Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ขัตติยพันธกรณี(แก้)

ขัตติยพันธกรณี(แก้)

Published by vdfhhxdyb, 2021-08-09 10:08:39

Description: ขัตติยพันธกรณี(แก้)

Search

Read the Text Version

ขตั ติยพนั ธกรณี คณะผู้จดั ทา ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๖/๘ นาเสนอ ครูชมยั พร แก้มปานกนั

ขัตตยิ พนั ธกรณี รายชื่อคณะผู้จัดทา นางสาว ฐาณิตา คุ่ยสมใจ เลขที่ ๑๑ นางสาว นนั ทิยา สีโมรส เลขที่ ๒๒ นางสาว ณฐั ณิชา วงษล์ มยั เลขท่ี ๑๓ นางสาว พรวไิ ล ฟักเงิน เลขที่ ๒๖ นางสาว ณฐั นิชา กนั พงษ์ เลขที่ ๑๔ นางสาว พิชามญน์ สมใจเพง็ เลขที่ ๒๙ นางสาว ดวงรัตน์ ปัญญา เลขท่ี ๑๖ นางสาวภาณินี บุญเลิศ เลขท่ี ๓๑ นางสาว นรัชฌา ศาลยาชีวิน เลขที่ ๑๙ นางสาว วิชญาดา ไชยสุต เลขท่ี ๓๔ นางสาว ศิริจญั ญา ชาวบา้ นกร่าง เลขท่ี ๓๖ นางสาว นริศรา โคโต เลขที่ ๒๐ นางสาว อภิญญา อสู่ ุวรรณ เลขท่ี ๓๙ นางสาว นวพรรษ ขาวจตุรัส เลขที่ ๒๑ นาเสนอ ครูชมยั พร แกว้ ปานกนั วารสารเล่มน้ีเป็นส่วนหน่ึงของวชิ า ภาษาไทยพ้ืนฐาน ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนสงวนหญิง

วารสารเล่มน้ีจดั ทาข้ึนเพ่ือเป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย เร่ืองขตั ติยพนั ธกรณี ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 6 เป็น วารสารท่ีคณะผจู้ ดั ทาไดด้ าเนินการจดั การข้ึนเพ่ือใชใ้ นการจดั กระบวนการเรียนรู้รายวชิ าพ้นื ฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่องขตั ติยพนั ธกรณี แนวการนาเสนอเน้ือหาของวารสาร รายวชิ าพ้นื ฐานภาษาไมยเรื่อง เร่ืองขตั ติยพนั ธกรณี ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 6 มุ่งเนน้ ใหผ้ ทู้ ่ีมีความสนใจหรือกาลงั ศกึ ษาเกี่ยวกบั เรื่องขตั ติยพนั ธกรณีใหม้ ีความเขา้ ใจโดยนาเสนออยา่ งน่าสนใจและชวนติดตาม คณะผจู้ ดั ทาหวงั วา่ รายงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชนต์ ่อผทู้ ี่มีความสนใจหรือผทู้ ี่กาลงั ศึกษาเกี่ยวกบั เร่ืองขตั ติยพนั ธกรณี ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ หากมีขอ้ เสนอแนะหรือขอ้ ผดิ พลาดประการใดคณะผจู้ ดั ทาขอนอ้ มรับไวแ้ ละขออภยั ณ ที่นี่ดว้ ย คณะผจู้ ดั ทา ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๔

สารบญั

ความเป็ นมา ขตั ติยพนั ธกรณี(เหตุอนั เป็นขอ้ ผกู พนั ของกษตั ริย)์ เป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ ฯ และพระนิพนธ์ ของสมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ เป็นกวนี ิพนธ์ที่ผใู้ ดไดอ้ ่านจะประทบั ใจเป็นอยา่ งยง่ิ เป็นบทท่ีมีท่ีมาจากเหตุการณ์จริงในประวตั ิศาสตร์ ในระยะหวั เล้ียวหวั ต่อท่ีเก่ียวกบั ความอยรู่ อดของประเทศของเรา เหตุการณ์น้ีคือเหตุการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ ซ่ึงตรงกบั พ.ศ. ๒๔๓๖ ไทยขดั แยง้ กบั ฝร่ังเศสเรื่องเขตแดนทางดา้ นเขมร ฝรั่งเศสส่งเรือปื นแล่นผา่ นป้อมพระจุลจอมเกลา้ ฯ เขา้ มาจอดทอดสมอหนา้ สถานทูตฝร่ังเศส ถืออานาจเชิญ ธงชาติฝรั่งเศสข้ึนเหนือแผน่ ดินไทย ตรงกนั วนั ท่ี ๑๔ กรกฎาคม ซ่ึงเป็นวนั ชาติฝร่ังเศสและยน่ื คาขาดเรียกร้องดินแดนท้งั หมดทางฝั่งตะวนั ออก ของแมน่ ้าโขง ซ่ึงขณะน้นั อยใู่ ตอ้ านาจปกครองของไทยเนื่องจากไทยใหค้ าตอบล่าชา้ ทูตปาวขี องฝร่ังเศสจึงใหเ้ รือปื นปิ ดลอ้ มอา่ วไทย เป็นการ ประกาศสงครามกบั ไทย

พระราชประวตั พิ ระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงเป็นพระราชโอรสพระองคใ์ หญใ่ น พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ 4 และสมเด็จพระเทพสิรินทราบรมราชินี ประสูติเมื่อวนั องั คาร ที่ 20 กนั ยายน พ.ศ. 2396 ทรงพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบฎั วา่ สมเด็จพระเจา้ ลูกยาเธอ เจา้ ฟ้าจุฬาลงกรณ์- บดินทรเทพยมหามกุฎ บุรุษรัตนราชรววิ งศ์ วรุตมพงศบ์ ริพตั ร ศิริวฒั นราชกุมาร ทรงไดร้ ับการสถาปนาเป็น เจา้ ฟ้าตา่ งกรม มีพระนามกรมวา่ กรมหมื่นพิฆเณศวรสุรสงั กาศ หลงั จากทรงผนวชเป็นสามเณรทรงไดร้ ับ การเฉลิมพระนามาภิไธยข้ึนเป็นสมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอ เจา้ ฟ้าจุฬาลงกรณ์ฯ กรมขนุ พินิตประชานาถ ทรงเป็น พระราชปิ โยรสท่ีสมเดจ็ พระบรมชนกนาถโปรดใหเ้ สด็จอยใู่ กลช้ ิดติดพระองคเ์ สมอเพื่อใหม้ ีโอกาสแนะนา สัง่ สอนวชิ าการต่าง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ วชิ ารัฏฐาภิบาล ราชประเพณีและโบราณคดี นอกจากน้นั ยงั ทรงศึกษา ภาษามคธ ภาษาองั กฤษ การยงิ ปื นไฟ กระบี่กระบอง มวยปล้า รวมท้งั การบงั คบั ชา้ งอีกดว้ ย

ครองราชย์ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงไดร้ ับการกราบบงั คมทูลเชิญข้ึนเป็นพระมหากษตั ริยส์ ืบตอ่ จากสมเด็จพระบรมราช ชนกเม่ือวนั พฤหสั บดีท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 ดว้ ยพระชนมายเุ พยี ง 15 พรรษา ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกคร้ังแรกเม่ือ วนั ที่ 11 พฤศจิกายน 2411 โดยมีเจา้ พระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เป็นผสู้ าเร็จราชการแทนพระองค์ จนหลงั จากพระราชพธิ ี บรมราชาภิเษกคร้ังที่ 2 เม่ือพระชนมายุ 20 พรรษา ในวนั ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2416 จึงทรงปกครองแผน่ ดินดว้ ยพระองคเ์ องอยา่ ง สมบูรณ์ ทรงครองราชยอ์ ยเู่ ป็นเวลายาวนานถึง 42 ปี และไดท้ รงพฒั นาประเทศใหเ้ จริญกา้ วหนา้ ทดั เทียมอารยประเทศทุกวถิ ีทาง

สวรรคต ในบ้นั ปลายพระชนมชีพ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงมีพระพลานามยั ไม่สมบูรณ์นกั หลงั จากเสด็จประพาส ยโุ รปคร้ังที่ 2 แลว้ พระอาการก็ค่อยทรุดลงเป็นลาดบั และเสดจ็ สวรรคตดว้ ยพระโรคพระวกั กะพกิ ารเม่ือเวลา 2 ยาม 45 นาที ของวนั เสาร์ท่ี 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 สิริพระชนมายุ 58 พรรษา ทรงครองสิริราชสมบตั ิ 42 ปี ทรงมีพระราชโอรส พระราชธิดา รวมท้งั สิ้น 77 พระองค์ ดว้ ยทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อไพร่ฟ้าประชาชนอยา่ งหาท่ีสุดมิไดม้ าตลอดรัชกาลอนั ยาวนาน ประชาชนจึงพร้อมใจกนั ถวายพระบรมราชสมญั ญานาม วา่ สมเด็จพระปิ ยมหาราช อนั มีความหมายวา่ พระมหากษตั ิรยผ์ ทู้ รง เป็นที่รักยง่ิ ของปวงชน และถือวนั ที่ 23 ตุลาคม เป็นวนั ปิ ยมหาราชมาจนตราบเทา่ ทุกวนั น้ี

ประวตั สิ มเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ พลเอก สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 – 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรส ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ประสูติแต่เจา้ จอมมารดาชุ่ม ท.จ.ว. และเป็นองคต์ น้ ราชสกุลดิศกุล ทรงดารงตาแหน่งที่ สาคญั ทางการทหารและพลเรือน เช่น เจา้ พนกั งานใหญ่ ผบู้ ญั ชาการทหารบก อธิบดีกรมศึกษาธิการ (ตาแหน่งเทียบเท่าเสนาบดี) องคป์ ฐมเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เสนาบดีกระทรวงมุรธาธร นายกราชบณั ฑิตยสภา องคมนตรีในพระบาทสมเดจ็ พระ จุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั และพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั และอภิรัฐมนตรีใน พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั

นอกจากน้ี ยงั ทรงพระปรีชาสามารถในดา้ นการศึกษา การปกครอง การตา่ งประเทศ การสาธารณสุข หลกั รัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบ ประวตั ิศาสตร์ โบราณคดี และศิลปวฒั นธรรม ทรงไดร้ ับพระสมญั ญานามเป็น \"พระบิดาแห่งประวตั ิศาสตร์และโบราณคดีไทย\" และ \"พระบิดา แห่งมคั คุเทศกไ์ ทย\" ทรงเป็ นองคผ์ อู้ านวยการก่อต้งั จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั โรงเรียนนายร้อยตารวจ โรงเรียนสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั โรงเรียน เทพศิรินทร์ โรงเรียนยพุ ราชวทิ ยาลยั เม่ือวนั ท่ี 21 มิถุนายน พ.ศ. 2505 ที่ประชุมใหญข่ ององคก์ ารการศึกษาวทิ ยาศาสตร์และวฒั นธรรมแห่ง สหประชาชาติ (UNESCO) ไดป้ ระกาศถวายสดุดีใหพ้ ระองคท์ รงเป็นบุคคลสาคญั ของโลกคนแรกของประเทศไทย[13] และวนั ท่ี 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 คณะรัฐมนตรีไดม้ ีมติใหว้ นั ที่ 1 ธนั วาคม ของทุกปี ซ่ึงตรงกบั วนั คลา้ ยวนั สิ้นพระชนมข์ องพระองค์ เป็ นวนั ดารงราชานุภาพ กาหนด ข้ึนเพอ่ื เป็ นการถวายความราลึกถึงพระกรุณาธิคุณเป็นอเนกอนนั ตข์ องสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ องคป์ ฐมเสนาบดี กระทรวงมหาดไทย และบุคคลสาคญั ของโลกคนแรกของประเทศไทย

ประสูติ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ มีพระนามเดิมวา่ พระเจา้ ลูกยาเธอ พระองคเ์ จา้ ดิศวรกมุ าร (อา่ นวา่ ดิด-สะ-วอ-ระ-กุ-มาร) เป็นพระราชโอรสพระองคท์ ี่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั และเป็นพระองคเ์ ดียวท่ีประสูติแต่เจา้ จอมมารดาชุ่ม ท.จ.ว. ณ พระบรมมหาราชวงั เมื่อวนั ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 ชาววงั ออกพระนามโดยลาลองวา่ \"พระองคเ์ จา้ ดิศวรกุมาร หรือ เสด็จพระองคด์ ิศ\" พระองค์ ไดร้ ับพระราชทานพระนามจากพระบิดาในวนั สมโภชเดือนและข้ึนพระอู่ โดยมีรายละเอียดวา่ \"สมเดจ็ พระปรเมนทรมหามงกฎุ พระจอมเกลา้ เจา้ แผน่ ดินสยามผพู้ ระบิดา ขอต้งั นามกุมารบุตรท่ีเกิดแต่ชุ่มเล็กเป็ นมารดาน้นั และซ่ึงคลอดในวนั เสาร์ แรม 9 ค่า เดือน 7 ปี จอจตั วาศกน้นั วา่ ดงั น้ี พระเจา้ ลูกเธอ พระองคเ์ จา้ ดิศวรกุมาร นาคนาม ขอจงเจริญชนมายุ วรรณ สุข พล ปฏิภาณ สรรพสิริ สวสั ดิพพิ ฒั นมงคลทุกประการ สิ้นกาลนานตอ่ ไปเทอญ“ โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงนาเอานามของพระยาอพั ภนั ตริกามาตย์ (ดิศ โรจนดิศ) ซ่ึงเป็นบิดาของเจา้ จอมมารดาชุ่มมาต้งั พระราชทาน เนื่องจากทรงพระราชดาริวา่ ทา่ นเป็นคนซื่อตรง

ทรงศึกษา พระองคท์ รงเร่ิมเรียนหนงั สือไทยช้นั ตน้ จากสานกั คุณแสงและคุณปาน ราชนิกลุ ในพระบรมมหาราชวงั ทรงศึกษาภาษาองั กฤษใน โรงเรียนหลวง ซ่ึงมีมิสเตอร์ ฟรานซิส ยอร์ช แพตเตอร์สนั เป็นพระอาจารย์ พ.ศ. 2418 ขณะพระชนั ษา 13 ปี ผนวชเป็นสามเณรท่ีวดั พระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีสมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาปวเรศวริยา ลงกรณ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ และประทบั จาพรรษาท่ีวดั บวรนิเวศราชวรวหิ าร พ.ศ. 2420 ทรงสาเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบก ไดร้ ับพระราชทานยศเป็นนายร้อยตรีทหารมหาดเล็ก บงั คบั กองแตรวง ขณะพระชนั ษา 15 ปี

รับราชการ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ไดท้ รงประกอบพระกรณียกิจดา้ นต่าง ๆ และทรงเป็นท่ีไวว้ างพระราชหฤทยั ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระเชษฐา ถึงขนาดตรัสชมวา่ ทรงเป็นเสมือน \"เพชรประดบั พระมหาพชิ ยั มงกฎุ \" เมื่อพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ สวรรคตในวนั ที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั โปรดใหเ้ ปล่ียนคานาพระ นามเป็นพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ[17] และในวนั ตอ่ มาพระองคท์ ่านไดเ้ ขา้ ถือน้าพิพฒั น์สตั ยาและรับพระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ เป็ น องคมนตรี ณ พระอุโบสถวดั พระศรีรัตนศาสดาราม[18] สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ กไ็ ดส้ นองพระเดช พระคุณตลอดมา ตราบจนทรงพระชราภาพ ไมส่ ามารถทาราชการหนกั ในตาแหน่งตอ่ ไปอีก จึงกราบถวายบงั คมลาออกจากตาแหน่ง เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยในปี พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหท้ รงเป็นเสนาบดีที่ ปรึกษา

สิ้นพระชนม์ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ เร่ิมประชวรดว้ ยโรคพระหทยั มาต้งั แตเ่ ดือนธนั วาคม พ.ศ. 2484 จึงเสด็จกลบั มารักษา พระอาการประชวรในประเทศไทย (ก่อนหนา้ น้นั ทรงประทบั อยู่ ณ เกาะปี นงั ภายหลงั เหตุการณ์การเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475) พระอาการทรงและทรุดเรื่อยมาจนสิ้นพระชนมเ์ มื่อวนั ที่ 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2486 ท่ีวงั วรดิศ ถนนหลานหลวง ในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระ ปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล พระอฐั มรามาธิบดินทร สิริรวมพระชนั ษา 81 ปี [19][20] อน่ึง สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงรา ชานุภาพ ทรงมีพระโอรสสืบราชสกุล คือ หมอ่ มเจา้ จุลดิศ ดิศกุล นายทหารมา้ ราชองครักษแ์ ละองคมนตรีในรัชกาลที่ 7, พระนดั ดา (หลาน) คือ หมอ่ มราชวงศส์ ังขดิศ ดิศกุล อดีตเอกอคั รราชทูต ณ ประเทศมาเลเซีย สมาพนั ธรัฐสวสิ และนครรัฐวาติกนั , พระปนดั ดา (เหลน) ผไู้ ดร้ ับ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกลา้ สืบตระกลู (ต.อ.จ.) และดารงรักษาวงั วรดิศ คือ หมอ่ มหลวงปนดั ดา ดิศกลุ อดีตผวู้ า่ ราชการ จงั หวดั นครปฐม จงั หวดั เชียงใหม่ รองปลดั กระทรวงมหาดไทย ปลดั สานกั นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจาสานกั นายกรัฐมนตรี ปัจจุบนั ดารง ตาแหน่งสมาชิกสมาชิกวฒุ ิสภา ซ่ึงหมอ่ มหลวงปนดั ดา ดิศกุล มีบุตรชายสืบตระกลู คนเดียว คือ นายวรดิศ ดิศกลุ ณ อยธุ ยา ปัจจุบนั เป็ น นกั ศึกษาหลกั สูตรปริญญาเอกทาง \"Innovation Management\" ผมู้ ีศกั ด์ิลาดบั เป็นทายาทช้นั ล่ือของพระองคท์ า่ น

ลกั ษณะคาประพนั ธ์ โคลงสี่สุภาพและอนิ ทรวเิ ชียรฉันท์ ขตั ติยพนั ธกรณี เป็นบทพระนิพนธ์และพระนิพนธ์ที่ถูกแต่งข้ึนเป็ นคาฉนั ท์ ท้งั สองพระองคท์ รงเลือกใช้ อินทรวเิ ชียร ฉนั ทโ์ ดยมิไดท้ รงเคร่งครัดในการใชค้ าครุ-ลหุตามแบบท่ีคณะฉนั ทใ์ ช้ แต่ทรงใชต้ ามการออกเสียงตาม ธรรมชาติของการพูดภาษาไทย และเนน้ การใชค้ าที่สร้างจินตภาพและอารมณ์สะเทือนใจเป็นหลกั นอกจากน้นั ยงั มีการเรียบเรียงขอ้ ความอยา่ งเหมาะสม เช่น เรียงขอ้ ความท่ีบรรจุสาระสาคญั ไวท้ า้ ยสุดจากบทประพนั ธ์ จะเห็นไดว้ า่ ในบทพระพนั ธ์ในตอนน้ีมีการนาเสนอจากเน้ือหาเล็กๆ จนไปถึงเน้ือหาท่ีมีความสาคญั ตามลาดบั เพื่อใหผ้ ูอ้ ่านเขา้ ใจเน้ือหา สาระไดง้ ่ายข้ึน

เนื้อเร่ืองเตม็ (แบบย่อ) พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงประชวรอยา่ งหนกั เป็นเวลานาน ดว้ ยโรคฝีสามยอด และไขส้ ่า ทาใหเ้ ป็นท่ีหนกั ใจของผทู้ ่ีดูแล รักษา จึงบรรยายถึงความเจบ็ ปวดพระวรกายจากพระอาการประชวร จึงมีพระราชประสงคท์ ่ีจะเสดจ็ สวรรคต แตพ่ ระองคไ์ ม่สามารถทา เช่นน้นั ได้ เน่ืองจากเป็นกษตั ริยท์ ่ีมีภาระหนา้ ที่อนั ยง่ิ ใหญ่ คือการปกป้องรักษาบา้ นเมืองจากประเทศฝรั่งเศส อีกท้งั ยงั บรรยายถึงความรู้สึกเบ่ือ หน่าย หมดกาลงั พระทยั เนื่องจากพระอาการประชวรท่ียาวนาน และยงั มีความเจบ็ ทางใจท่ีเกิดจากการตอ้ งป้องกนั รักษาบา้ นเมืองเอาไว้ เเละยงั มีความกงั วลใหญห่ ลวงในพระทยั ทรงหวน่ั เกรงวา่ จะทรงกลายเป็นพระมหากษตั ริยท์ ี่ราษฎรจะกล่าวหาวา่ เป็ นตน้ เหตุทาใหเ้ สียบา้ นเสียเมือง แก่ตา่ งชาติเช่นเดียวกบั สมเด็จพระมหินทราธิราช และสมเดจ็ พระเจา้ เอกทศั ในช่วงที่เสียกรุงศรีอยธุ ยาท้งั ๒ คร้ัง รัชกาลท่ี๕ ไม่ตอ้ งการจะ เป็ นกษตั ริยอ์ ีกพระองคห์ น่ึงท่ีทาใหเ้ ราตอ้ งสูญเสียเอกราชไป สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ จึงแตง่ คาประพนั ธ์ ประเภทอินทรวเิ ชียรฉนั ท์ เพื่อถวายกาลงั พระทยั รัชกาลท่ี๕ และถวายขอ้ คิดใหต้ ระหนกั ถึงสัจธรรม โดยสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระ ยาดารงราชานุภาพเปรียบประเทศไทยเป็นเรือลาใหญล่ าหน่ึง อนั มี รัชกาลที่๕ เป็ นกปั ตนั ซ่ึงเป็นผทู้ ่ีเป็ นใหญ่ในเรือ มีอานาจสัง่ ลูกเรือ ซ่ึง หมายถึงชาวสยาม โดยรัชกาลท่ี๕ ในฐานกปั ตนั มีหนา้ ที่นาพาลูกเรือใหร้ อดพน้ จากพายคุ ลื่นลมมรสุมตา่ ง ๆ ส่วนสัจธรรมท่ีทรงกล่าวถึงคือ เร่ืองของการทางานทุกอยา่ งยอ่ มมีปัญหาและอุปสรรคเกิดข้ึน อีกท้งั ยงั ทรงอาสาที่จะถวายชีวติ รับใชพ้ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เเละยงั ไดถ้ วายพระพรใหร้ ัชกาลท่ี๕ ทรงฟ้ื นจากอาการประชวรโดยเร็วเพื่อเก้ือกลู และสร้างความเจริญแก่ประเทศไทยตลอดไป

เนื้อเร่ืองเตม็ เฉพาะทเี่ รียน (แบบย่อ) วกิ ฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ ในช่วงหลังของตริ สต์ศตวรรษที่ ๑๙ ทวีปยุโรปเกิดการปฏิวัติ อุตสาหกรรมและการเติบโตของลทั ธิจกั รวรรดินิยมที่นาไปสู่การแผอ่ ิทธิพลของชาติ ตะวนั ตกในภูมิภาค ต่างๆของโลก เม่ือพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั เสด็จ ข้ึนครองราชยใ์ น พ.ศ. ๒๔๑๑ ประเทศต่าง ๆ ในเอเชียตอ้ งเผชิญกบั การคุกคามจากชาติ มหาอานาจโดยเฉพาะอังกฤษและฝรั่งเศสซ่ึงกาลังขยายอิทธิพลเข้ามาอย่างเต็มที่ นอกจากท้งั สองชาติจะแข่งขนั กนั แสวงหาผลประโยชน์ทางการด้านการเมือง และ วฒั นธรรมในประเทศไทยแลว้ ยงั มีเป้าหมายที่จะยดึ ครองประเทศราชของไทยอนั ไดแ้ ก่ กมั พูชา ลาว และดินแดนในแหลมมลายตู อนเหนือดว้ ย

หลงั จากฝร่ังเศสไดก้ มั พชู าและเวยี ดนามเป็นอาณานิคม ก็เร่งสารวจหวั เมืองลาวและพยายามจะขยายอาณาเขตของตนออกไปจนถึงฝ่ัง แม่น้าโขง วิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ เกิดจากความขดั แยง้ ระหวา่ งไทยกบั ฝรั่งเศสเรื่องเขตแดนทางดา้ นหลวงพระบางน้ีเอง เริ่มตนั ดว้ ยการกระทบกระทง่ั กนั ของกาลงั ทหารท้งั สองฝ่ ายและต่อมาไดข้ ยายวงกวา้ งออกไปถึงเรื่องคนในบงั คบั และธุรกิจของคนในบงั คบั ขณะที่ความขดั แยง้ ทวคี วามรุนแรงข้ึน เรื่อยๆ ผแู้ ทนทางการทูตของท้งั สองประเทศไดพ้ ยายามเจรจาเพื่อหาทางออกในการแกป้ ัญหาแต่ไม่สาเร็จ ในวนั ท่ี ๑๓ กรกฎาคมร.ศ. ๑๑๒ กองเรือรบ ของฝรั่งเศสจึงไดร้ ุกล้าเขา้ มาถึงปากแม่น้าเจา้ พระยา จนเกิดการยิงต่อสู้กบั ทหารไทยท่ีประจาป้อมพระจุลจอมเกลา้ และป้อมผีเส้ือสมุทรท่ีปากน้า ใน ท่ีสุดเรือปื นของฝรั่งเศส ๒ลา ก็แล่นผ่านเขา้ มาจอดทอดสมอหน้าสถานทูตฝร่ังเศสได้ ฝรั่งเศสย่ืนคาขาดหลายประการ เช่น การเรียกร้องสิทธิเหนือ ดินแดน และการเรียกร้องค่าปรับจานวนมาก เมื่อรัฐบาลไทยให้คาตอบล่าชา้ เรือรบฝร่ังเศสก็แล่นออกไปปิ ดอ่าวไทย กาถูกปิ ดน่านน้าประกอบกบั ขาด การสนบั สนุนจากประเทศองั กฤษซ่ึงไทยหวงั วา่ จะช่วยถ่วงดุลอานาจของฝร่ังเศส ทาใหไ้ ทยตอ้ งยอมอ่อนขอ้ ให้ฝร่ังเศสอยา่ งไม่มีเงื่อนไข วกิ ฤตการณ์ คร้ังน้ีจบลงดว้ ยการลงนามในสนธิสัญญากรุงเทพฯ เมื่อวนั ที่ ๓ ตุลาคม ร.ศ. ๑๑๒ ระหวา่ งรัฐบาลไทยกบั ฝรั่งเศส ทาใหไ้ ทยเสียสิทธิเหนือดินแดนฝ่ัง ซ้ายแม่น้าโขงและเสียอานาจการปกครองคนในบงั คบั ชาวอินโดจีนให้แก่ฝรั่งเศส นอกจากน้ีฝรั่งเศสยงั เขา้ ยึดครองจงั หวดั จนั ทบุรีไวเ้ ป็ นประกนั และ เตรียมแผนการท่ีจะยึดครองดินแดนอื่นๆ ของไทยต่อไปดว้ ยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั ตอ้ งทรงดาเนินวิเทโศบายทางการทูตดว้ ยความ อดทนและนิ่มนวล ทรงพยายามแสวงหาพนั ธมิตรจากมหาอานาจอ่ืนๆ ไวค้ อยช่วยเหลือเจรจาและทรงยอมผ่อนปรนให้กบั ขอ้ เรียกร้องต่าง ๆ ของ ฝรั่งเศสบา้ ง ความขดั แยง้ กบั ฝรั่งเศสซ่ึงกินเวลายาวนานต่อมาถึง ๑๔ ปี จึงไดย้ ุติลง ไทยไดจ้ งั หวดั จนั ทบุรีและตราดกลบั คืนมา กล่าวไดว้ า่ พระบท สมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงนาพาประเทศใหผ้ า่ นพนั วกิ ฤตอนั ยงิ่ ใหญ่น้นั มาไดด้ ว้ ยพระปรีชาสามารถ แมจ้ ะตอ้ งสูญเสียดินแดนบางส่วนไปบา้ ง แต่ก็ทรงรักษาแผน่ ดินผนื ใหญ่ของเราไวไ้ ดท้ าใหไ้ ทยสามารถดารงเอกราชและอธิปไตยสืบมาจนทุกวนั น้ี

ยทุ ธนาวที ี่ปากน้าและเหตุการณ์ตา่ งๆท่ีเกิดข้ึนอมาใน ร.ศ. ๑๑๒ ท้งั การยน่ื คาขาดของฝร่ังเศสการไม่ไดร้ ับความช่วยเหลือจาก องั กฤษการท่ีจนั ทบุรีถูกฝรั่งเศสยดึ เป็นประกนั ฯลฯ ไดท้ าใหพ้ ระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ซ่ึงทรงพระประชวรดว้ ยโรคพระหทยั มา ก่อนแลว้ ทรงเกิดความทุกขโ์ ทมนสั และตรอมพระทยั เป็นอยา่ งยง่ิ จนพระอาการประชวรทรุดหนกั ลงดงั ท่ีสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมพระยา เทวะวงศว์ โรปการเสนาบดีกระทรวงต่างประเทศทรงพระนิพนธ์ไวใ้ นลายพระหตั ถถ์ ึงเจา้ พระยาอภยั ราชา ท่ีปรึกษาราชการแผน่ ดินชาวเบลเยยี ม วา่ “ ทา่ นก็ทราบดีอยวู่ า่ เมื่อคร้ังที่เรามีเรื่องขดั แยง้ กบั ฝรั่งเศสพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เคยทรงหวงั พ่ึงองั กฤษความผดิ หวงั อยา่ งรุนแรงที่ทรง รู้สึกในคร้ังน้นั แทบจะทาใหพ้ ระทยั แตกสลายหรือสิ้นพระชนมส์ งทีเดียว“ นอกจากน้นั ในพระราชหตั ถเลขาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ท่ีพระราชทานไปยงั สมเด็จพระเจา้ ลูกยาเธอเจา้ ฟ้า มหาวชิราวธุ ท่ีประเทศองั กฤษระหวา่ งเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม ร.ศ. ๑๑๒ ก็ทรงเล่าถึงพระอาการประชวรไวโ้ ดยตลอดเช่น ....เป็นฝีท่ีตะโพกขา้ งหน่ึงมีเส้นสนั ระหวา่ งหนา้ แขง้ กบั ทอ้ งน่องขา้ งหน่ึงซ่ึงใคร ๆ เขาก็ร้องวา่ ไม่เป็นไร แตต่ วั พอ่ เองรู้สึกไม่ สบายมากตวั ร้อนแลดูเป็นพษิ ร้อนเหมือนฝาหอยใหญ่ ๆ เทา่ ๆ ฝ่ ามือพลงั ๆ ข้ึนมาในอกนอนก็ไม่คอ่ ยจะหลบั เพราะตอ้ งนอนหงายอยทู่ า้ เดียว .. ความลาบากท่ีจะตอ้ งนอนแซวอยเู่ ช่นน้นั แลตวั ร้อนอยเู่ สมอ ๆ ภายหลงั ลงมาชว่ั โมงกท็ าใหไ้ ดค้ วามลาบากเป็นอนั มาก แตต่ อ้ งนอนแผอ่ ยเู่ ช่นน้ีถึง ๒๐ วนั จนแผลท่ีตะโพกหายลงข้ีผ้งึ เป็น แตน่ อนทบั ยงั เจบ็ เน้ือใหมอ่ ยู่ แต่ขา้ งซา้ ยยงั มีแผลลึกสกั กระเบียดหน่ึงซ่ึงลดลงกวา่ แตก่ ่อนเป็นอนั มากใน เวลาท่ีไม่สบายน้นั ทาอะไรกไ็ มไ่ ดใ้ หก้ ลดั กลุม้ ในใจมีร้อนเป็ นเบ้ืองหนา้ พอ่ ไดร้ ับหนงั สือสองฉบบั อา่ นเองกไ็ มไ่ ดใ้ นเวลาเจบ็ น้ีพออา่ นแลว้ ก็ อาเจียนแลลืมเน้ือความดว้ ย ... ในระหวา่ งท่ีทรงพระประชวรหนกั น้ีความเจบ็ ปวดทุกขท์ รมานท้งั พระวรกายและพระทยั ทาใหท้ รงหมดกาลงั ที่จะดารงพระชนมช์ ีพตอ่ ไปจึงหยดุ เสวยพระโอสถและไดท้ รง

พระราชนิพนธ์บทโดลงและฉนั ทข์ ้ึนบทหน่ึงเพื่อทรงลาเจา้ นายพี่นอ้ งบางพระองคเ์ ช่นพระนางเจา้ สุขมุ าลมารศรีพระราชเทวี” ซ่ึงทรงเฝ้าพยาบาลพระอาการอยโู่ ดยตลอดและพระเจา้ นอ้ งยาเธอกรมหม่ืนตารงราชานุภาพ (พระยศในขณะน้นั ) พระนางเจา้ สุขุมาลมารศรีพระ ราชเทวไี ดท้ รงพระนิพนธ์โคลงสี่สุภาพ ๓ บทถวายตอบพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ส่วนสมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมพระยา ดารงราชานุภาพไดท้ รงพระนิพนธ์อินทรวเิ ชียรฉนั ทจ์ านวน ๒๖ บทถวายตอบเช่นกนั ดงั ที่หม่อมเจา้ หญิงพูนพิศมยั ดิศกุลพระธิดาทรงบนั ทึกไว้ กลวั เป็นทวริ าชบตริป้องอยธุ ยาในบทพระราชนิพนธ์ส่วนแรกซ่ึงประกอบดว้ ยโคลงส่ีสุภาพ ๗ บทพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั ทรง ข้ึนตน้ ดว้ ยการแสดงความกงั วลพระทยั ที่ทรงพระประชวรอยา่ งหนกั เป็ นเวลานานทาให้เป็ นภาระอนั “ หนกั อกผูบ้ ริรักษ์” ท้งั ปวงความกงั วล พระทยั น้ีเมื่อประกอบกบั ความ“ เจบ็ ” ท้งั พระวรกายและพระทยั ของพระองคร์ วมท้งั มีทรงสามารถปฏิบตั ิพระราชกรณียกิจไดอ้ ยา่ งเต็มพระกาลงั โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในยามวิกฤติเช่นน้นั จึงทาให้พระทยั “ บมีสมาย” เพ่ิมอีกประการหน่ึงจึงมีพระราชประสงคท์ ่ีจะ“ ลาลาญหัก” จากภพน้ีเพื่อ ปลดเปล้ืองความทุกขค์ วามเหน็ดเหนื่อยของผูท้ ี่เฝ้ารักษา พยาบาลและของพระองคเ์ องถึงกระน้นั ก็ดีพระองคท์ รงตระหนกั ดีวา่ พระองคย์ งั ไม่ สามารถเสด็จไป“ สู่ภพเบ้ืองหนา้ ” ตามพระทยั หมายเพราะทรงมีภาระหนา้ ที่อนั หนกั ยิ่งกว่าผูใ้ ดในแผน่ ดินคือตอ้ งทรงปกป้องรักษาบา้ นเมือง เอาไวใ้ ห้แก่ประชาชนไทยทุกคนการท่ีทรงใชภ้ าพพจน์ประเภทอุปลกั ษณ์เปรียบภาระหน้าท่ีเป็ นตะปูที่ยึดตรึงพระบาทของพระองคไ์ วช้ ่วยให้ ผอู้ ่านเกิดจินตภาพอนั แจ่มชดั วา่ พระองคท์ รงตกอยใู่ นความทุกขอ์ นั แสนสาหสั เพยี งใดและไมท่ รงสามารถปลดเปล้ืองความทุกขน์ ้นั ออกไปได้

ในพระราชนิพนธ์ส่วนท่ีสองซ่ึงแต่งด้วยอินทรวิเชียรฉันท์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หัวทรงบรรยายความรู้สึก เหนื่อยหน่ายหมดกาลงั พระทยั ที่จะทรงรักษาพระองคอ์ นั เป็ นผลมาจากพระอาการประชวรที่ดาเนินต่อเนื่องมายาวนานและที่ทาให้ทรง“ กลดั กลุม้ ” มากข้ึนไปอีกกค็ ือทรงทราบดีวา่ แมจ้ ะหายจากพระอาการประชวรและกลบั มาทรงงานไดอ้ ยา่ งเตม็ ที่ก็มิใช่วา่ จะทรงสามารถแกป้ ัญหา“ ศิระ กลุ่มอุราตรึง” ลงไดเ้ พราะการหาทางป้องกนั รักษาบา้ นเมืองใหร้ อดพน้ จากเง้ือมมือของฝรั่งเศสเป็ นเร่ืองยากยงิ่ ดงั ท่ีทรงพรรณนาวา่ “ ลาบากฤทยั ” ยง่ิ นกั เพราะเมื่อทรง“ ตริ” อยา่ งไรก็ดูจะถูก“ ตรึง”“ ริง”“ รัด” คือติดขดั ไปโดยตลอดท้งั หมดคิดจะทรง“ เกี่ยงแก”้ อยา่ งไรก็มิทรงมองเห็น“ เง่ือน สาย” การท่ีทรงมองไม่เห็นทางออกในการแกไ้ ขปัญหาน้ีก่อให้เกิดความกงั วลอนั ใหญ่หลวงที่สุดข้ึนในพระทยั คือทรงหวนั่ ไหววา่ หากทรงรักษา ชาติไวไ้ ม่ไดแ้ ละตอ้ ง“ เสียเมือง” ไปพระองคก์ ็จะทรงเป็ นเช่นเดียวกบั “ ทวิราช” คือสมเด็จพระมหินทราธิราชและสมเด็จพระเจา้ เอกทศั ในคราว เสียกรุงศรีอยุธยาท้งั สองคร้ังและจะตอ้ งทรงถูกติฉินตลอดไปวา่ ไม่สามารถประกอบพระราชกรณียกิจที่สาคญั ที่สุดของพระมหากษตั ริยค์ ือการ ปกป้องรักษาชาติบา้ นเมืองเอาไว้ ขอตายใหต้ าหลบั ดว้ ยช่ือนบั ว่าชายชาญสมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมพระยาดารงราชานุภาพทรงเร่ิมตน้ พระนิพนธ์ของพระองคด์ ว้ ยการถวาย กาลงั พระทยั แด่พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั โดยทรงบรรยายใหเ้ ห็นวา่ พระองคใ์ นฐานะท่ีทรงเป็ นพระบรมวงศานุวงศแ์ ละเสนาบดีท่ี ทรงปฏิบตั ิงานยา่ งใกลช้ ิดทรงตระหนกั วา่ พระอาการประชวรน้นั หนกั หนาสาหสั เพยี งใดทรงมีความวติ กกงั วลั ห่วงใยและพร้อมที่จะสละเลือดเน้ือ และชีวติ หากจะช่วยบรรเทาพระอาการประชวรองไดด้ งั ขอ้ ความวา่ “ เลือดเน้ือผเี จือยาใหห้ ายไดจ้ ะชิงถวาย” และมิใช่เพียงพระองคผ์ ูท้ รง“ อยใู่ กล”้ เท่าน้นั ที่บงั เกิดความ“ วิตกพนั จะอุปมา” แต่ประชาชนทวั่ ไปท้งั “ ไผทสยาม” ก็เกิดความรู้สึกเช่นเดียวกนั ต่อพระมหากษตั ริยผ์ ทู้ รงเป็ นท่ีรักยงิ่ ดงั ปรากฏในคาประพนั ธ์วา่ “ ทุกหนา้ ทุกสาคูบพบผจู้ ะฟังสบายปรับทุกขท์ ุรนรายกนั มิเวน้ ทิวาวนั ”

หลงั จากถวายกาลงั พระทยั แลว้ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมพระยาดารงราชานุภาพก็ถวายขอ้ คิดวา่ คนไทยทุกหมู่เหล่า ซ่ึงเปรียบเสมือนลูกเรือของเรือสยามกาลงั ตกอยูใ่ นภาวะสับสนไม่รู้จะทาประการใดเร่ิมต้งั แต่“ ระเหวว่ า้ ”“ ฉงน”“ คลางแคลง” \"แหนง” พระแวง”“ อึดอดั ” จนกระทงั่ ในท่ีสุดกเ็ กิด“ ทุกขท์ วที ุกวนั วาร” ท้งั น้ีเพราะตอ้ งอยู“่ ห่างบตียาน” คือพระองคผ์ ูท้ รงเป็ นใหญ่ในเรือจึงมีพกั จะตอ้ งทรงบรรยายต่อไปวา่ หากเรือขาด“ กะปิ ตนั ” ท่ีทรงเป็ นท้งั ผูน้ าและศูนยร์ วมจิตใจของชาติลูกเรือหรือประชาชนท้งั หลายจะตกอยูใ่ น สภาวะเช่นไรจากน้นั พระองคไ์ ดก้ ราบทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั ใหท้ รงตระหนกั ในสัจธรรมที่วา่ การดาเนินกิจการงาน ใด ๆ ย่อมตอ้ งพบอุปสรรคดว้ ยกนั ท้งั สิ้นโดยทรงใช้ภาพพจน์แบบอุปมาเปรียบเทียบ“ บรรดากิจ” กบั เรือท่ีแล่นไปในทะเลซ่ึงย่อมตอ้ ง เผชิญกบั พายเุ ป็ นธรรมดาการจะผา่ นพายุไปให้พน้ ก็ตอ้ งได“้ แรงระดม” จากท้งั กปั ตนั และลูกเรือทุกคนคือตอ้ งมีความร่วมมือร่วมใจและ ความอุตสาหะพยายามอยา่ งถึงที่สุดเม่ือไดท้ าเช่นน้นั แลว้ แมเ้ รือจะจมลงทุกคนก็ยงั มีความภูมิใจและยอ่ มไดร้ ับคาสรรเสริญเรื่องความมานะ บากบนั่ กลา้ หาญการที่จะ“ ทอดธุระน่ิงบวนุ่ ว่งิ เยยี วยาทา” ไม่ก่อผลดีอยา่ งใดเพราะเรือยอ่ มจะจมลงแน่นอนท้งั ยงั จะถูกตาหนิดว้ ยวา่ รลาด เขลาและเมาเมิน” ต่อจากการถวายขอ้ คิดสมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมพระยาดารงราชานุภาพไดท้ รงอาสาท่ีจะถวายชีวิตรับใชป้ ฏิบตั ิหนา้ ที่ตามพระราช- บญั ชาของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั จนสุดกาลงั สอดคลอ้ งกบั คติโบราณท่ีวา่ “ อาสาเจา้ จนตวั ตาย” และยงั ทรงขยายความต่อไปดว้ ยวา่ แมช้ ีวติ จะสูญไปก็จะ“ ตายใหต้ าหลบั ดว้ ยช่ือนบั วา่ ชายชาญเพราะไดป้ ระกอบกิจท่ีพึงกระทาโดยเตม็ กาลงั แลว้ เห็นไดช้ ดั วา่ องคผ์ ทู้ รงพระ นิพนธ์มีพระประสงค์จะใช้ภาพพจน์น้ีเป็ นเครื่องกระตุน้ ให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั เกิดพระขตั ติยมานะที่จะต่อสู้กบั อุปสรรคอยา่ งเตม็ ที่หากมิใช่เพือ่ ใหส้ มกบั ท่ีทรงเป็นพระมหากษตั ริยอ์ ยา่ งนอ้ ยก็เพ่อื ใหส้ มกบั ท่ีทรงเป็ น“ ชายชาญ”

ผูห้ น่ึงพระนิพนธ์จบลงดว้ ยการถวายพระพรให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ ัวทรงฟ้ื นจากพระอาการประชวรโดยเร็วและมีพระราช หฤทยั ที่ผอ่ งแผว้ ปลอดโปร่งจาก“ เหตุที่ขุ่นขดั ” อนั จะทาให้“ วบิ ตั ิพระขุนดี \"กบั มีพระชนมายุยืนยาวเพ่ือ“ สยามรัฐพิพฒั น์ผล” เห็นไดช้ ดั วา่ ใน ฉนั ท์ถวายตอบน้ีสมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพต้งั พระทยั ท่ีจะถวายท้งั คาปลอบประโลมให้คลายความทุกข์โทมนัส คายนื ยนั ถึงความจงรักภกั ดีท่ีพระองคแ์ ละประชาชนไทยมีตอ่ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั คาเตือนใจอนั เป็ นสัจธรรมคาปลุกใจให้ลุกข้ึนต่อสู้โดย ไมย่ อมแพต้ อ่ อุปสรรครวมถึงคาอวยพรที่แฝงดว้ ยการฝากความหวงั ของประเทศชาติไวด้ ว้ ยการใชภ้ าษาที่ทรงพลงั และภาพพจนท์ ี่สื่อความไดล้ ึกซ้ึง กินใจเมื่อประกอบเขา้ กบั การจดั เรียงลาดบั เน้ือหาได้อย่างเหมาะสมคาฉันท์บทน้ีจึงบรรลุผลอย่างงดงามในการสร้างกาลงั พระราชหฤทยั ให้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั ในอนั ท่ีจะทรงมีชีวติ อยูอ่ ยา่ งเขม้ แข็งเพ่ือทรงนาพา“ รัฐนาวาสยาม” ใหผ้ ่านพน้ จากลมพายไุ ปไดอ้ ยา่ ง ปลอดภยั

วเิ คราะห์คุณค่า 1.วเิ คราะห์คุณค่าด้านเนื้อหา รูปแบบ ลกั ษณะคาประพนั ธ์ท่ีใชแ้ ตง่ ผแู้ ต่งเป็นโคลงส่ีสุภาพและอินทรวเิ ชียรฉนั ท์ ซ่ึงเหมาะสมแก่การเขียน จดหมาย เพ่ือการสื่อสารลกั ษณะการแต่งถูกตอ้ งตามฉนั ทลกั ษณ์บงั คบั ของคาประพนั ธ์เป็นร้อยกรอง ที่ใชท้ ้งั บรรยายโวหาร พรรณนา โวหาร คาอุปมา คาสัญลกั ษณ์ อุปลกั ษณ์ สมั ผสั อกั ษร-สระ ฯลฯ ซ่ึงเป็นจดหมายอาลา ญาติและเป็นพระราชหตั ถเลขาอาลา พระบรมวงศานุวงศ์ (เป็นสาสน์ตอบกลบั )

วเิ คราะห์คุณค่า องค์ประกอบของเรื่อง สาระ : ผแู้ ต่งไดแ้ ต่ง เป็นพระราชหตั ถเลขาอาลาพระบรมวงศานุวงศ์ (เป็นสาสนต์ อบกลบั ) เนน้ การสื่อสาร เป็นหลกั ซ่ึงกล่าวถึง การ ถวายกาลงั พระทยั ในหลวงในเร่ืองเหตุการณ์บา้ นเมืองและอาการประชวรชาติไทยตอ้ งการผนู้ าและศูนยร์ วมจิตใจ ทุกอยา่ งตอ้ งมี อุปสรรคแมว้ า่ ในที่สุดจะไม่สามารถตา้ นทานสิ่งในไดก้ ็สามารถภูมิใจไดว้ า่ ทาดีที่สุดแลว้ เจบ็ นานหนกั อกผู้ บริรักษ์ ปวงเฮย ผวิ พอกาลงั เรือ ก็แล่นรอดไม่ร้าวราน คิดใคร่ลาลาญหกั ปลดเปล้ือง หากกรรมจะบนั ดาล ก็คงล่มทุกลาไป ความเหนื่อยแห่งสูจกั พลนั สร่าง ฉะน้ีอยทู่ ุกจิตใจ ตูจกั สู่ภพเบ้ือง หนา้ น้นั พลนั เขษม ชาวเรือก็ยอ่ มรู้ ตอ้ งจาแกด้ ว้ ยแรงระดม แตล่ อยอยตู่ ราบใด

1.วเิ คราะห์คุณค่าด้านเนื้อหา โครงเร่ือง : การเขียนจดหมายโตตอ้ บระหวา่ งพระมหากษตั ริยแ์ ละคนสนิทของพระองคโ์ ดยเน้ือหาของ จดหมายส่วนแรกกล่าวถึงอาการป่ วยความหนกั ใจและความอึดอดั ใจของพระองคท์ ี่ไมส่ ามารถละทิง้ บา้ นเมืองไปไดแ้ ละเน้ือหาในส่วนหลงั เป็นการโตตอ้ บกลบั มาของลูกนอ้ งคนสนิทซ่ึงมีเน้ือความใหก้ าลงั ใจ และถวายชีวติ รับใชพ้ ระมหากษตั ริยข์ องตน ตวั ละคร : 1.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รักประเทศและประชาชนของพระองคเ์ ห็นประโยชน์ส่วนรวมเป็ นหลกั โดยในขณะท่ีประชวรหนกั กย็ งั ทรงกงั วลพระทยั ที่ไมส่ ามารถปฏิบตั ิพระราช กรณียกิจไดเ้ ตม็ พระกาลงั ดงั ความตอนหน่ึงวา่ ตะปูดอกใหญ่ตร้ึง บาทา อยเู่ ฮย จึง บ อาจลีลา คล่องได้

2.สมเด็จพระยาดารงราชานุภาพ มีบุคลิกที่เป็นคนกตญั ญู มีพฤติกรรมที่ดีต่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ประชาชนในแผน่ ดินกม็ ีความจงรักภกั ดีและเคารพตอ่ พระเจา้ อยหู่ วั ของแผน่ ดินตน อนั พระประชวรคร้ัง น้ีแทท้ ้งั ไผทสยาม เหล่าขา้ พระบาทความ วติ กพน้ จะอุปมา ประสาแต่อยใู่ กล้ ท้งั รู้ใช่วา่ หนกั หนา เลือดเน้ือผเิ จือยา ใหห้ ายไดจ้ ะชิงถวาย ฉากและบรรยากาศ : ในบทพระราชนิพนธ์ ไม่ไดก้ ล่าวถึงโดยตรงถึงสถานที่ใดสถานที่หน่ึง แต่ตวั ประวตั ิศาสตร์ไดก้ ล่าววา่ บทกวีพระราชนิพนธ์ขตั ติพนั ธกรณีได้ถูกคดั มาจากพระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หัวถึงที่ ประชุมเสนาบดี ลงวนั ที่ 10 เมษายน ร.ศ. 112 ขณะข้ึนเรือพระท่ีนง่ั มหาจกั รี หลงั จากเสด็จพระราชดาเนิน สารวจป้อมที่ตาบล แหลมฟ้า และการก่อสร้างป้อมพระจุลจอมเกลา้

กลวธิ ีในการแต่ง : ผแู้ ต่งเลือกใชถ้ อ้ ยคาและการนาเสนออยา่ งตรงไปตรงมา โดยมีความเปรียบในบางบท นาเสนอโดยสร้างภาพพจน์อยา่ ง น่าดึงดูดและน่าสนใจ เช่น สลาตนั เป็นสัญลกั ษณ์ หมายถึง อุปสรรค ธรรมดามหาสมุทร มีคราวหยดุ พายผุ นั มีคราวสลาตนั ต้งั ระลอกกระฉอกฉาน กแ็ ล่นรอดไม่ร้าวราน ผวิ พอกาลงั เรือ หากกรรมจะบนั ดาล กค็ งล่มทุกลาไป

2.วเิ คราะห์คุณค่าด้านวรรณศิลป์ วเิ คราะห์วรรณคดีด้านโวหาร เป็ นฝี สามยอดแลว้ ยงั ราย ส่านอ ปวดเจบ็ ใครจกั หมาย ช่วยได้ ใช่เป็ นแต่ส่วนกลาย เศียรกลดั กลุม้ แฮ ใครต่อเป็ นจ่ึงผู้ นนั่ น้นั เห็นจริง พรรณนาโวหาร กวเี ลือกใชค้ าง่ายๆ แต่สื่ออารมณ์ไดอ้ ยา่ งดี ทรงเล่าถึงพระอาการประชวรวา่ เป็นฝีสามยอด และยงั มีส่าไขเ้ ป็นผนื่ ไปทวั่ เจบ็ ปวดอยา่ งไมน่ ่าเชื่อ การประชวรคร้ังน้ีมิใช่แต่พระวรกายแตย่ งั ทรงกลดั กลุม้ พระราชหฤทยั ดว้ ยผใู้ ดไดม้ าเป็นเช่นพระองคจ์ ึงจะรู้ถึง ความเจบ็ ปวดวา่ มากเพยี งใด










































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook