดการเงินทนุ ชมุ ชนบา้ นดงงาม 2) กลมุ่ ออมทรพั ย์เพ่อื การผลิต 3) กองทนุ หมู่บา้ นและชมุ ชนเมือง

ภาพถ่ายกจิ กรรมท่ีดาเนินการ การดาเนินงานสถาบนั การจดั การเงนิ ทุนชุมชนบา้ นดงงาม การดาเนินงานสถาบันการจัดการเงนิ ทนุ ชุมชนบา้ นดงงาม การดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์เพ่อื การผลิต การดาเนนิ งานกลุ่มออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลิต การดาเนินงานกองทนุ หมู่บ้านและชุมชนเมือง การดาเนินงานกองทนุ หมู่บ้านและชมุ ชนเมือง

แบบบันทกึ องค์ความรู้รายบุคคล ภายใตก้ ารดาเนินงานโครงการ “วาระชุมชน : 1 พัฒนากร 1 หม่บู า้ นชมุ ชนต้นแบบ” ๑. ช่อื องคค์ วามรู้ ……การส่งเสรมิ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพยี งเขม้ แขง็ ……………………………… (ระบหุ มบู่ า้ นท่ดี าเนินการ) ……ม 10 บ้านเนนิ ชยั ตาบลบ่อทอง อาเภอทองแสนขนั จังหวดั อุตรดติ ถ…์ ………………………… ๒. ช่ือเจา้ ขององคค์ วามรู้ นางสาวศนั สนีย์ ศรีวิชัย นักวชิ าการพัฒนาชมุ ชนปฏบิ ตั ิการ อาเภอทองแสนขัน ๓. ทีม่ าและความสาคัญของปัญหา การสง่ เสริมหมูบ่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียงเขม้ แขง็ เป็นการพฒั นาชุมชนด้วยการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็น แนวทางในการจัดกจิ กรรมสาหรบั ปรบั ปรุง เปลยี่ นแปลง ระบบการคิดเพ่อื เสรมิ สร้างวถิ ชี วี ติ ทีเ่ หมาะสมเป็นชุมชนเข้มแขง็ พง่ึ ตนเองได้ การ นอ้ มนาแนวคิดปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยใช้หลกั “บวร” คอื บา้ น วัด โรงเรียน รว่ มกนั ทางานแบบบูรณาการ เปน็ แนวคดิ ทมี่ ุ่งพยายามที่ จะนาเอา องคก์ ร และสถาบนั หลกั ในชุมชนทอ้ งถ่ินมาเป็นยทุ ธศาสตรใ์ นการพัฒนา และสรา้ งความเขม้ แข็งของชมุ ชน ทาหนา้ ที่เป็นแกนกลาง ในการพฒั นา ติดสนิ ใจ แกป้ ญั หาตนเอง และชุมชน กาหนดแผนชุมชนดว้ ยการร่วมกนั คดิ สรา้ งและบริหารจดั การชุมชนของตนเอง นาสู่ ชุมชนเขม้ แขง็ และพง่ึ พาตนเองได้ โดยการนอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเขา้ มาสง่ เสรมิ ในหมู่บา้ น/ชมุ ชน น่นั เอง ๔. วิธีการ/ขัน้ ตอนการดาเนินงาน ๔.๑ ประชุมชีแ้ จง ผู้นาชุมชน กลุ่มองค์กรตา่ ง ๆ และเครอื ขา่ ยภาคีการพฒั นา ๔.๒ จัดทาแผนปฏบิ ตั ิการ ๔.๓ ดาเนินการตามแผนปฏบิ ัติการเพือ่ ขับเคลอื่ นการดาเนนิ งานหม่บู า้ นเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ๔.๔. ติดตามการดาเนนิ งาน ใหค้ าแนะนา ข้อเสนอแนะในทกุ กจิ กรรม ๔.๕.ประชาสมั พนั ธ์ เผยแพร่ ๔.๖ สรุปผลการดาเนินงาน ประเมนิ ผล และวิเคราะหผ์ ลการดาเนินงาน ๕. ผลลัพธ์ ๕.๑ เทคนิคทีใ่ ช้ - ใชห้ ลักการมีส่วนร่วมของทกุ ภาคสว่ น รัฐ องค์กรเครอื ข่าย และใชห้ ลกั “บวร” คือ บา้ น วัด โรงเรยี น - ปรับทัศนะ และให้ความรู้ เพื่อเปน็ ผนู้ าในการทางานพัฒนาหมูบ่ า้ น - การชแ้ี จงทาความเข้าใจสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ เกย่ี วกบั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๕.๒ ขอ้ พึงระวัง - การสรา้ งทศั นคตใิ นการพ่งึ พาตนเองและบริหารจดั การชวี ิต ครอบครัว ชุมชน ภายในหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ยงั มีคนที่ยงั ไม่ เข้าใจ จะต้องให้หน่วยงานราชการชว่ ยสนับสนบั สนนุ อยตู่ ลอดเวลา ๕.๓ ปัจจัยแหง่ ความสาเรจ็ - ใช้หลักการมีส่วนร่วม ของคนในชุมชนและการพ่ึงตนเอง ผู้นาจะมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ถึงแม้ว่าบางคน จะเป็น คณะกรรมการหลายกลุ่มก็ตามแต่สามารถปฏิบัติตามหน้าที่ของตนเองได้เป็นอย่างดีมุ่งเน้นการทางานสู่เป้าหมาย คือความสาเร็จ และ พ่ึงตนเองเองได้ ทกุ ฝา่ ยใหค้ วามเอาใจใส่ และรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ทท่ี ี่ได้รบั มอบหมายอย่างเต็มกาลงั ความสามารถ - การมีกองทุนชุมชนที่เขม้ แข็งสามารถสนบั สนุนกิจกรรมชมุ ชนไดด้ ี มีการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง ไดแ้ ก่ กองทนุ แมข่ องแผน่ ดนิ เปน็ ต้น ๕.๔ ปญั หาและวิธกี ารแกไ้ ข งบประมาณสนับสนุนการดาเนินงานไม่เพียงพอโดยเฉพาะกิจกรรมด้านการสร้างอาชีพ สร้างรายได้ สนับสนุนศูนย์ เรียนรู้ชุมชน วิธีการแก้ไขคือการสร้างทัศนคติในการพ่ึงพาตนเองและบริหารจัดการชีวิต ครอบครัว ชุมชน ภายในหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ๕.๕ กิจกรรมทป่ี ระสบผลสาเรจ็ ในหมู่บ้าน (3 กิจกรรม) - มีครัวเรอื นเข้ารว่ มโครงการ โคก หนอง นา โมเดล - ทุกครวั เรอื นปลูกผกั เพื่อสรา้ งความม่ันคงทางอาหาร - มีกลุม่ ทอผา้ บ้านเนินชัย

ภาพถา่ ยกิจกรรมท่ดี าเนนิ การ (อยา่ งนอ้ ย 6 ภาพ พร้อมคาอธบิ ายใตภ้ าพ) ; ชี้แจงทาความเขา้ ใจ เนน้ การมีส่วนร่วม ประชมุ ชี้แจงสร้างความเข้าใจ การติดตามกลมุ่ ทอผ้าบา้ นเนินชยั สมาชกิ กลุ่มทอผ้าบ้านเนินชยั กิจกรรมลดรายจ่ายในครัวเรือน ครัวเรือนในหมู่บ้านปลกู ผกั สวนครัวสรา้ งความม่ันคงทางอาหาร

แบบบนั ทกึ องคค์ วามรูร้ ายบคุ คล ภายใตก้ ารดาเนินงานโครงการ “วาระชุมชน : 1 พฒั นากร 1 หมู่บ้านชมุ ชนต้นแบบ” 1. ช่ือองค์ความรู้ การพฒั นาศักยภาพคณะกรรมการโครงการแกไ้ ขปญั หาความยากจน (กข.คจ.) บา้ นนาแซง หมทู่ ่ี 3 ตาบลสองหอ้ ง อาเภอฟากทา่ จงั หวดั อตุ รดิตถ์ 2. ช่ือเจา้ ขององคค์ วามรู้ นางสาวเพญ็ จนั ทร์ รนิ สาร ตาแหนง่ นักวิชาการพฒั นาชมุ ชนปฏิบตั กิ าร 3. ท่ีมาและความสาคญั ของปัญหา ความยากจนของประชาชนชาวชนบทเป็นปัญหาสาคัญท่ีทุกรัฐบาลมุ่งแก้ไขให้หมดไป โดย คณะรฐั มนตรมี ีมตเิ มอื่ วันที่ 17 สงิ หาคม 2536 เห็นชอบใหก้ ระทรวงมหาดไทยดาเนินงานโครงการ กข.คจ. ระยะท่ี 1 ระหวา่ ง ปี 2536 - 2539 และขยายถึงปี 2540 จานวน 11,608 หมบู่ ้าน และมมี ติอกี ครั้ง เม่ือ วนั ท่ี 17 มิถนุ ายน 2540 เหน็ ชอบใหก้ ระทรวงมหาดไทยดาเนนิ งานโครงการ กข.คจ. ระยะที่ 2 ระหว่าง ปี 2541 - 2544 เพือ่ ขยายพืน้ ทีใ่ ห้ครอบคลมุ ทุกหมบู่ า้ นท่วั ประเทศทยี่ งั มคี นจนตามขอ้ มูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) จานวน 28,038 หมู่บ้าน โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) เป็นการสนับสนุนเงินทุนให้ระดับหมู่บ้าน หมูบ่ ้านละ 280,000 บาท โดยไม่มดี อกเบย้ี และมอบอานาจใหค้ ณะกรรมการกองทุน กข.คจ.ประจาหมู่บา้ น รบั ผิดชอบบริหารจัดการเงนิ ทุนของหม่บู า้ นให้หมนุ เวียนอยู่ในหมู่บ้านตลอดไป โดยสนับสนุนเงินทุนเพ่ือการ ประกอบอาชพี แก่ครัวเรอื นเป้าหมาย โดยมีเจา้ หน้าท่ีพัฒนาชุมชนเป็นผู้ส่งเสริมสนับสนุนตรวจสอบ ติดตาม การดาเนินงานโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) ให้มปี ระสทิ ธภิ าพการบริหารเงินทุนและอยู่ภายใต้ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการบริหารและการใช้จ่ายเงินโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน พ.ศ. 2553 และ ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2539 และหนงั สอื สงั่ การของกระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน เนอื่ งดว้ ยมีการเปลีย่ นแปลงผ้นู า คณะกรรมการโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) หรือแม้แตเ่ จา้ หนา้ ท่ผี รู้ บั ผิดชอบในการส่งเสริมสนบั สนุน ตรวจสอบการดาเนนิ งาน จึงทาให้การดาเนินงานเกดิ ความไม่ต่ อเน่ืองคณ ะกรรมก ารที่เข้าม ารับหน้า ที่ ใหม่ยังข าดความ รู้ความเข้ าใจที่ชัด เจน ในแน วทางกา ร ดาเนินงานโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) และไม่ได้ปฏิบัติตามหน้าท่ีท่ีตนได้รับการแต่งต้ัง ซ่ึงปัญหาที่พบคือจะมีคนท่ีทางานอยู่เพียงแค่คนหรือสองคนเท่าน้ัน ดังน้ันจึงจาเป็นท่ีจะต้องมีการพัฒนา ศักยภาพของคณะกรรมการโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) เพื่อให้รับทราบแนวทางการ ดาเนินงานฯ ท่ถี กู ต้อง และสามารถปฏบิ ตั หิ น้าทีต่ ามท่ตี นเองไดร้ ับการแตง่ ตงั้ ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4. วิธกี าร/ขัน้ ตอนการดาเนินงาน 1. หาสาเหตขุ องปัญหาในการดาเนินงานโครงการแกไ้ ขปญั หาความยากจน (กข.คจ.) 2. ปรึกษาผเู้ ชย่ี วชาญที่มคี วามรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ พร้อมศกึ ษาแนวทางการ ดาเนินงานโครงการแก้ไขปญั หาความยากจน (กข.คจ.) ที่ถกู ต้องตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยการ บรหิ ารและการใชจ้ ่ายเงนิ โครงการแกไ้ ขปญั หาความยากจน พ.ศ. 2553 และ ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2539

-2- 3. กาหนดกลมุ่ เปา้ หมาย วนั เวลา สถานทด่ี าเนนิ กจิ กรรม 4. ดาเนินการพฒั นาศกั ยภาพคณะกรรมการโครงการแกไ้ ขปญั หาความยากจน (กข.คจ.) 5. ตดิ ตามประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน 5. ผลลพั ธ์ 5.1 เทคนิคท่ีใช้ การพบปะพดู คุยเย่ยี มเยอื นคณะกรรมการฯ และครัวเรอื นเปา้ หมายอยา่ งสมา่ เสมอ เพอ่ื สอบถาม ปัญหา อปุ สรรคในการดาเนินงาน เพือ่ รว่ มกนั แกไ้ ขปญั หาทเี่ กิดขน้ึ 5.2 ข้อพงึ ระวงั การสอื่ สารต้องชดั เจน เพอ่ื คณะกรรมการฯ เข้าใจและสามารถปฏิบัติไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งตามแนว ทางการดาเนนิ งานโครงการแกไ้ ขปญั หาความยากจน (กข.คจ.) 5.3 ปจั จัยแหง่ ความสาเร็จ การเขา้ ใจ เข้าถงึ และให้แนวทางท่ีถูกตอ้ งพรอ้ มกบั ดาเนนิ การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ตรวจสอบ อยา่ งสมา่ เสมอเปน็ ปจั จยั ท่ที าให้งานน้ีประสบความสาเร็จได้ 5.4 ปัญหาและวิธีการแกไ้ ข ปัญหา : การจดั ทาสญั ญา กข.คจ จาทาไว้เพียงชุดเดียว คอื คณะกรรมการเก็บไว้เพยี งเท่าน้นั วธิ ีการแกไ้ ข : ช้แี จ้งแนวทางการจดั ทาสญั ญา โดยใหท้ างคณะกรรมการฯ จดั ทาสญั ญา 3 ชุด โดย ชุดที่ 1 เกบ็ ไวท้ ่ีคณะกรรมการ ชุดที่ 2 ใหค้ รวั เรอื นเปา้ หมาย และชดุ ที่ 3 จดั สง่ ให้กบั สานักงานพฒั นา ชมุ ชน ทง้ั นี้เพื่อปอ้ งกันสญั ญาสญู หาย 5.5 กิจกรรมที่ประสบผลสาเรจ็ ในหมบู่ า้ น (3 กจิ กรรม) 1) ศูนยส์ าธติ การตลาด 2) กล่มุ ออมทรพั ย์เพอื่ การผลิต 3) กองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมอื ง

ภาพถ่ายกิจกรรมที่ดาเนินการ (อย่างน้อย 6 ภาพ พรอ้ มคาอธบิ ายใตภ้ าพ) การให้แนวทางการดาเนนิ งาน กข.คจ. ทถี่ กู ตอ้ งจากผมู้ คี วามรู้ และประสบการณ์ การติดตามสนบั สนนุ การดาเนนิ งานศูนย์สาธติ การตลาดบ้านนาแซง ตดิ ตามสนับสนุน สอบถามปญั หา อุปสรรค การดาเนนิ งาน กข.คจ.อย่างสม่าเสมอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook