Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการปฏิบัติงาน เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

คู่มือการปฏิบัติงาน เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

Published by e20dku, 2022-06-28 14:49:31

Description: คู่มือการปฏิบัติงานเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

Keywords: Disaster management, Crisis management, Manual

Search

Read the Text Version

คู่มือการปฏบิ ตั ิงาน เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั สว่ นกฎหมาย ส�ำ นักมาตรการป้องกันสาธารณภยั กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย

ค่มู อื การปฏบิ ัตงิ าน เจ้าพนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั

ค�ำ น�ำ พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ ก�ำ หนดให้ ผอู้ �ำ นวยการทกุ ระดบั มอี �ำ นาจแตง่ ตง้ั เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เพอื่ ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในพน้ื ทตี่ า่ ง ๆ ตามที่ กฎหมายกำ�หนด กระทรวงมหาดไทยจงึ ได้ออกระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์การแต่งตั้งและการปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าพนักงานป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๓ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ ดงั กลา่ ว ดังน้ัน เพ่ือให้การปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ของเจ้าพนกั งานป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั ส�ำ เรจ็ ลลุ ว่ งไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย สว่ นกฎหมาย ส�ำ นกั มาตรการ ป้องกันสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จึงได้จัดทำ�คู่มือ การปฏบิ ตั งิ านของเจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั โดยยดึ ระเบยี บ กระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยหลักเกณฑก์ ารแตง่ ต้งั และการปฏิบตั ิหนา้ ท่ขี อง เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๓ ซึ่งมีเน้ือหา เกย่ี วกบั ความหมายทวั่ ไปของค�ำ วา่ เจา้ พนกั งาน คณุ สมบตั ขิ องเจา้ พนกั งาน ผมู้ อี �ำ นาจแตง่ ตงั้ อ�ำ นาจหนา้ ที่ และผลของการเปน็ เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และ บรรเทาสาธารณภัย เพ่ือให้เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ทำ�ความเข้าใจบทบาทอ�ำ นาจหนา้ ที่ และอำ�นวยประโยชน์ในการปฏิบัตงิ าน ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ (นายวบิ ลู ย ์ สงวนพงศ์) อธิบดกี รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ส่วนกฎหมาย ส�ำ นักมาตรการปอ้ งกันสาธารณภยั กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ค่มู อื การปฏบิ ัตงิ าน เจ้าพนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั

สารบญั หนา้ บทท่ี ๑ การแตง่ ตัง้ เจา้ พนกั งาน ๑ ๑. ความเป็นมา ๑ ๒. ความหมาย ๑ ๓. คณุ สมบัติของเจ้าพนักงาน ๒ ๔. ผูม้ อี ำ�นาจแตง่ ตั้งเจา้ พนกั งาน ๔ ๕. การแต่งต้ังเจ้าพนักงาน ๕ ๖. การสน้ิ สุดลงของความเปน็ เจา้ พนกั งาน ๕ บทที่ ๒ อำ�นาจหน้าท่ขี องเจ้าพนักงาน ๗ ๑. อ�ำ นาจหนา้ ทข่ี องเจ้าพนักงาน ๗ ๒. เขตอำ�นาจของเจ้าพนักงาน ๑๔ บทท่ี ๓ การปฏบิ ัติหน้าทีข่ องเจ้าพนกั งาน ๑๗ ๑. ผู้บังคับบญั ชาสงั่ การ และควบคมุ กำ�กบั ดูแล ๑๘ ๒. ผู้ให้ความชว่ ยเหลอื เจ้าพนกั งาน ๒๑ บทท่ี ๔ ความค้มุ ครองและบทกำ�หนดโทษ ๒๓ ๑. ความคมุ้ ครอง ๒๓ ๒. บทก�ำ หนดโทษ ๒๖ ส่วนกฎหมาย สำ�นักมาตรการป้องกนั สาธารณภัย กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย

สารบญั (ต่อ) หนา้ ภาคผนวก ๓๑ ๑. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์ ๓๓ การแตง่ ตัง้ และการปฏบิ ัติหน้าที่ของเจ้าพนกั งานปอ้ งกัน และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๓ ๒. ประกาศกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ๓๗ เร่อื ง การกำ�หนดหลกั สตู รและการรับรองหลกั สตู ร การฝึกอบรมเพอื่ แต่งตัง้ เปน็ เจา้ พนกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย ๓. ตวั อยา่ งคำ�สงั่ แตง่ ต้ังเจา้ พนักงานป้องกันและ ๓๙ บรรเทาสาธารณภยั ตามพระราชบัญญตั ปิ อ้ งกัน และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ บรรณาณุกรม ๔๑ คมู่ อื การปฏิบตั งิ าน เจ้าพนกั งานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั

บทที่ ๑ การแตง่ ตัง้ เจ้าพนักงาน ๑. ความเปน็ มา พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกาศ ในราชกจิ จานเุ บกษา เม่อื วันที่ ๗ กันยายน ๒๕๕๐ มีผลใช้บังคับต้งั แตว่ ันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ ซงึ่ พระราชบัญญตั ิดงั กลา่ ว มบี ทบญั ญตั ิให้ยกเลกิ พระราชบัญญตั ปิ อ้ งกันภัยฝา่ ยพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๒๒ และพระราชบัญญตั ิ ปอ้ งกันและระงบั อัคคภี ยั พ.ศ. ๒๕๔๒ พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๔ ได้กำ�หนดให้มีเจ้าพนักงานเพื่อปฏิบัติหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติดังกล่าว กระทรวงมหาดไทยจงึ ไดอ้ อกระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์ การแตง่ ตง้ั และการปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องเจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๓ และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๕๑ ง วันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๕๓ มีผลใชบ้ งั คบั วันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๓ ๒. ความหมาย ค�ำ วา่ “เจา้ พนกั งาน” พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๕ ได้ให้ความหมายไว้วา่ “เจ้าพนกั งาน” หมายความว่า ผู้ซ่ึงได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าท่ีในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในพืน้ ทตี่ ่าง ๆ ตามพระราชบัญญัตนิ ี้ 1ส่วนกฎหมาย ส�ำ นกั มาตรการป้องกันสาธารณภยั กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย

ตามความหมายดังกล่าว จึงวางหลักเกณฑ์การเป็นเจ้าพนักงานได้ ๒ ประการ ดังนี้ ๑.) ต้องมีการแตง่ ตง้ั โดยผู้มีอำ�นาจแต่งตง้ั ๒.) เปน็ การแตง่ ตง้ั ใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ที่ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในพน้ื ทตี่ า่ ง ๆ ตามพระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ ดงั นน้ั หากไมไ่ ดร้ บั การแตง่ ตงั้ ใหเ้ ปน็ เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัยแล้ว แม้จะปฏิบัติหน้าที่ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ก็ไม่เป็นเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตามพระราชบัญญัติ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ ๓. คณุ สมบัติของเจ้าพนักงาน ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์การแต่งตั้งและ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องเจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๓ ขอ้ ๕ ไดก้ �ำ หนดไว้ว่า ผู้ซง่ึ จะได้รับการแตง่ ตง้ั เปน็ เจ้าพนกั งานปอ้ งกันและ บรรเทาสาธารณภัยได้ตอ้ งมคี ุณสมบตั ิ ดังต่อไปน้ี (๑) เปน็ ขา้ ราชการ พนกั งานสว่ นท้องถ่นิ ลูกจ้างประจำ� พนักงาน ราชการ ก�ำ นนั ผู้ใหญบ่ า้ น ผชู้ ว่ ยผู้ใหญบ่ า้ น แพทยป์ ระจ�ำ ต�ำ บล หรอื สารวตั ร ก�ำ นนั (๒) เปน็ ผทู้ ป่ี ฏบิ ตั งิ าน หรอื เปน็ ผมู้ ปี ระสบการณด์ า้ นการปอ้ งกนั และ บรรเทาสาธารณภยั และเปน็ ผทู้ ผ่ี า่ นการฝกึ อบรมหลกั สตู รตามทก่ี รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยก�ำ หนด หรือหลักสูตรอ่ืนที่กรมป้องกนั และบรรเทา สาธารณภยั ให้การรบั รอง (๓) เป็นผู้มีสุขภาพดี และร่างกายแข็งแรง เหมาะสมในการปฏิบัติ หน้าทปี่ ้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย 2 คมู่ ือการปฏบิ ตั งิ าน เจา้ พนกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย

ในกรณที ่ีไมม่ บี คุ คลตาม(๑) หรอื มแี ตไ่ มเ่ พยี งพอ และมคี วามจ�ำ เปน็ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ผู้อำ�นวยการอาจ แตง่ ตง้ั บคุ คลอื่นท่มี ีคุณสมบตั ติ าม (๒) และ (๓) ให้เป็นเจ้าพนกั งานปอ้ งกัน และบรรเทาสาธารณภัย ดงั นน้ั บคุ คลซง่ึ มคี ณุ สมบตั ทิ จ่ี ะไดร้ บั การแตง่ ตง้ั ใหเ้ ปน็ เจา้ พนกั งานได้ ตอ้ งมคี ุณสมบัตติ ามระเบยี บฯ ข้อ ๕ ครบทัง้ (๑) (๒) และ (๓) จะขาดข้อใด ข้อหน่งึ ไม่ได้ ตามทีร่ ะเบียบฯ ขอ้ ๕ (๒) ก�ำ หนดคณุ สมบตั ิไว้วา่ ตอ้ งเปน็ ผูท้ ี่ผ่าน การฝกึ อบรมหลกั สตู รตามทกี่ รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ก�ำ หนด หรอื หลกั สตู รอนื่ ทกี่ รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ใหก้ ารรบั รองนนั้ กรมปอ้ งกนั และ บรรเทาสาธารณภัยได้ดำ�เนินการออกประกาศกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั เรอื่ ง การก�ำ หนดหลกั สตู รและการรบั รองหลกั สตู รการฝกึ อบรม เพอื่ แตง่ ตงั้ เปน็ เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๓ เพื่อรับรองหลักสูตรการฝึกอบรมและให้การรับรอง หลกั สตู รอนื่ แลว้ โดยแบง่ เปน็ หลกั สตู รการฝกึ อบรมทก่ี รมปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภยั ก�ำ หนด และหลกั สตู รทกี่ รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ใหก้ าร รับรอง (ภาคผนวก ๒) ส่วนกรณีตามวรรคสองซง่ึ กำ�หนดไวว้ ่า กรณซี ่งึ ไม่มีบคุ คลตาม (๑) หรือมีแต่ไม่เพียงพอนั้น เจตนารมณ์ในการร่างระเบียบฯ ดังกล่าว คณะกรรมการพิจารณาร่างกฎหมายของกระทรวงมหาดไทยมีความเห็นว่า ในการพิจารณาแต่งต้ังเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินบางแห่งอาจมีบุคลากรซ่ึงมีคุณสมบัติครบถ้วน ที่จะได้รับการแต่งต้ังให้เป็นเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้ไม่เพียงพอ ดังน้ัน เพื่อมิให้เกิดปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน จึงให้ ดุลพินิจผู้อำ�นวยการในการพิจารณาถึงความจำ�เป็นเพ่ือประโยชน์ 3สว่ นกฎหมาย สำ�นักมาตรการปอ้ งกนั สาธารณภัย กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย

ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แตง่ ตงั้ บคุ คลอน่ื ซงึ่ มิใชบ่ คุ คลตาม (๑) แต่เปน็ ผูท้ ป่ี ฏบิ ตั ิงาน หรอื เป็นผู้มปี ระสบการณ์ดา้ นการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย และผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรตามที่กรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั กำ�หนด หรือหลกั สูตรอน่ื ท่กี รมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย ใหก้ ารรบั รอง เปน็ ผมู้ ีสขุ ภาพดี และรา่ งกายแขง็ แรง เหมาะสมในการปฏิบตั ิ หนา้ ทปี่ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ใหเ้ ปน็ เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภยั ตามพระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้ ๔. ผูม้ ีอ�ำ นาจแตง่ ต้งั เจ้าพนกั งาน ผู้มีอ�ำ นาจแต่งตั้งเจ้าพนักงาน ได้แก่ ผอู้ ำ�นวยการ ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑.) อธบิ ดกี รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในฐานะผอู้ ำ�นวยการกลาง มีอำ�นาจแตง่ ตัง้ เจา้ พนักงานให้ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ไดท้ ั่วราชอาณาจกั ร ๒.) ผู้วา่ ราชการจังหวดั ในฐานะผอู้ ำ�นวยการจงั หวดั มีอำ�นาจแต่งตั้ง เจา้ พนกั งานให้ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีได้ในเขตจงั หวัด ๓.) นายอ�ำ เภอในฐานะผอู้ �ำ นวยการอ�ำ เภอ มอี �ำ นาจแตง่ ตงั้ เจา้ พนกั งานให้ ปฏิบตั หิ น้าท่ีได้ในเขตอ�ำ เภอ ๔.) ผู้บริหารท้องถ่ินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในฐานะ ผู้อำ�นวยการท้องถ่ิน มีอำ�นาจแต่งตั้งเจ้าพนักงานให้ปฏิบัติหน้าท่ีได้ในเขต องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ แห่งพืน้ ท่ี ๕.) ผู้ว่าราชการจังหวัดกรุงเทพมหานครในฐานะผู้อำ�นวยการ กรุงเทพมหานคร มีอำ�นาจแต่งตั้งเจ้าพนักงานให้ปฏิบัติหน้าท่ีได้ในเขต กรงุ เทพมหานคร 4 คู่มอื การปฏบิ ัตงิ าน เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั

๕. การแต่งตง้ั เจ้าพนักงาน ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์การแต่งตั้งและการ ปฏบิ ัติหน้าทขี่ องเจ้าพนกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๕ ได้กำ�หนดไว้ว่า ให้ผู้อำ�นวยการมีคำ�สั่งแต่งตั้งเจ้าพนักงาน ดังน้ัน การแต่งตั้งเจ้าพนักงานจึงต้องมีการออกคำ�สั่งแต่งต้ังให้เป็นเจ้าพนักงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจึงได้ จัดทำ�ตัวอย่างคำ�ส่ังแต่งต้ังเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ เพื่อให้ การแต่งตั้งเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเป็นไปในแนวทาง เดยี วกนั โดยมสี าระส�ำ คญั เกย่ี วกบั รปู แบบของค�ำ สงั่ บทบญั ญตั ขิ องกฎหมาย ท่ีใหอ้ �ำ นาจในการแตง่ ตงั้ เขตอ�ำ นาจในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี และผมู้ อี �ำ นาจแตง่ ตง้ั (ภาคผนวก ๓) ๖. การส้นิ สดุ ลงของความเป็นเจ้าพนักงาน ๑.) ขาดคณุ สมบตั ิ ตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์ การแตง่ ตงั้ และการปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องเจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๕ (๑) ๒.) ผู้อำ�นวยการมีคำ�ส่ังให้พ้นจากหน้าท่ี ตามระเบียบกระทรวง มหาดไทย วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑก์ ารแตง่ ตง้ั และการปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องเจา้ พนกั งาน ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๕ (๒) 5สว่ นกฎหมาย สำ�นักมาตรการปอ้ งกันสาธารณภัย กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั

6 ค่มู อื การปฏิบตั งิ าน เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั

บทที่ ๒ อ�ำ นาจหน้าท่ขี องเจา้ พนกั งาน เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมีอำ�นาจหน้าที่ในการ ด�ำ เนนิ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ตามทพี่ ระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และ บรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ ไดก้ ำ�หนดไว้ โดยพระราชบญั ญัติดังกลา่ ว ไดก้ ำ�หนดเง่อื นไขรายละเอยี ด การใช้อำ�นาจหน้าท่ีของเจ้าพนักงานป้องกัน และบรรเทาสาธารณภยั ไว้เปน็ การเฉพาะ ซ่ึงเงื่อนไขรายละเอยี ดของแตล่ ะ เรือ่ งมคี วามแตกตา่ งกัน ดังนนั้ เจ้าพนกั งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จะต้องกระทำ�ตามท่ีพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ บญั ญตั ิใหอ้ �ำ นาจไว้ จึงจะทำ�ใหก้ ารกระทำ�ตา่ ง ๆ ของเจ้าพนกั งาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้รับการรับรอง คุ้มครอง และไม่เป็นการ กระท�ำ ทผ่ี ดิ กฎหมาย นอกจากน้ี ในการใชอ้ �ำ นาจและการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยต้องแต่งเครื่องแบบ ประดับเครอ่ื งหมาย และแสดง บตั รประจ�ำ ตวั ทกุ ครงั้ เวน้ แตม่ เี หตจุ �ำ เปน็ เรง่ ดว่ นอนั ไมอ่ าจหลกี เลย่ี งได้ ทงั้ น้ี เครือ่ งแบบ เคร่อื งหมาย และบัตรประจ�ำ ตวั เจ้าพนกั งานป้องกนั และบรรเทา สาธารณภยั เป็นไปตามแบบท่รี ะเบียบกระทรวงมหาดไทยกำ�หนด ๑. อ�ำ นาจหนา้ ทีข่ องเจา้ พนกั งาน อ�ำ นาจหนา้ ทขี่ องเจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ตามที่ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ กำ�หนดไว้ มีดังตอ่ ไปนี้ ๑.๑ การเข้าดำ�เนินการเบื้องตน้ เพื่อระงบั สาธารณภยั (มาตรา ๒๔ และระเบยี บฯ ขอ้ ๑๐ (๑)) 7สว่ นกฎหมาย สำ�นักมาตรการปอ้ งกันสาธารณภยั กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย

เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยท่ีประสบเหตุ สาธารณภยั มหี นา้ ทต่ี อ้ งเขา้ ด�ำ เนนิ การเบอื้ งตน้ เพอื่ ระงบั สาธารณภยั แลว้ รบี รายงานใหผ้ ู้อำ�นวยการทอ้ งถน่ิ ท่รี ับผิดชอบในพื้นที่น้นั เพอื่ สงั่ การตอ่ ไป ในการเข้าดำ�เนินการเบื้องต้นเพื่อระงับสาธารณภัยนั้น เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมีอำ�นาจดำ�เนินการใด ๆ เพ่ือ คมุ้ ครองชวี ติ หรอื ปอ้ งกนั ภยนั ตรายทจ่ี ะเกดิ แกบ่ คุ คลได้ ในกรณมี เี หตจุ �ำ เปน็ อันไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ โดยเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ผปู้ ระสบเหตมุ อี �ำ นาจด�ำ เนนิ การใด ๆ เพอื่ คมุ้ ครองชวี ติ หรอื ปอ้ งกนั ภยนั ตราย ทจี่ ะเกดิ แกบ่ คุ คลตามหลกั เกณฑม์ าตรฐานการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั และภายใต้เงื่อนไขของสถานการณ์ที่จำ�เป็นในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั นนั้ และอาจเรยี กอาสาสมคั ร หรอื ร้องขอพนักงานฝา่ ยปกครอง หรอื ต�ำ รวจในพน้ื ท่ีช่วยเหลอื ในการดำ�เนินการดงั กลา่ วดว้ ยก็ได้ เน่ืองจากสาธารณภัยอาจเกิดได้ทุกเวลาและสถานท่ี การท่ี กำ�หนดให้ผู้อำ�นวยการต่าง ๆ เป็นผู้ต้องรับผิดชอบในการเข้าดำ�เนินการ ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เสยี ทกุ กรณี ในขอ้ เทจ็ จรงิ ไมอ่ าจจะด�ำ เนนิ การได้ และในแต่ละพ้ืนท่ีย่อมจะมีเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอยู่ เพอื่ ประโยชน์ในการเขา้ ด�ำ เนนิ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในเบอื้ งตน้ ก่อนที่ผู้อำ�นวยการจะเข้าดำ�เนินการตามข้ันตอนของกฎหมายต่อไป จึงกำ�หนดให้เป็นหน้าท่ีของเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยท่ี ประสบสาธารณภยั ทจี่ ะตอ้ งเขา้ ด�ำ เนนิ การเบอ้ื งตน้ เพอ่ื ระงบั สาธารณภยั นน้ั ๑.๒ การเขา้ ไปในอาคารหรอื สถานที่ (มาตรา ๒๖ วรรคหนง่ึ และ ระเบยี บฯ ขอ้ ๑๐ (๒)) เมอ่ื เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั มคี วามจ�ำ เปน็ ต้องเข้าไปในอาคารหรือสถานท่ีใกล้เคียงกับพื้นที่ท่ีเกิดสาธารณภัย เพ่อื ทำ�การป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ใหด้ ำ�เนินการ ดงั นี้ 8 คมู่ ือการปฏบิ ตั งิ าน เจา้ พนกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั

(๑) แสดงเจตนาในการเข้าปฏิบัติหน้าท่ีต่อเจ้าของหรือ ผูค้ รอบครองอาคาร หรอื สถานทกี่ ่อน เมื่อไดร้ บั อนุญาตจงึ เขา้ ไปได้ เว้นแต่ (๑.๑) กรณีไม่มีเจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารหรือ สถานทอี่ ยู่ในเวลานน้ั และปรากฏวา่ ไมม่ ที างเลอื กอน่ื ใดทจ่ี ะลดความสญู เสยี ในชีวิตร่างกายหรือทรัพย์สินของบุคคลอันเน่ืองจากเหตุสาธารณภัยน้ัน เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเข้าไปในอาคารหรือสถานท่ี ดงั กลา่ วได้ (๑.๒) กรณีเม่ือเจ้าของหรือผู้ครอบครองไม่อนุญาตให้ เขา้ ไปในอาคารหรอื สถานท่ี แตห่ ากผอู้ �ำ นวยการซง่ึ ไดค้ วบคมุ หรอื รว่ มในการ ปฏิบัติหน้าที่นั้น เห็นว่ามีความจำ�เป็นต้องเข้าไปในอาคารหรือสถานท่ี ดงั กลา่ ว เพอื่ ท�ำ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั และสง่ั การใหเ้ จา้ พนกั งาน ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยเข้าไปในอาคารหรือสถานทน่ี ้นั ได้ (๒) กระทำ�การเท่าที่จำ�เป็นแห่งการป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั เพอ่ื การยบั ยงั้ แกไ้ ขความเสยี หายทจี่ ะเกดิ ขน้ึ โดยใชค้ วามระมดั ระวงั (๓) เม่ือดำ�เนินการแล้ว ให้รายงานผู้อำ�นวยการในเขตพื้นที่ ท่เี กิดสาธารณภัยน้ันทราบโดยเรว็ ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยบางกรณีอาจต้องเข้าไปใน อาคารหรอื สถานทที่ บี่ คุ คลอนื่ มกี รรมสทิ ธห์ิ รอื สทิ ธคิ รอบครองอยู่ ซงึ่ ตามปกติ ไม่อาจเข้าไปได้เพราะจะเป็นการล่วงละเมิดสิทธิในทรัพย์สินของผู้นั้น เพื่อ ให้การปฏิบัติหน้าท่ีในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเป็นไปอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ จงึ ไดก้ �ำ หนดให้ในกรณจี �ำ เปน็ เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัยสามารถเข้าไปในอาคารหรือสถานที่ที่อยู่ใกล้เคียงกับบริเวณที่ เกิดสาธารณภัยเพอื่ ทำ�การปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยได้ แต่การเข้าไป นน้ั จะกระท�ำ ไดต้ อ่ เมอื่ ไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ ของหรอื ผคู้ รอบครองอาคารหรอื 9ส่วนกฎหมาย ส�ำ นกั มาตรการป้องกนั สาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั

สถานทแี่ ลว้ เวน้ แตไ่ ม่มเี จา้ ของหรือผคู้ รอบครองอยู่ในเวลานน้ั หรือเม่อื อยู่ ภายใตก้ ารควบคมุ ของผอู้ �ำ นวยการ ก็ใหก้ ระท�ำ ไดแ้ มเ้ จา้ ของหรอื ผคู้ รอบครองจะ ไมไ่ ดอ้ นญุ าต โดยยงั คงถอื หลกั การในเรอ่ื งของกรรมสทิ ธแ์ิ ละสทิ ธคิ รอบครองใน อาคารหรอื สถานที่นน้ั อยู่ และการที่จะเข้าไปไดโ้ ดยไม่ต้องไดร้ บั อนุญาตน้ัน ก็จะมีได้เฉพาะกรณีจำ�เป็นหรือกระทำ�การภายใต้คำ�สั่งของผู้อำ�นวยการท่ีมี อำ�นาจตามกฎหมายท่จี ะเขา้ ไปหรอื ใชอ้ าคารหรอื สถานที่ใดเพอื่ การปอ้ งกัน และบรรเทาสาธารณภัย ๑.๓ การส่ังใหเ้ จ้าของหรือผูค้ รอบครองขนย้ายทรัพย์สิน หรอื การ ขนย้ายทรัพย์สินน้ันเอง (มาตรา ๒๖ วรรคสอง วรรคสาม และระเบียบฯ ขอ้ ๑๐ (๓)) เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมีอำ�นาจสั่งให้ เจ้าของหรือผู้ครอบครองขนย้ายทรัพย์สินท่ีอยู่ในอาคารหรือสถานที่ท่ีอยู่ ใกล้เคียงกับพ้ืนท่ีที่เกิดสาธารณภัยซ่ึงเป็นส่ิงท่ีทำ�ให้เกิดสาธารณภัยได้ง่าย ออกจากอาคารหรอื สถานที่ดงั กลา่ วได้ ในกรณีท่ีเจ้าของหรือผู้ครอบครองไม่ปฏิบัติตามคำ�ส่ังให้ ขนยา้ ยทรพั ยส์ นิ ออกจากสถานท่ดี งั กล่าว เจ้าพนักงานป้องกนั และบรรเทา สาธารณภยั มอี �ำ นาจขนยา้ ยทรพั ยส์ นิ นน้ั ได ้ ตามความจ�ำ เปน็ แกก่ ารปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย โดยเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ไมต่ อ้ งรบั ผิดชอบบรรดาความเสยี หายอนั เกดิ จากการกระท�ำ ดงั กลา่ ว ในการขนย้ายทรัพย์สินนั้น เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั ตอ้ งขนยา้ ยทรพั ยส์ นิ ไปไวย้ งั สถานทที่ ปี่ ลอดภยั เมอ่ื ไดด้ �ำ เนนิ การแลว้ และทรัพย์สินดังกล่าวเป็นวัตถุอันตรายหรือสารเคมี ให้ประสานเจ้าหน้าที่ หรือหน่วยงานของรฐั อื่น ๆ ท่ีมหี น้าท่ีโดยตรงเพอื่ ด�ำ เนินการต่อไป การใช้อำ�นาจหน้าท่ีของเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทา 10 คู่มอื การปฏบิ ตั ิงาน เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

สาธารณภัยตามข้อนี้ เพื่อป้องกันความเสียหายอันอาจเกิดแก่ทรัพย์สิน ในอาคารหรือสถานที่ของเจ้าของหรือผู้ครอบครอง จึงได้กำ�หนดให้ เจ้าพนักงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยเข้าดำ�เนนิ การดงั กล่าวได้ โดย ไมต่ อ้ งรบั ผดิ ชอบบรรดาความเสยี หายอนั เกดิ จากการกระท�ำ ดงั กลา่ ว เนอ่ื งจาก ไดม้ ีการแจง้ ให้ผู้เปน็ เจ้าของหรือผคู้ รอบครองไดท้ ราบเพือ่ ดำ�เนนิ การแลว้ ๑.๔ การแจ้งใหต้ รวจสอบอาคารหรอื สถานท่ี (มาตรา ๔๐) ในกรณที ่เี จา้ พนักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พบเห็น วา่ อาคารหรอื สถานที่ใดมสี ภาพทอ่ี าจก่อให้เกิดสาธารณภัยได้โดยง่าย หรอื มีวัสดุหรือส่ิงของใดในอาคารหรือสถานท่ีใด ท่ีอาจก่อให้เกิดสาธารณภัยได้ ให้แจง้ พนกั งานเจา้ หนา้ ทต่ี ามกฎหมายวา่ ด้วยการนนั้ ทราบ เพอื่ ตรวจสอบ ตามอ�ำ นาจหนา้ ท่ตี ่อไป เชน่ ตรวจสอบวา่ อาคารใดไม่ได้มาตรฐาน หรืออยู่ ในสภาพที่ไม่ปลอดภัยอาจก่อให้เกิดอันตรายข้ึนได้ ก็ให้มีอำ�นาจแจ้ง เจา้ พนกั งานควบคมุ อาคารเพอ่ื ท�ำ การตรวจสอบตามกฎหมายควบคมุ อาคาร เปน็ ต้น ๑.๕ การปฏิบตั ติ ามคำ�สงั่ ของผู้อำ�นวยการทอ้ งถน่ิ (มาตรา ๒๑) เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั มหี นา้ ทปี่ ฏบิ ตั ติ าม ค�ำ สง่ั ของผ้อู �ำ นวยการทอ้ งถนิ่ ในกรณเี ม่ือเกดิ หรอื คาดว่าจะเกดิ สาธารณภยั ข้ึนในเขตขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินแล้ว ผู้อำ�นวยการท้องถ่ินส่ังให้ เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในเขตองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ แหง่ พน้ื ทที่ เี่ กดิ สาธารณภยั ใหป้ ฏบิ ตั กิ ารอยา่ งหนงึ่ อยา่ งใดตามความจ�ำ เปน็ ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ๑.๖ การดดั แปลง ท�ำ ลาย หรือเคล่อื นยา้ ยส่ิงก่อสรา้ ง วัสดุ หรอื ทรพั ยส์ นิ (มาตรา ๒๕ และระเบยี บฯ ขอ้ ๑๑) เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั มอี �ำ นาจดดั แปลง 11ส่วนกฎหมาย สำ�นกั มาตรการป้องกนั สาธารณภยั กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั

ท�ำ ลาย หรือเคลอื่ นยา้ ยสิง่ กอ่ สรา้ ง วสั ดุ หรือทรพั ยส์ ินของบคุ คลใดที่เปน็ อปุ สรรคแกก่ ารบ�ำ บดั ปดั ปอ้ งภยนั ตรายไดต้ ามทผี่ อู้ �ำ นวยการสง่ั เฉพาะเทา่ ที่ จ�ำ เปน็ แกก่ ารยบั ยั้ง หรอื แก้ไขความเสียหายทจ่ี ะเกิดข้ึนจากสาธารณภัยนั้น ในกรณีท่ีเกดิ สาธารณภยั และภยนั ตรายจากสาธารณภยั นัน้ ใกลจ้ ะถงึ การดัดแปลง ท�ำ ลาย หรอื เคลื่อนย้ายสิ่งก่อสร้าง วัสดุ หรือ ทรพั ยส์ นิ ของบคุ คลใดทเี่ ปน็ อปุ สรรคแกก่ ารบ�ำ บดั ปดั ปอ้ งภยนั ตรายดงั กลา่ วนน้ั หากกระท�ำ ภายในอาคารหรอื สถานที่ของบคุ คลอ่ืนใหป้ ฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ตามข้อ ๑.๒ โดยอนุโลม และใหก้ ระท�ำ เทา่ ที่จ�ำ เปน็ แกก่ ารยบั ยั้งหรอื แก้ไข ความเสียหายที่จะเกิดข้นึ จากสาธารณภัย ๑.๗ การจดั ใหม้ สี ถานทช่ี ว่ั คราว/การจดั ระเบยี บการจราจรชว่ั คราว/ การปดิ กนั้ มใิ หเ้ ขา้ ไปในพน้ื ท/่ี การจดั ใหม้ กี ารรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ย(มาตรา ๒๗ (๑) - (๔) และระเบยี บฯ ข้อ ๑๑ (๒)) เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ซงึ่ ไดร้ บั มอบหมาย จากผ้อู �ำ นวยการมอี �ำ นาจหนา้ ทดี่ �ำ เนินการ (๑) จดั ใหม้ สี ถานทช่ี ว่ั คราวเพอื่ ใหผ้ ปู้ ระสบภยั อยอู่ าศยั หรอื รบั การปฐมพยาบาล และการรกั ษาทรพั ย์สนิ ของผู้ประสบภยั (๒) จัดระเบียบการจราจรชั่วคราวในพื้นท่ีท่ีเกิดสาธารณภัย และพ้ืนที่ใกลเ้ คยี ง เพื่อประโยชน์ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย (๓) ปดิ กนั้ มิใหผ้ ไู้ มม่ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งเขา้ ไปในพนื้ ทที่ เ่ี กดิ สาธารณภยั และพื้นท่ีใกล้เคียง (๔) จัดให้มีการรักษาความสงบเรียบร้อยและป้องกันเหตุ โจรผรู้ า้ ย 12 คูม่ อื การปฏบิ ัตงิ าน เจ้าพนักงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั

ในการดำ�เนินการดังกล่าวข้างต้น เจ้าพนักงานป้องกันและ บรรเทาสาธารณภยั จะด�ำ เนนิ การเองหรอื มอบหมายใหพ้ นกั งานฝา่ ยปกครอง หรอื ตำ�รวจในพน้ื ทเ่ี ปน็ ผดู้ �ำ เนนิ การ หรอื ช่วยดำ�เนินการก็ได้ ๑.๘ การช่วยเหลือผู้ประสบภัยและช่วยขนย้ายทรัพย์สิน (มาตรา ๒๗ (๕) และระเบียบฯ ข้อ ๑๑ (๒)) เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ซง่ึ ไดร้ บั มอบหมาย จากผอู้ �ำ นวยการ มีอ�ำ นาจหน้าทีด่ ำ�เนินการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัย และช่วย ขนยา้ ยทรัพยส์ นิ ในพื้นทท่ี เ่ี กิดสาธารณภยั และพ้ืนท่ีใกลเ้ คยี ง เมอ่ื เจา้ ของ หรอื ผคู้ รอบครองทรพั ยส์ นิ รอ้ งขอ โดยประสานกบั พนกั งานฝา่ ยปกครองหรอื ต�ำ รวจในเขตพน้ื ที่ใหร้ ว่ มปฏบิ ตั กิ ารดว้ ย ส�ำ หรบั กรณกี ารชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ให้ประสานกบั องคก์ ารสาธารณกศุ ลให้ชว่ ยเหลืออีกทางหนง่ึ ดว้ ย ๑.๙ การจัดให้มีเคร่ืองหมายหรืออาณัติสัญญาณ (มาตรา ๒๗ วรรคสอง) เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ซงึ่ ไดร้ บั มอบหมาย จากผู้อำ�นวยการจะจัดให้มีเคร่ืองหมายหรืออาณัติสัญญาณเพ่ือใช้ในการ กำ�หนดสถานท่ีหรือการดำ�เนินการจัดให้มีสถานที่ช่ัวคราว การจัดระเบียบ การจราจรชวั่ คราว การปดิ ก้นั มิใหเ้ ข้าไปในพน้ื ท่ี การจดั ใหม้ กี ารรกั ษาความ สงบเรียบร้อยตามข้อ ๑.๗ และการช่วยเหลือผู้ประสบภัยและช่วยขนย้าย ทรัพยส์ นิ ตามข้อ ๑.๘ ก็ได้ ๑.๑๐ การสง่ั อพยพ (มาตรา ๒๘) เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ซง่ึ ไดร้ บั มอบหมาย มอี ำ�นาจสั่งอพยพผซู้ ง่ึ อยู่ในพืน้ ท่ีเกิดหรอื ใกลจ้ ะเกดิ สาธารณภยั และการท่ี ผู้ใดอยู่อาศัยในพ้ืนท่ีน้ันจะก่อให้เกิดภยันตรายหรือกีดขวางต่อการปฏิบัติ หน้าท่ีของเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ออกไปจากพื้นที่ 13ส่วนกฎหมาย สำ�นักมาตรการป้องกนั สาธารณภัย กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย

ดังกล่าวได้ เฉพาะเท่าท่จี �ำ เป็นแกก่ ารปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย การสั่งอพยพผู้ซ่งึ อยู่ในพน้ื ทีท่ ีเ่ กดิ หรือใกล้จะเกิดสาธารณภยั ออกไปจากพื้นท่ี เพอ่ื การป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ให้ดำ�เนนิ การโดย จดั ลำ�ดับความสำ�คัญของกล่มุ ผ้ปู ่วยทุพพลภาพ คนพกิ าร คนชรา เดก็ สตรี ควรได้รับการพิจารณาใหอ้ พยพไปก่อน และต้องค�ำ นึงถึงการจดั ใหม้ สี ถานท่ี ปลอดภยั และทอี่ ยอู่ าศยั ชว่ั คราวแกผ่ ปู้ ระสบภยั และเจา้ หนา้ ที่ การจดั ระเบยี บ พน้ื ทอ่ี พยพใหเ้ หมาะสมเปน็ สดั สว่ น การจดั ระเบยี บการจราจรในพน้ื ทรี่ องรบั การอพยพดว้ ย รวมทัง้ การน�ำ ผอู้ พยพกลับไปส่ทู ต่ี ้ังเดิมหากสถานการณ์ภัย ได้สิน้ สดุ ลงแลว้ ๑.๑๑ การมอบหมายภารกิจหรอื จัดสถานทใี่ ห้ (มาตรา ๔๒) เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ท่ีไดร้ บั มอบหมาย มอี �ำ นาจมอบหมายภารกจิ หรอื จดั สถานท่ีใหอ้ งคก์ ารสาธารณกศุ ลและบคุ คล ซ่ึงเข้ามาช่วยเหลือการปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั ในระหว่างเกิดสาธารณภัย ได้ตามท่เี ห็นสมควร ๒. เขตอ�ำ นาจของเจา้ พนักงาน พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้กำ�หนดให้มีผู้รับผิดชอบในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในระดับ ตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหก้ ารปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในแตล่ ะพนื้ ทม่ี ผี รู้ บั ผดิ ชอบ ในการดำ�เนินการที่ชัดเจนและสามารถเข้าดำ�เนินการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันต่อสถานการณ์ รวมท้ังจะทำ�ให้ เกิดการดำ�เนินการอย่างเป็นระบบ และได้มีการกำ�หนดเขตอำ�นาจของ เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยไว้ ดงั ต่อไปน้ี (๑) เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ซงึ่ ไดร้ บั การแตง่ ตง้ั จากอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะผู้อำ�นวยการกลาง 14 ค่มู อื การปฏบิ ตั ิงาน เจา้ พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ปฏิบัตหิ น้าที่ไดท้ ั่วราชอาณาจกั ร (๒) เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ซงึ่ ไดร้ บั การแตง่ ตงั้ จาก ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ในฐานะผอู้ �ำ นวยการจงั หวดั ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีได้ในเขตจงั หวดั (๓) เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ซง่ึ ไดร้ บั การแตง่ ตงั้ จาก นายอำ�เภอ ในฐานะผอู้ ำ�นวยการอ�ำ เภอ ปฏิบัติหนา้ ท่ีได้ในเขตอำ�เภอ (๔) เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ซง่ึ ไดร้ บั การแตง่ ตง้ั จาก ผบู้ รหิ ารทอ้ งถนิ่ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในฐานะผอู้ �ำ นวยการทอ้ งถนิ่ ปฏิบัติหนา้ ท่ีได้ในเขตองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ แห่งพ้ืนที่ (๕) เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ซง่ึ ไดร้ บั การแตง่ ตง้ั จาก ผู้วา่ ราชการจังหวัดกรุงเทพมหานคร ในฐานะผ้อู �ำ นวยการกรุงเทพมหานคร ปฏิบตั หิ นา้ ที่ได้ในเขตกรุงเทพมหานคร แต่ในกรณที เ่ี ปน็ การด�ำ เนนิ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ภายใน เขตทหารหรือท่ีเกี่ยวกับกิจการ เจ้าหน้าที่ หรือทรัพย์สินในราชการทหาร ต้องเป็นไปตามความตกลงเป็นหนังสือร่วมกันระหว่างผู้อำ�นวยการจังหวัด หรือผู้อำ�นวยการกรุงเทพมหานครและผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพ้ืนท่ี ท่ีเก่ียวข้อง เว้นแต่เป็นกรณีการส่ังการของนายกรัฐมนตรีหรือรองนายก รฐั มนตรีในกรณเี กิดสาธารณภยั ร้ายแรงอยา่ งย่ิง 15สว่ นกฎหมาย ส�ำ นักมาตรการป้องกันสาธารณภยั กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั

16 คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน เจ้าพนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั

บทท่ี ๓ การปฏิบตั หิ น้าทข่ี องเจา้ พนักงาน การปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อยภู่ ายใตก้ ารบงั คบั บญั ชาสงั่ การ และการควบคมุ ก�ำ กบั ดแู ลของผดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ตามทก่ี �ำ หนดไว้ในพระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของประเทศ มผี รู้ ับผิดชอบทีช่ ดั เจน ไม่เกดิ ความซ�ำ้ ซอ้ น รวมทัง้ ลดขั้นตอนท่ีไมจ่ �ำ เป็น เพื่อให้เกิดความรวดเร็ว และคล่องตวั ยิ่งขึน้ อำ�นาจบงั คับบัญชาสัง่ การ และ ควบคุมกำ�กับดูแล ตามที่กำ�หนดไว้ในพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นการกำ�หนดหลักเกณฑ์ว่าผู้ดำ�รงตำ�แหน่ง ใดบ้างมีอำ�นาจในการบัญชาการส่ังการและส่ังการผู้ใดได้บ้าง ขอบเขตของ อ�ำ นาจในการสงั่ การมมี ากนอ้ ยเพยี งใด โดยมกี ารน�ำ ระบบบญั ชาการเหตกุ ารณ์ (Incident Command System : ICS) มาใช้เพ่ือประโยชน์ในการสั่งการ ควบคมุ และประสานความรว่ มมอื ของแตล่ ะหนว่ ยงานในการบรหิ ารสถานการณ์ ฉุกเฉิน และเพือ่ ระดมทรัพยากรไปยังทเ่ี กดิ เหตุ นอกจากน้ี ภยั พบิ ตั ขิ นาดใหญไ่ มไ่ ดเ้ กดิ ขน้ึ เปน็ ประจ�ำ ทกุ วนั การจดั เตรยี ม อัตรากำ�ลังเจ้าหน้าที่เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ให้เพียงพอสำ�หรับระงับภัย ขนาดใหญไ่ วต้ ลอดเวลา จะเปน็ การสนิ้ เปลอื งงบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ยของประเทศ ไปโดยใช่เหตุ ด้วยเหตุนี้ การมีผู้ให้ความช่วยเหลือเจ้าพนักงานใน การด�ำ เนนิ การจดั การสาธารณภยั จงึ เปน็ เรอื่ งส�ำ คญั และชว่ ยลดคา่ ใชจ้ า่ ยใน เรอื่ งนล้ี งไดม้ าก พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ จึงได้กำ�หนดให้มีการดำ�เนินการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในส่วนผู้ที่ ท�ำ หนา้ ท่ีใหค้ วามชว่ ยเหลอื เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ไวด้ ว้ ย 17ส่วนกฎหมาย ส�ำ นักมาตรการปอ้ งกนั สาธารณภัย กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั

๑. ผู้บังคบั บญั ชาส่ังการ และควบคุมก�ำ กบั ดูแล พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้ กำ�หนดให้ผู้ดำ�รงตำ�แหน่งนายกรัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรีที่ นายกรฐั มนตรมี อบหมาย ผู้บัญชาการ รองผบู้ ญั ชาการ ผูอ้ �ำ นวยการกลาง ผู้อำ�นวยการจังหวัด ผู้อำ�นวยการอำ�เภอ ผู้อำ�นวยการท้องถิ่น มีอำ�นาจ ในการบงั คบั บญั ชาสงั่ การ และควบคมุ ก�ำ กบั การปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องเจา้ พนกั งาน ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ดงั น้ี ๑.๑ นายกรฐั มนตรี หรอื รองนายกรฐั มนตรที น่ี ายกรฐั มนตรมี อบหมาย เมอื่ เกิดสาธารณภัยรา้ ยแรงอยา่ งยิ่ง มอี �ำ นาจในการ (๑) บังคับบัญชาส่ังการเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั ได้ทวั่ ราชอาณาจกั ร (๒) สงั่ การเจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในเขต องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินพื้นที่ท่ีเกิดสาธารณภัย ปฏิบัติการอย่างหน่ึง อย่างใด ตามความจ�ำ เปน็ ในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย (๓) ควบคุมกำ�กับการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงานป้องกัน และบรรเทาสาธารณภยั ในการด�ำ เนนิ การ ดังนี้ (๓.๑) การดัดแปลง ทำ�ลาย เคลือ่ นย้ายสิ่งกอ่ สรา้ ง วัสดุ หรือทรัพย์สินของบุคคลใด ที่เป็นอุปสรรคแก่การบำ�บัดปัดป้องภยันตราย เทา่ ทจ่ี �ำ เปน็ แกก่ ารยบั ยง้ั หรอื แกไ้ ขความเสยี หายทจี่ ะเกดิ จากสาธารณภยั นน้ั (๓.๒) การสง่ั อพยพผทู้ อ่ี าศยั อยู่ในพนื้ ทท่ี เ่ี กดิ สาธารณภยั ซงึ่ จะก่อให้เกิดภยันตราย หรอื กดี ขวางต่อการปฏบิ ัติหน้าทีข่ องเจา้ พนกั งาน ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย (๓.๓) การป้องกันมิให้บุคคลใดเข้าไปในพ้ืนที่ที่เกิดหรือ 18 คู่มอื การปฏิบัตงิ าน เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย

ใกล้จะเกดิ สาธารณภยั ตามคำ�สง่ั ของผ้บู ญั ชาการ รองผบู้ ัญชาการ ผอู้ ำ�นวย การกลาง ผอู้ �ำ นวยการจงั หวัด ผอู้ �ำ นวยการอ�ำ เภอและผู้อ�ำ นวยการทอ้ งถิ่น ๑.๒ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในฐานะผู้บัญชาการ มีอำ�นาจดงั นี้ (๑) ควบคุมและกำ�กับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ทว่ั ราชอาณาจกั รใหเ้ ปน็ ไปตามแผนปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ และตามพระราชบญั ญตั ปิ ้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ (๒) บงั คบั บัญชาและสัง่ การ เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัยไดท้ วั่ ราชอาณาจักร ๑.๓ ปลัดกระทรวงมหาดไทยในฐานะรองผู้บัญชาการ มีอำ�นาจ บงั คบั บญั ชาและสง่ั การเจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ไดท้ ว่ั ราช อาณาจักร รองจากผู้บญั ชาการ ๑.๔ อธบิ ดกี รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในฐานะผอู้ �ำ นวยการ กลาง มีอำ�นาจดงั นี้ (๑) ควบคมุ และก�ำ กบั การปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องเจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยได้ท่วั ราชอาณาจกั ร (๒) สั่งการใหเ้ จ้าพนกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยท่มี ี อ�ำ นาจในพืน้ ท่ี ดดั แปลง ท�ำ ลาย เคลอ่ื นยา้ ยสง่ิ กอ่ สร้าง วสั ดุ หรือทรัพย์สิน ของบุคคลใด ท่ีเป็นอปุ สรรคแก่การบ�ำ บัด ปัดปอ้ งภยนั ตราย เทา่ ที่จำ�เปน็ แก่การยบั ยง้ั หรอื แกไ้ ขความเสยี หายทจ่ี ะเกดิ จากสาธารณภยั นัน้ ๑.๕ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ในฐานะผอู้ ำ�นวยการจงั หวดั และผวู้ า่ ราชการ กรุงเทพมหานครในฐานะผู้อ�ำ นวยการกรงุ เทพมหานคร มอี �ำ นาจดังนี้ 19ส่วนกฎหมาย ส�ำ นกั มาตรการป้องกันสาธารณภัย กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั

(๑) ส่ังการ ควบคุม และกำ�กับดูแลการปฏิบัติหน้าท่ีของ เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตจังหวัดของตนให้เป็นไป ตามพระราชบญั ญัติปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ (๒) ส่ังการให้เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยใน เขตจงั หวัด ดดั แปลง ท�ำ ลาย เคล่ือนยา้ ยสงิ่ ก่อสร้าง วสั ดุ หรือทรัพย์สนิ ของ บคุ คลใด ทเ่ี ป็นอุปสรรคแกก่ ารบ�ำ บัด ปัดป้องภยนั ตราย เทา่ ทีจ่ ำ�เปน็ แก่การ ยบั ยงั้ หรอื แกไ้ ขความเสียหายทจี่ ะเกิดจากสาธารณภัยนน้ั (๓) ส่ังให้เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขต จงั หวดั ปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งหนงึ่ อยา่ งใดตามความจ�ำ เปน็ ในการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัย ๑.๖ นายอำ�เภอในฐานะผู้อำ�นวยการอำ�เภอ มอี �ำ นาจดงั นี้ (๑) สั่งการ ควบคุม และกำ�กับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของ เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตอำ�เภอของตนให้เป็นไป ตามพระราชบญั ญตั ิปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ (๒) สั่งการให้เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยใน เขตอ�ำ เภอ ดดั แปลง ทำ�ลาย เคล่ือนยา้ ยส่ิงก่อสร้าง วสั ดุ หรอื ทรัพยส์ นิ ของ บคุ คลใด ที่เปน็ อุปสรรคแก่การบ�ำ บัด ปัดป้องภยันตราย เทา่ ท่จี �ำ เปน็ แก่การ ยบั ยง้ั หรอื แก้ไขความเสียหายทจ่ี ะเกดิ จากสาธารณภัยนั้น (๓) ส่ังให้เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขต อ�ำ เภอปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งหนง่ึ อยา่ งใดตามความจ�ำ เปน็ ในการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัย ๑.๗ ผู้บริหารท้องถ่ินขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในฐานะ ผอู้ ำ�นวยการท้องถน่ิ มีอำ�นาจดังน้ี 20 คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ าน เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั

(๑) สั่งการ ควบคุม และกำ�กับดูแลการปฏิบัติหน้าท่ีของ เจา้ พนกั งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ในเขตทอ้ งถ่ินของตนใหเ้ ป็นไป ตามพระราชบัญญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ (๒) ส่ังการให้เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยใน เขตทอ้ งถน่ิ ดดั แปลง ท�ำ ลาย เคลอื่ นยา้ ยสง่ิ กอ่ สรา้ ง วสั ดุ หรอื ทรพั ยส์ นิ ของ บุคคลใด ที่เป็นอุปสรรคแก่การบำ�บัด ปัดป้องภยันตราย เท่าท่ีจำ�เป็นแก่ การยับยั้งหรอื แกไ้ ขความเสยี หายทจ่ี ะเกิดจากสาธารณภัยน้ัน (๓) สั่งให้เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขต องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของตนปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตาม ความจำ�เปน็ ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ๒. ผู้ใหค้ วามชว่ ยเหลอื เจ้าพนักงาน พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้ กำ�หนดให้มีผู้ที่ทำ�หน้าท่ีให้ความช่วยเหลือเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั ดงั นี้ ๒.๑ อาสาสมัคร อาสาสมัคร มีหน้าที่ให้ความช่วยเหลือเจ้าพนักงานในการ ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ซง่ึ ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั นนั้ บางพนื้ ทด่ี ว้ ยจ�ำ นวนอตั ราก�ำ ลงั ของเจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทจ่ี ะปฏบิ ตั หิ นา้ ทมี่ ไี มเ่ พยี งพอ ดงั นน้ั เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื ของประชาชน ในพน้ื ท่ี พระราชบัญญตั ิปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ จงึ ได้ กำ�หนดให้ผู้อำ�นวยการจัดให้มีอาสาสมัครในพ้ืนท่ีท่ีรับผิดชอบเพื่อปฏิบัติ หนา้ ท่ีในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั โดยก�ำ หนดใหก้ ารบรหิ ารและ ก�ำ กบั ดแู ลอาสาสมคั ร การคดั เลอื ก เครอื่ งแตง่ กาย เครอื่ งหมาย บตั รประจ�ำ ตวั สทิ ธิ หนา้ ท่ี และวนิ ยั ของอาสาสมคั ร เปน็ ไปตามระเบยี บทก่ี ระทรวงมหาดไทย 21สว่ นกฎหมาย ส�ำ นักมาตรการปอ้ งกนั สาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั

ก�ำ หนด และกระทรวงมหาดไทยไดก้ �ำ หนดเรอ่ื งดงั กลา่ วไว้ในระเบยี บกระทรวง มหาดไทยว่าด้วยกจิ การอาสาสมัครป้องกนั ภัยฝ่ายพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๓ ๒.๒ องคก์ ารสาธารณกศุ ลหรอื บคุ คลซง่ึ เขา้ มาชว่ ยเหลอื การปฏบิ ตั ิ หนา้ ที่ของเจา้ พนกั งาน ในระหว่างเกิดสาธารณภัย เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั ที่ไดร้ บั มอบหมาย มีอ�ำ นาจมอบหมายภารกิจหรือจดั สถานท่ีให้ องค์การสาธารณกุศลและบุคคลซึ่งเข้ามาช่วยเหลือการปฏิบัติหน้าท่ีในการ ให้ความช่วยเหลือได้ตามที่เห็นสมควร ซึ่งได้แก่ การดำ�เนินการช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย การช่วยขนย้ายทรัพย์สินในพื้นท่ีท่ีเกิดสาธารณภัยและพื้นที่ ใกลเ้ คียง เมอ่ื เจ้าของหรือผ้คู รอบครองทรพั ย์สินร้องขอ ๒.๓ พนกั งานฝา่ ยปกครองหรือต�ำ รวจในพืน้ ท่ี เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั อาจมอบหมายให้ พนกั งานฝา่ ยปกครองหรอื ต�ำ รวจในพน้ื ทเี่ ปน็ ผดู้ �ำ เนนิ การ หรอื ชว่ ยด�ำ เนนิ การ ในกรณดี ังต่อไปนี้ได้ (๑) จัดระเบียบการจราจรช่ัวคราวในพื้นที่ท่ีเกิดสาธารณภัย และพื้นท่ีใกลเ้ คยี ง เพ่ือประโยชน์ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (๒) ปดิ กน้ั มิใหผ้ ไู้ มม่ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งเขา้ ไปในพน้ื ทที่ เ่ี กดิ สาธารณภยั และพ้นื ท่ีใกล้เคยี ง (๓) จัดให้มีการรักษาความสงบเรียบร้อยและป้องกันเหตุ โจรผูร้ ้าย 22 ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงาน เจา้ พนักงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั

บทท่ี ๔ ความคมุ้ ครอง และบทกำ�หนดโทษ การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กฎหมายได้กำ�หนดอำ�นาจหน้าท่ีของเจ้าพนักงานดังที่กล่าวไว้ในบทท่ี ๒ ซึ่งในการใช้อำ�นาจหน้าท่ีจะต้องกระทำ�ตามอำ�นาจหน้าท่ีตามท่ีกฎหมาย ก�ำ หนดไว้ จงึ จะไดร้ บั ความคมุ้ ครองตามกฎหมาย และพระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ ไดม้ บี ทบญั ญตั เิ ก่ยี วกับการค้มุ ครอง และควบคมุ เจา้ พนกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยไว้ ดังน้ี ๑. ความคมุ้ ครอง พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๔๓ ได้กำ�หนดให้ เจ้าพนักงานซ่ึงปฏิบัติการตามหน้าท่ีในการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภยั เปน็ เจา้ พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา และในการ ปฏบิ ัติการตามหน้าท่ดี ังกล่าว หากได้ด�ำ เนนิ การไปตามอ�ำ นาจหน้าท่ี และ ได้กระทำ�ไปพอสมควรแก่เหตุและมิได้ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ให้ผู้กระทำ�การนน้ั พน้ จากความรบั ผดิ ท้ังปวง และในการดำ�เนินการดังกล่าว หากเกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของผู้ใดซ่ึงมิใช่เป็นผู้ได้รับประโยชน์จาก การบ�ำ บดั ภยนั ตรายจากสาธารณภยั นนั้ ใหท้ างราชการชดเชยความเสยี หาย ที่เกิดข้ึนให้แกผ่ ูน้ น้ั ตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารทีก่ �ำ หนดในกฎกระทรวง ๑.๑ การเป็นเจา้ พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา คำ�ว่า “เจ้าพนักงาน” นั้น กฎหมายมิได้กำ�หนดคำ�นิยามไว้ แต่บุคคลท่ีเป็นเจ้าพนักงานน้ันมีฐานะนอกเหนือไปจากบุคคลธรรมดา บางประการเน่ืองจากผลของอำ�นาจหน้าท่ีที่ต้องปฏิบัติ ซ่ึงมีท้ังผลในทาง 23สว่ นกฎหมาย สำ�นกั มาตรการป้องกนั สาธารณภยั กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั

คุ้มครองและผลในทางควบคุมบุคคลผู้เป็นเจ้าพนักงานนั้น ผลที่ว่านี้จะ เกดิ ขนึ้ กต็ อ่ เมอ่ื เปน็ กรณเี กย่ี วเนอื่ งอยู่ในหนา้ ทก่ี ารงานของผนู้ น้ั บทกฎหมาย ท่ีคุ้มครองหรือควบคุมเจ้าพนักงานจึงมีความหมายเฉพาะที่เก่ียวเนื่องกับ การปฏิบัติหน้าที่การงาน ไม่เกี่ยวไปถึงการกระทำ�ในเรื่องส่วนตัวบุคคลน้ัน โดยเฉพาะ (๑) ผลในทางค้มุ ครองเจา้ พนกั งาน คือ เจา้ พนกั งานจะไดร้ บั ความคุ้มครองตามประมวลกฎหมายอาญา หากมีบุคคลใดมากระทำ�กับ เจา้ พนกั งานก็จะไดร้ บั โทษทางอาญา เชน่ - การกล่าวดูหม่ินเจ้าพนกั งานซ่ึงกระทำ�การตามหนา้ ที่ หรอื เพราะไดก้ ระท�ำ การตามหนา้ ท่ี เปน็ ความผดิ ฐานดหู มนิ่ เจา้ พนกั งานตาม ประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๑๓๖ ตัวอย่างเช่น พูดว่าตำ�รวจผู้จับว่า “ตำ�รวจเฮงซวย ถือว่ามีอำ�นาจก็ทำ�ไปตามอำ�นาจ จะต้องให้เจอดีเสียบ้าง” (ฎกี าที่ ๘๖๒/๒๕๐๘) จ�ำ เลยพดู ด่าร้อยตำ�รวจโท ป. รอ้ ยตำ�รวจโท ส. และ รอ้ ยต�ำ รวจตรี ซ กับพวกว่า “ไอ้พวกอันธพาล ไอ้พวกฉบิ หาย ไอม้ อื ปืน” ขณะท่ีตำ�รวจเหล่านั้นจะเข้าตรวจค้นบ้านจำ�เลยตามหมายค้น (ฎีกาที่ ๕๔๗๙/๓๕๓๖) - การแสดงตนเป็นเจ้าพนักงาน และกระทำ�การเป็น เจ้าพนกั งาน โดยตนเองมิได้เปน็ เจ้าพนักงานท่มี อี ำ�นาจกระท�ำ การนัน้ เปน็ ความผิดฐานแสดงตัวเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๑๔๕ ตัวอย่างเช่น นุ่งกางเกงกากี เส้ือคอกลมขาว คาดเข็มขัดหนัง แต่งอย่างตำ�รวจนอกเครื่องแบบยืนเรียกให้รถบรรทุกหยุดตรวจ มีตำ�รวจ ในเคร่ืองแบบในรถยนต์ตำ�รวจทางหลวงใกล้ ๆ กัน เป็นการแสดงตนและ ทำ�การเปน็ ตำ�รวจทางหลวง (ฎีกาที่ ๒๐๙๙/๒๕๒๗) (๒) ผลในทางควบคุมเจ้าพนักงาน บทบัญญัติของกฎหมาย ทางอาญาได้กำ�หนดการกระทำ�ของเจ้าพนักงานไว้เช่นกันว่า การกระทำ�ใด 24 ค่มู ือการปฏิบตั ิงาน เจ้าพนักงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย

เป็นความผิดตอ่ ตำ�แหน่งหน้าท่รี าชการซึ่งจะต้องรบั โทษทางอาญา เช่น - เจา้ พนักงาน เรียก รบั หรือยอมจะรับทรพั ย์สินหรือ ประโยชน์อ่ืนใดสำ�หรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ เพื่อกระทำ�การใดหรือ ไมก่ ระท�ำ การอย่างใดในต�ำ แหน่ง ไม่ว่าการนัน้ จะชอบหรือมิชอบด้วยหน้าที่ เป็นความผิดฐานเจ้าพนักงานเรียกรับสินบนตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๔๙ ตัวอยา่ งเช่น เจา้ พนกั งานจับคนร้ายลกั ทรัพย์ได้ เรยี กเงินจาก คนร้ายและปล่อยคนร้ายไป (ฎีกาท่ี ๑๕๔/๒๕๐๓) เจ้าพนักงานตำ�รวจ พบ อ.ขบั รถยนตบ์ รรทกุ เกนิ น�ำ้ หนกั ตามทก่ี ฎหมายก�ำ หนด ไดจ้ บั กมุ คนขบั รถ ถือว่าเป็นการปฏิบัติหน้าที่ตามตำ�แหน่งโดยชอบแล้ว เม่ือรับเงินจาก อ. ก็ละเวน้ ไม่แจง้ ข้อความแก่ อ. การกระทำ�ดงั กลา่ วเป็นความผดิ ตามมาตรา ๑๔๙ (ฎกี าท่ี ๒๓๔๕/๒๕๓๖) - เจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ีโดย มิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเว้นการ ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีโดยทจุ รติ เปน็ ความผดิ ฐานตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๑๕๗ ตวั อยา่ งเชน่ เปน็ เจา้ พนกั งานมอี �ำ นาจหนา้ ทสี่ บื สวนสอบสวนคดอี าญา ในระหว่างสอบสวนโจทก์ ได้ทำ�ร้ายโจทก์ เพราะโจทก์ไม่ยอมรับสารภาพ ไมย่ อมลงลายชอ่ื ตามทต่ี อ้ งการจงึ เปน็ การปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีโดยมชิ อบเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเสยี หายแก่โจทก์ (ฎีกาที่ ๑๓๙๙/๒๕๐๘) เปน็ ประธานกรรมการบรหิ าร องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำ บลเปน็ เจา้ พนกั งาน การทนี่ �ำ งบประมาณมาจดั ประมลู ใหผ้ ู้รบั เหมาตามที่ตนเองตอ้ งการ เป็นการแสวงหาผลประโยชน์เพ่ือตนเอง หรือผู้อ่ืนโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย เป็นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต (ฎีกาที่ ๔๕๓๒/๒๕๓๔) ทงั้ น้ี ความผิดตอ่ ต�ำ แหนง่ หนา้ ทีร่ าชการ ตามปกตจิ ะมคี วามผิดแต่ เฉพาะบุคคลผู้เป็นเจ้าพนักงานเท่านั้น บุคคลธรรมดาซ่ึงกระทำ�การเช่น เดียวกันโดยลำ�พังไมม่ คี วามผิดตอ่ ต�ำ แหน่งหน้าทร่ี าชการ ถา้ บุคคลธรรมดา 25สว่ นกฎหมาย ส�ำ นักมาตรการปอ้ งกันสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

กระท�ำ รว่ มกบั เจา้ พนกั งาน บคุ คลธรรมดากเ็ ปน็ ไดแ้ ตผ่ สู้ นบั สนนุ เจา้ พนกั งาน ๑.๒ ผลของการด�ำ เนินการตามอำ�นาจหน้าท่ี หากเจ้าพนกั งานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยไดด้ �ำ เนินการ ไปตามอำ�นาจหนา้ ท่ี กระทำ�ไปพอสมควรแก่เหตุ และมไิ ด้ประมาทเลนิ เลอ่ อย่างร้ายแรง เจ้าพนักงานผู้น้ันพ้นจากความรับผิดทั้งปวง และในการ ดำ�เนินการดังกล่าว หากเกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของผู้ซ่ึงมิได้เป็น ผู้ได้รับประโยชน์จากการบำ�บัดภยันตรายจากสาธารณภัยนั้น ทางราชการ จะต้องเป็นผู้ชดเชยความเสียหายท่ีเกิดข้ึนให้แก่ผู้ท่ีได้รับความเสียหายน้ัน ตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการที่กำ�หนดในกฎกระทรวง ๒. บทกำ�หนดโทษ พระราชบัญญตั ิป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ มีบท กำ�หนดโทษเก่ียวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติดังกล่าวหลายประการ ซึ่งบางประการเป็นบทกำ�หนดโทษที่เกี่ยวข้องกับเจ้าพนักงานป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย ดงั น้ี ๒.๑ บทกำ�หนดโทษสำ�หรับบุคคลท่ีขัดขวางการปฏิบัติหน้าท่ีของ เจา้ พนกั งาน มาตรา ๕๐ ผู้ใดขัดขวางการดำ�เนนิ การของเจา้ พนกั งานตาม มาตรา ๒๔ หรือการปฏิบัตติ ามคำ�ส่งั ของผอู้ ำ�นวยการตามมาตรา ๒๕ หรือ ขัดขวางการปฏิบัตหิ นา้ ทข่ี องเจ้าพนักงานตามมาตรา ๒๖ วรรคสาม ต้อง ระวางโทษจ�ำ คกุ ไมเ่ กนิ หนง่ึ ปี หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ สองหมนื่ บาท หรอื ทงั้ จ�ำ ทงั้ ปรบั ความผดิ ตามมาตรานเี้ กดิ ขนึ้ เมอ่ื มผี ขู้ ดั ขวางการด�ำ เนนิ การของ เจ้าพนักงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในกรณีดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) กรณเี จา้ พนกั งานทป่ี ระสบเหตสุ าธารณภยั เขา้ ไปด�ำ เนนิ การ 26 คู่มือการปฏิบัตงิ าน เจ้าพนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย

เบอ้ื งตน้ เพอื่ ระงบั สาธารณภยั หรอื เจา้ พนกั งานด�ำ เนนิ การใด ๆ เพอื่ คมุ้ ครอง ชีวิตหรือป้องกันภยันตรายท่ีจะเกิดแก่บุคคล ในกรณีจำ�เป็นอันไม่อาจ หลีกเล่ียงได้ (มาตรา ๒๔) (๒) กรณเี จา้ พนกั งานปฏบิ ตั ติ ามค�ำ สง่ั ของผอู้ �ำ นวยการในการ ดดั แปลง ท�ำ ลาย หรอื เคลอ่ื นยา้ ยสงิ่ กอ่ สรา้ ง วสั ดุ หรอื ทรพั ยส์ นิ ของบคุ คลใด ที่เป็นอุปสรรคแก่การบำ�บัดปัดป้องภยันตรายเท่าท่ีจำ�เป็นแก่การยับยั้งหรือ แก้ไขความเสียหายที่จะเกิดข้ึนจากสาธารณภัย เม่ือเกิดสาธารณภัยและ ภยนั ตรายจากสาธารณภัยนั้นใกลจ้ ะถึง (มาตรา ๒๕) (๓) กรณีเจ้าพนักงานขนย้ายทรัพย์สินออกจากอาคารหรือ สถานท่ีท่ีอยู่ใกล้เคียงกับพื้นท่ีที่เกิดสาธารณภัย ตามความจำ�เป็นแก่การ ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เนอ่ื งจากเจา้ ของหรอื ผคู้ รอบครองไมป่ ฏบิ ตั ิ ตามค�ำ สง่ั ของเจา้ พนกั งานซงึ่ สงั่ ใหเ้ จา้ ของหรอื ผคู้ รอบครองขนยา้ ยทรพั ยส์ นิ (มาตรา ๒๖) ค�ำ วา่ “ขดั ขวาง” มีความหมายถึง การกระท�ำ ใหเ้ จา้ พนักงาน ไดร้ ับความยากย่ิงขึ้นในการกระท�ำ หน้าท่ี ทำ�ให้การปฏิบตั ติ ามอ�ำ นาจหน้าท่ี ไมด่ �ำ เนนิ ตอ่ ไปเนอ่ื งจากเหตทุ มี่ กี ารขดั ขวางเชน่ นน้ั แตไ่ มต่ อ้ งถงึ ขนาดขดั ขนื ไม่ให้บรรลุผลทีเดียว เช่น การที่ ก. ใช้มือผลักและใช้ตัวดันเจ้าพนักงาน ต�ำ รวจ เพอ่ื แยง่ ถงุ พลาสตกิ ทมี่ เี มทแอมเฟตามนี บรรจอุ ยอู่ อกจากมอื ต�ำ รวจ ไปใส่ปากเคีย้ วเพ่ือทำ�ลายหลักฐานนนั้ ถือได้ว่าเปน็ การขัดขวางการปฏิบัติ หนา้ ทข่ี องเจา้ พนกั งานตำ�รวจผมู้ หี นา้ ทแี่ ละก�ำ ลงั ตรวจคน้ เพอ่ื รวบรวมสง่ิ ของ ทจ่ี ะใชเ้ ปน็ พยานหลกั ฐาน การกระท�ำ ความผดิ ตามทม่ี กี ารกลา่ วหา การกระท�ำ ของจ�ำ เลยจงึ เปน็ การขดั ขวางเจา้ พนกั งานในการปฏบิ ตั กิ ารตามหนา้ ท่ี (ฎกี า ท่ี ๓๘๕๐/๒๕๔๓) การยงิ ปนื ขนึ้ ฟา้ ขไู่ ม่ใหต้ ามจบั เปน็ การขดั ขวางเจา้ พนกั งาน แม้ตำ�รวจยังคงตามจับจนไดก้ ็เป็นความผิด (ฎกี าท่ี ๒๔๓/๒๕๐๙) ธ. ใช้มอื ผลกั รอ้ ยตำ�รวจโท ป ในขณะที่จะเข้าตรวจค้นบา้ น ธ. ตามหมายคน้ ท่ีออก โดยชอบด้วยกฎหมาย เป็นการขัดขวางเจ้าพนักงานในการปฏิบัติการตาม 27ส่วนกฎหมาย สำ�นกั มาตรการปอ้ งกนั สาธารณภยั กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย

หนา้ ที่ (ฎกี าที่ ๕๔๗๙/๒๕๓๖) ๒.๒ บทกำ�หนดโทษสำ�หรับบุคคลที่เข้าไปในพื้นท่ีปิดก้ันโดยไม่มี อ�ำ นาจหนา้ ท่ี มาตรา ๕๑ ผู้ใดเขา้ ไปในพน้ื ทท่ี ป่ี ดิ กนั้ ตามมาตรา ๒๗ (๓) โดย ไม่มีอำ�นาจหน้าท่ีตามกฎหมายหรือตามคำ�ส่ังของผู้อำ�นวยการ ต้องระวาง โทษจำ�คกุ ไมเ่ กินสามเดอื น หรือปรบั ไม่เกินหกพนั บาท หรือท้งั จ�ำ ทง้ั ปรับ ในกรณีท่ีผู้กระทำ�ความผิดตามวรรคหน่ึงเป็นเจ้าของหรือ ผู้ครอบครองอาคารหรือสถานที่ท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีที่ปิดก้ันตามมาตรา ๒๗ (๓) ผู้อำ�นวยการหรือเจ้าพนักงานซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้อำ�นวยการจะเรียก บคุ คลดังกลา่ วมาตกั เตอื นแทนการด�ำ เนนิ คดีก็ได้ ความผดิ ตามมาตรานเี้ กดิ ขนึ้ เมอ่ื ผอู้ �ำ นวยการและเจา้ พนกั งาน ซงึ่ ไดร้ บั มอบหมายจากผอู้ �ำ นวยการ ด�ำ เนนิ การปดิ กน้ั มิใหผ้ ไู้ มม่ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง เขา้ ไปในพน้ื ทที่ เ่ี กดิ สาธารณภยั และพนื้ ที่ใกลเ้ คยี งในการบรรเทาสาธารณภยั แล้วมีผู้เข้าไปในพ้ืนท่ีท่ีปิดก้ันโดยไม่มีอำ�นาจหน้าที่ตามกฎหมายหรือตาม คำ�ส่ังของผู้อำ�นวยการ แต่หากการกระทำ�ความผิดดังกล่าวเป็นการกระทำ� ความผดิ ของเจา้ ของหรอื ผคู้ รอบครองอาคารหรอื สถานทท่ี อ่ี ยู่ในพน้ื ทท่ี ป่ี ดิ กน้ั ผู้อำ�นวยการหรือเจ้าพนักงานซ่ึงได้รับมอบจากผู้อำ�นวยการจะเรียกบุคคล ดงั กลา่ วมาตักเตือนแทนการดำ�เนนิ คดีได้ ๒.๓ บทกำ�หนดโทษสำ�หรับบุคคลท่ีฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคำ�สั่ง อพยพบุคคลออกจากพ้ืนที่ มาตรา ๕๒ ผู้ใดฝา่ ฝนื หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามค�ำ สง่ั อพยพบคุ คลออก จากพนื้ ทต่ี ามมาตรา ๒๘ ถา้ ค�ำ สง่ั อพยพนนั้ เพอ่ื เปน็ การปอ้ งกนั การกดี ขวาง การปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั หรอื ฝา่ ฝนื ค�ำ สงั่ ตาม มาตรา ๒๙ ตอ้ งระวางโทษจ�ำ คกุ ไมเ่ กนิ หนงึ่ เดอื น หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ สองพนั บาท 28 คมู่ ือการปฏิบตั งิ าน เจ้าพนักงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย

หรือท้งั จ�ำ ทง้ั ปรับ ความผดิ ตามมาตรานี้แยกเปน็ ๒ กรณดี ังน้ี (๑) กรณีเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคำ�ส่ังอพยพบุคคล ออกจากพนื้ ที่ เมอ่ื ผบู้ ญั ชาการ รองผบู้ ญั ชาการ ผอู้ �ำ นวยการ และเจา้ พนกั งาน ซง่ึ ไดร้ บั มอบหมาย มคี �ำ สง่ั อพยพผซู้ ง่ึ อยู่ในพน้ื ทเี่ กดิ หรอื ใกลจ้ ะเกดิ สาธารณภยั และการทผี่ ู้ใดอยอู่ าศยั ในพนื้ ทนี่ นั้ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ภยนั ตรายหรอื กดี ขวางตอ่ การ ปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าพนักงาน โดยคำ�สั่งอพยพน้ันเพื่อเป็นการป้องกันการ กดี ขวางการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เทา่ ทจ่ี �ำ เปน็ แก่การป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั (๒) กรณเี ปน็ การฝา่ ฝนื ค�ำ สงั่ ของผบู้ ญั ชาการ รองผบู้ ญั ชาการ ผอู้ �ำ นวยการกลาง ผอู้ �ำ นวยการจงั หวดั ผอู้ �ำ นวยการอ�ำ เภอ และผอู้ �ำ นวยการ ทอ้ งถนิ่ โดยความเหน็ ชอบของผอู้ �ำ นวยการอ�ำ เภอ ซง่ึ ประกาศหา้ มมิใหบ้ คุ คล ใด ๆ เขา้ ไปอยอู่ าศยั หรอื ด�ำ เนนิ กจิ การใดในพน้ื ทเี่ กดิ หรอื ใกลจ้ ะเกดิ สาธารณภยั ขึ้นในพื้นที่ใดและการอยู่อาศัยหรือดำ�เนินกิจการใด ๆ ในพื้นท่ีนั้นจะเป็น อนั ตรายอยา่ งรา้ ยแรง ๒.๔ บทก�ำ หนดโทษส�ำ หรบั ผซู้ ง่ึ เรย่ี ไรหรอื หาประโยชนอ์ นื่ ใดส�ำ หรบั ตนเองหรือผูอ้ ่นื โดยมิชอบ มาตรา ๕๔ ผู้ใดเรย่ี ไรหรอื หาประโยชนอ์ นื่ ใดส�ำ หรบั ตนเองหรอื ผู้อ่ืนโดยมิชอบ โดยแสดงตนว่าเป็นอาสาสมัคร เจ้าพนักงานหรือผู้ดำ�รง ตำ�แหน่งอ่ืนใดในหน่วยงานท่ีเกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หรอื ใชช้ อ่ื ของหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วกบั การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในการ ดำ�เนินการดังกล่าว ต้องระวางโทษจำ�คุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกิน สองหม่ืนบาท หรือทั้งจำ�ท้ังปรับ ผู้กระทำ�ความผิดตามมาตราน้ีอาจเป็น เจา้ พนักงานหรอื ผทู้ ี่มไิ ดเ้ ป็นเจ้าพนกั งานก็ได้ 29สว่ นกฎหมาย สำ�นกั มาตรการป้องกนั สาธารณภัย กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย

คำ�ว่า “เรี่ยไร” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ หมายถึง ขอร้องให้ช่วยออกเงินทำ�บุญตามสมัครใจ เช่น เรี่ยไรสงเคราะหเ์ ด็กกำ�พรา้ เป็นตน้ “ประโยชน์” หมายถึง สง่ิ อน่ื ทเี่ ปน็ คณุ แก่ผู้รบั ไม่จ�ำ กดั เฉพาะ ในทางทรพั ยส์ นิ แตไ่ ม่หมายความกว้างจนถงึ สิ่งท่ีให้แก่กันเพียงอัธยาศยั ใน สมาคม การให้เงนิ หรือทรพั ยส์ ินอ่นื หรือประโยชน์ เชน่ ให้ต�ำ แหนง่ การงาน ให้บรกิ าร ใหย้ ืมเงินหรอื ใหไ้ ด้รบั ผลอย่างอนื่ ตามความปรารถนา เป็นตน้ ๒.๕ บทกำ�หนดโทษสำ�หรับบุคคลที่นำ�เอาความลับซึ่งตนได้มา เน่ืองจากการปฏิบัติหนา้ ที่ในการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ไปใชเ้ พ่อื ประโยชนส์ ว่ นตวั หรือเปิดเผยความลับนน้ั แกผ่ ้อู น่ื โดยไมม่ ีอำ�นาจ มาตรา ๕๕ ผู้ใดฝ่าฝนื มาตรา ๔๘ ตอ้ งระวางโทษจำ�คุกไม่เกนิ หกเดือน หรือปรับไมเ่ กนิ สองพนั บาท หรอื ทงั้ จำ�ท้งั ปรบั ความผิดตามมาตรานี้ผู้กระทำ�ความผิดอาจเป็นเจ้าพนักงาน หรอื บคุ คลอนื่ ซง่ึ ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ก็ได้ โดย ได้กระทำ�การฝ่าฝืน กรณีห้ามมิให้บุคคลที่ปฏิบัติหน้าที่ในการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยนำ�เอาความลับ ซึ่งตนได้มาในฐานะนั้น ๆ ไปใช้ เพื่อประโยชน์ส่วนตัว หรือเปิดเผยความลับน้ันแก่ผู้อื่นโดยไม่มีอำ�นาจโดย ชอบดว้ ยกฎหมาย ในประการทนี่ า่ จะเกดิ ความเสยี หายแกผ่ หู้ นงึ่ ผู้ใด หรอื แก่ การประกอบอาชีพของผนู้ นั้ “ในประการทนี่ า่ จะเกดิ ความเสยี หายแกผ่ หู้ นง่ึ ผู้ใด” เปน็ พฤตกิ ารณ์ ทปี่ ระกอบการกระท�ำ ทน่ี า่ จะเกดิ ความเสยี หายได้ แมจ้ ะไมเ่ กดิ ความเสยี หาย ขึ้นจริงก็เป็นองค์ประกอบความผิดท่ีพิจารณาได้จากความคิดธรรมดาของ บคุ คลทั่วไปในลักษณะเกี่ยวกับผู้กระท�ำ ผิด (ฎกี าท่ี ๗๖๙/๒๕๔๐) เมื่อเปน็ พฤติการณ์ท่ีประกอบการกระทำ� จึงไม่ต้องการผล เพียงแต่น่าจะเกิด ความเสียหายก็เป็นความผดิ สำ�เร็จ (ฎีกาท่ี ๓๗/๒๕๔๓, ๗๖๙/๒๕๔๐) 30 คู่มอื การปฏบิ ัติงาน เจา้ พนักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย

ภาคผนวก 31สว่ นกฎหมาย สำ�นกั มาตรการป้องกนั สาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

32 คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน เจ้าพนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั

     ก ก     ก  กกกก  กก  ..    ก ..กกกกก  ก    กก กก ก กก ก     กกกกก ก   ก ก ..         ก กก ก     กก    ก        กกกกก  ก  กก  กกกก  ก ..   กกกก   () กกกกกก        ก () กกก            ก    ก       ก        ก      ก                   ก      ก   ก ก  ก   33ส่วนกฎหมาย สำ�นักมาตรการปอ้ งกนั สาธารณภยั กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั

     ก  ก    () กกก  ก  ()    ก กก()() ก ก     ก  กก     ()     ()  ก    ก     กกกก กก กก กกก ก กก  กก    กก กก       กกกก   กก    กกก ก กก     กกก ..กก   ก        ก     กกก     ก ..    () ก    ก   ก ก  กกกก กกกกก  กกกก ก  ก ก กก  กก  34 คู่มอื การปฏบิ ตั ิงาน เจ้าพนักงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย

     ก ก  () ก ก กกกกกก   (.) ก ก         (ก) ก กกก กกก    ก      () ก กกก กกกก  ก ก    (.) กกกกก ก  ก      (.) กกก   () กกกกก กกกกก    กกก    ก        ก    ก   กก กก    ก..   () กก กกกกก     กก()ก กก ก  กก 35สว่ นกฎหมาย สำ�นกั มาตรการป้องกันสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

     ก ก   () ก ก   กกก กกกกกกกก กกกก    ก กกก กกกกกก   ก กก  ก () ก     กกกกกก กกก กกกกก กก  กกก ก  ก ก  กก        กกก   กก ก   ก   ก  ..  ก    กก 36 คูม่ อื การปฏิบัตงิ าน เจ้าพนักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั

37สว่ นกฎหมาย ส�ำ นกั มาตรการปอ้ งกนั สาธารณภยั กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั

38 คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน เจ้าพนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั

(ตวั อยา่ ง) ค�ำ สัง่ ...(ชอ่ื ส่วนราชการ)... ที่ .......... /.................. เรื่อง แต่งตั้งเจา้ พนกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย ตามพระราชบัญญตั ิป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ----------------------------------------- อาศยั อ�ำ นาจตามความในมาตรา ๓๙ แหง่ พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และ บรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกอบระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ย หลักเกณฑ์การแต่งตั้งและการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงานป้องกันและ บรรเทาสาธารณภยั จงึ แตง่ ตง้ั บคุ คลดงั ตอ่ ไปนี้ เปน็ เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และ บรรเทาสาธารณภัย เพ่อื ปฏิบัติหน้าที่ในการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย ในเขต ....(ชอ่ื สว่ นราชการ).... ๑. ..................... ๒. ..................... ๓. ..................... ๔. ..................... ทั้งน้ี ต้งั แตบ่ ดั น้ีเป็นต้นไป สง่ั ณ วนั ท่ี -- เดือน ................... พ.ศ. ---- ลงช่ือ .......................................... ( ) ตำ�แหน่ง ....................................... ผูอ้ ำ�นวยการ .......................... 39สว่ นกฎหมาย ส�ำ นกั มาตรการป้องกนั สาธารณภยั กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั

40 คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน เจ้าพนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั

บรรณาณกุ รม • คณิต น นคร. กฎหมายอาญาภาคทัว่ ไป. ครั่งที่ ๓. บรษิ ัท สำ�นักพมิ พ์วญิ ญูชน จ�ำ กดั , ๒๕๕๑. • จติ ติ ตงิ ศภทั ิย์. กฎหมายอาญา ภาค ๒ ตอน ๑. ครงั้ ท่ี ๗. หา้ งหนุ้ สว่ นจำ�กดั จริ รัชการพมิ พ์, ๒๕๔๓. • รชฏ เจริญฉำ�่ , กฎหมายอาญา (พิสดาร) ภาคความผิดเก่ยี วกับเจ้าพนกั งาน. หา้ งหนุ้ ส่วนจ�ำ กดั พิมพอ์ ักษร, ๒๕๔๕. • บนั ทกึ สำ�นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี าประกอบรา่ งพระราชบัญญัติปอ้ งกนั และ บรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. .... เร่ืองเสรจ็ ท่ี ๙๑/๒๕๕๐ 41ส่วนกฎหมาย สำ�นกั มาตรการป้องกันสาธารณภัย กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย

คณะผจู้ ัดทำ� ท่ีปรกึ ษา อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รองอธบิ ดกี รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ๑. นายวิบลู ย ์ สงวนพงศ์ รองอธบิ ดกี รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ๒. นายฉัตรปอ้ ง ฉตั รภตู ิ รองอธบิ ดกี รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ๓. นายศรสี มบัต ิ พรประสิทธ ิ์ ๔. นายประทปี กีรตเิ รขา ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั มาตรการปอ้ งกนั สาธารณภยั ผ้อู �ำ นวยการสว่ นกฎหมาย ผจู้ ัดทำ� นิตกิ รชำ�นาญการพิเศษ นติ กิ รช�ำ นาญการพเิ ศษ ๑. นายสรุ พล เล็กขาว นติ กิ รชำ�นาญการพิเศษ ๒. นายโชติ เชื้อโชต ิ นติ กิ รช�ำ นาญการพิเศษ ๓. นางวรนชุ พรมอนนั ต ์ นติ ิกรช�ำ นาญการพเิ ศษ ๔. นายบูรณะ สมทุ ระกพงศ ์ นติ กิ รช�ำ นาญการพิเศษ ๕. นางสาวณฐธนา คงรตั นชาต ิ นติ ิกรชำ�นาญการ ๖. นายปกรณ ์ กิจพทิ ักษ์ นิตกิ รช�ำ นาญการ ๗. นางกลั ยาณ ี บุญธรรม นกั จัดการงานท่วั ไปปฏิบตั ิการ ๘. นางสาวสณุ ีย์ วัชรสิริกลุ นิตกิ รปฏิบัตกิ าร ๙. นางสาวพจณิชา ตังวีระสิงห์ เจ้าพนกั งานธุรการช�ำ นาญงาน ๑๐. นางสาวกชพร ศริตวรรธน์ พนักงานพิมพด์ ีดชนั้ ๑ ๑๑. ว่าที่รอ้ ยตรี ธรี วฒั น ์ ชุมแก้ว ๑๒. นางสาวพรพรรณ หรรษนนั ท์ ๑๓. นางเนตรประวณี ์ สขุ ธรานนท์ ๑๔. นายบรรจบ กลิ่นไธสง 42 ค่มู อื การปฏิบัติงาน เจา้ พนกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย