Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ดนตรี test

ดนตรี test

Published by sakonlapat3918, 2021-08-11 05:18:40

Description: ดนตรี test

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1 ความรูเ้ บื้องตน้ เกย่ี วกบั ดนตรี 1. ความหมายของดนตรแี ละคำทเี่ กีย่ วข้อง 1.1 ความหมายของดนตรี (พจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑิตสถาน 2542 : 394) หมายถงึ เสยี งที่ ประกอบกนั เปน็ ทำนองเพลง เครอ่ื งบรรเลงซง่ึ มเี สยี งดงั ทำใหร้ สู้ กึ เพลดิ เพลนิ หรอื เกดิ อารมณร์ กั โศก หรอื รน่ื เรงิ เปน็ ต้น ไดต้ ามทำนองเพลง 1.2 ดนตรกี รรม (พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑิตสถาน 2542 : 394) หมายถงึ งานเก่ยี วกับเพลงที่ แตง่ ข้ึนเพอื่ บรรเลงหรือขบั ร้องไม่ว่าจะมีทำนองและคำรอ้ ง หรือมที ำนองอย่างเดยี วและหมายความรวมถึง โน้ตเพลงหรือ แผนภูมิเพลงท่ไี ดแ้ ยกและเรียบเรียงเสยี งประสานแล้ว 1.3 ความหมายของคำทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ดนตรี นอกจากความหมายของดนตรที ไ่ี ดก้ ลา่ วแลว้ ขา้ งตน้ ยงั มคี ำอ่นื ทีเ่ กย่ี วข้องกบั ดนตรที ีค่ วรอธิบายความหมาย มีดังน้ี 1.3.1. เพลง หมายถึง สำเนยี งขับร้องหรือเสียงทางดนตรีท่ีประดษิ ฐข์ ึน้ โดยมีส่วนสัดและ วรรคตอนตามจนิ ตนาการของผปู้ ระพันธ์ ซงึ่ มีลกั ษณะเชน่ เดยี วกบั บทกวีทแ่ี ตง่ ขนึ้ โดยใช้ถอ้ ยคำ เสียง อกั ษร สระ และวรรณยุกต์ ตามกฎแหง่ ฉันทลกั ษณ์ เพลงหน่ึงจะมีกีจ่ ังหวะ และ/หรอื กีท่ อ่ นน้ันไม่มกี ำหนดตายตวั แต่แบบแผนของเพลงไทยที่มีมาแต่โบราณ ทอ่ นหนง่ึ ๆ จะมไี มน่ อ้ ยกว่า 2 จงั หวะหน้าทับ (ราชบัณฑติ สถาน 2540 : 107) เพลงสามารถจำแนกประเภทไดห้ ลายวิธี จำแนกประเภทของเพลงตามหลกั วชิ าการดนตรี แบ่งได้ 4 ประเภท คือ 1) เพลงร้องที่มีเนอื้ เพลงและทำนอง 2) เพลงบรรเลงแต่ทำนอง เชน่ การผวิ ปาก หรือเสียงขลุ่ย 3) เพลงร้องทีม่ ดี นตรีประกอบ 4) เพลงบรรเลงด้วยเครอื่ งดนตรี หากจำแนกเพลงตาม จังหวะอาจแบ่งไดเ้ ป็น เพลงคลาสสกิ (Calssic music) เพลงแจ็ส (jazz music) เพลงบลูส์ (blue music) และเพลงรธิ ึ่มแอนบลสู ์ (rhythm & blue) หากแบง่ เพลงตามความหมายทเี่ ก่ียวขอ้ งกับชวี ิต สามารถจำแนก ประเภทได้เปน็ เพลงพ้นื บา้ น (Folk Music) เพลงเพอื่ ชีวิต เพลงลูกทงุ่ (country music) เพลงลกู กรงุ หรอื เพลงป๊อป (light music or popular music) 1.3.2. วงดนตรี หมายถงึ การนำเคร่ืองดนตรปี ระเภทใดๆต้ังแต่ 3 ช้ินขึน้ ไป หรอื นักดนตรี ตงั้ แต่ 3 คนขึน้ ไปมาเลน่ รวมกนั เป็นวง วงดนตรีอาจจำแนกย่อยได้เป็น5 ประเภท คือ วงดนตรไี ทยเดมิ วงดนตรไี ทยสากล วงดนตรไี ทยลูกทงุ่ วงดนตรไี ทยพ้นื เมอื งและวงดนตรสี ากล 1.3.3. โนต้ เพลง หมายถึงเพลงหรือบทเพลงท่บี ันทึกดว้ ยวิธเี ขยี นหรือพมิ พ์ โดยใช้สัญลักษณ์ แทนระดับเสยี ง และอตั ราจังหวะของเสียงทีจ่ ะรอ้ งหรอื บรรเลงด้วยเครอ่ื งดนตรชี นดิ ตา่ งๆ โน้ตเพลงเป็น เสมอื นบนั ทึกผลงานเพลงของนักประพนั ธ์ ซึ่งบางครง้ั สะท้อนใหเ้ หน็ สภาวะของสงั คมและวฒั นธรรมในชว่ ง เวลาหนงึ่ โดยทว่ั ไปโนต้ เพลงมกี ารบนั ทึกได้ 2 รปู แบบ คอื แบบโทนกิ ซอลฟา และแบบสตาฟโนเตชั่น ซึ่งแต่ ละแบบจะมลี ักษณะ ดังน้ี 1.3.3.1 แบบโทนิกซอลฟา (Tonic Sol Fa) เป็นโน้ตเพลงท่บี นั ทกึ โดยใชส้ ญั ลกั ษณ์ ตัวเลข หรือตัวอกั ษรแทนเสียงดนตรี โนต้ เพลงแบบตวั เลข มีหลกั พ้นื ฐาน คือ เลขนอ้ ยแทนความหมายเสยี งตำ่ เลขมากแทนความหมายเสยี งสูง โดยทัว่ ไปใช้ตัวเลข 9 ตัว คอื 1 ถงึ 9 ทรัพยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี 1

ตวั อย่างโนต้ เพลงท่ใี ชส้ ญั ลกั ษณ์ตัวเลขแทนเสียงดนตรี สว่ นตัวโนต้ เพลงแบบตัวอกั ษร จะใช้การบอกระดบั เสยี งดนตรีท่เี ป็นโน้ตสากลทว่ั ไป คอื โด (Do), เร (Re), มี (Mi), ฟา (Fa), ซอล (Sol), ลา (La), ที (Ti) หรอื ใช้อักษรยอ่ ซึ่งแต่ละประเทศจะใชภ้ าษา ของตนแทนเสียงเหลา่ นัน้ เชน่ ประเทศไทยใช้ ด แทน โด, ร แทน เร ม แทน มี, ฟ แทน ฟา, ซ แทน ซอล, ล แทน ลา และ ท แทน ที 2 ทรพั ยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี

ตวั อยา่ งโน้ตเพลงท่ีใชอ้ ักษรแทนเสยี งดนตรี การบรรเลงและขบั รอ้ งเพลงทบ่ี นั ทกึ แบบโทนกิ ซอลฟาน้ี อาจมกี ารใชล้ กู เลน่ พลกิ แพลงไดต้ ามความ ชำนาญของแตล่ ะคน โดยไมท่ ำให้ชว่ งทำนองของเพลงเสียไป 1.3.3.2. แบบสตาฟโนเตชัน (Staff Notation) เป็นโนต้ สากลทม่ี ีการแบ่งเสยี งตวั โน้ตทางดนตรี และแบ่งจังหวะไดอ้ ย่างละเอยี ด โดยมีสว่ นประกอบ 3 สว่ นที่สำคัญ คอื บรรทดั 5 เส้น ตวั โน้ต และกญุ แจประจำหลกั ส่วนที่ 1 บรรทดั 5 เส้น เปน็ เสน้ ขนาน 5 เสน้ ซง่ึ มีระยะหา่ งระหว่างแต่ละเส้นเท่าๆ กนั มีไว้สำหรับ บันทึกตวั โนต้ ตัวหยดุ และเครือ่ งหมายกำหนดจังหวะ ทำใหท้ ราบระดับเสยี งสงู –ตำ่ ของตวั โน้ต ทรพั ยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี 3

ในการบนั ทกึ ตัวโน้ตจะต้องบนั ทึกทง้ั คาบเส้น และในช่องของบรรทดั 5 เส้น การนบั เส้นและช่อง ระหวา่ งโน้ต นบั จากขา้ งล่างข้ึนไปหาหวั บน ดงั น้ี คาบเส้นที่ ชอ่ งท่ี สว่ นที่ 2 ตัวโน้ต คือ เคร่อื งหมายท่ีใช้บันทกึ เสียง ตวั โน้ตจะมีเสยี งสงู ต่ำระดับใด ขนึ้ อยกู่ บั บรรทัด 5เส้นและกญุ แจประจำหลัก ซึ่งเปน็ เครอ่ื งหมายบงั คบั เสยี งตัวโน้ต เมอ่ื เหน็ ลกั ษณะและตำแหนง่ ของตัวโนต้ ที่บนั ทกึ อยูใ่ นบรรทัด 5 เส้น จะทำให้ทราบวา่ เสียงจะมีระดบั สูง – ต่ำ และมีความส้นั – ยาวมากนอ้ ยเพยี งใด ตัวโนต้ ทพ่ี บทัว่ ๆ ไป มี 7 ลกั ษณะ ดงั นี้ ชนิด ลกั ษณะ ชือ่ เรียก อัตราจังหวะ อเมรกิ า ตัวโน้ต ไทย อังกฤษ Whole note มอี ตั ราจงั หวะยาวทส่ี ดุ 1. ตวั กลม Semibreve 2. ตวั ขาว Minim Half note มีอัตราจังหวะเปน็ 1/2 ของ ตัวกลม 3. ตวั ดำ Erotehet Quarter note มีอตั ราจงั หวะเปน็ 1/4 ของ ตัวกลม 4. ตวั เขบ็ต Quaver Eighth note มอี ตั ราจงั หวะเปน็ 1/8 ของ หนงึ่ ช้นั ตัวกลม 5. ตวั เขบ็ต Semiguaver Sixteenth มอี ตั ราจงั หวะเปน็ 1/16 ของ สองชัน้ note ตัวกลม 6. ตวั เขบ็ต Demisemiguaver Thirty-second มอี ัตราจังหวะเปน็ 1/32 ของ สามช้ัน note ตัวกลม 7. ตัวเขบ็ต Sixty-fourth มอี ตั ราจังหวะเป็น1/64 ของ สชี่ ้นั note ตวั กลม 4 ทรัพยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี

สว่ นที่ 3 กญุ แจประจำหลัก เป็นเครอ่ื งหมายที่มไี วบ้ งั คบั เสียงตัวโน้ต ตัวโน้ตตา่ งๆ ทบ่ี นั ทึกคาบ เส้นหรอื ในช่องว่างระหว่างเสน้ บรรทดั 5 เสน้ ยังไม่สามารถทีจ่ ะอา่ นเป็นเสียงเพลงได้ เพราะยงั ไมม่ กี ญุ แจ ประจำหลกั บังคบั เสียง กุญแจประจำหลักมีอยหู่ ลายชนิด เชน่ กญุ แจประจำหลัก ซอล (Treble clef or G clef) กญุ แจประจำหลักฟาเบส (Bass F Clef or Bess Clef) กุญแจประจำหลกั โดอัลโท (Alto C Clef) และกญุ แจ ประจำหลกั โตเตเนอร์ (Teno C Clef) เป็นต้น ในทน่ี จ้ี ะยกตวั อยา่ งเฉพาะกญุ แจประจำหลกั ซอล เทา่ นน้ั เนอ่ื งจากเปน็ กญุ แจประจำหลกั ทใ่ี ชก้ นั มาก และใช้สำหรับเคร่ืองดนตรหี รือเสียงร้องทม่ี ีเสยี งระดับกลางๆ คือ ไม่สงู มาก และไมต่ ่ำมาก การบันทึกกญุ แจ ประจำหลักซอล จะบนั ทึกหวั กญุ แจลงบนคาบเสน้ ท่ี 2 ของบรรทดั 5 เส้น โน้ตทุกตวั ท่อี ยูค่ าบเสน้ ท่ี 2 ของ บรรทัด 5 เส้น อา่ นเป็น ซอล (G) ทั้งหมดดังตัวอยา่ ง เชน่ ตวั อย่าง เมอื่ ตัวโนต้ ใดท่อี ยูค่ าบเส้นท่ี2ของบรรทัด5เส้น แลว้ อ่านชอ่ื ตวั โนต้ ชนดิ ต่างๆเปน็ ซอลท้ังหมด เมื่อ นบั ลำดับเสียงสูงและเสยี งต่ำลงมา 8 ช้ัน (นับตามลำดบั ข้นั โดยเร่มิ จากเสน้ ที่ 2 ไปชอ่ งทีค่ าบเส้นชอ่ งนับ ไปเรอื่ ยๆ ท้งั ขึน้ และลง จะได้ดังนี้ โนต้ เพลงมคี วามสำคญั ใชเ้ ปน็ บทเรยี นหรอื แบบฝกึ หดั ปฏบิ ตั สิ ำหรบั ผศู้ กึ ษาดา้ นดนตรี และโนต้ เพลง ยงั เปน็ แหลง่ ขอ้ มลู ในการศกึ ษาคน้ ควา้ หาความรเู้ กย่ี วกบั ววิ ฒั นาการดา้ นดนตรแี ละเรอื่ งเกยี่ วกบั สงั คม สภาพ ความเปน็ อยใู่ นแต่ละชว่ งสมยั ได้ดว้ ย 1.3.4. เคร่ืองดนตรี หมายถึง เคร่ืองบรรเลงซง่ึ มีเสยี งดัง ทำให้รู้สกึ เพลดิ เพลิน หรือเกดิ อารมณร์ ัก โศก และรนื่ เรงิ ไดต้ ามทำนองเพลง (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน 2545 : 260) หากแบ่ง ทรพั ยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี 5

ประเภทของเคร่ืองดนตรีตามลกั ษณะของกริ ยิ าอาการที่ทำใหเ้ กิดเปน็ เสยี งดนตรีแบ่งไดเ้ ปน็ 4 ประเภท คอื เครื่องดีด เครื่องสี เครือ่ งตี และเคร่ืองเปา่ และเมื่อนำเครอ่ื งดนตรีมาจดั เปน็ วงดนตรีจะแบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คอื เครือ่ งสายทใี่ ช้คนั ชกั สี เคร่อื งสายท่ใี ช้ดดี เครื่องเป่าลมไม้ เคร่อื งเป่าโลหะ เครอื่ งกำกับจังหวะ และเครือ่ งดนตรีไฟฟา้ 1.3.5. เสียงดนตรี คือ สงิ่ ที่ถูกสร้างขึน้ จากธรรมชาติ เมือ่ ไดย้ ินไดฟ้ ัง แล้วเกดิ อารมณ์ คล้อยตาม หรอื เลียนแบบ 1.3.6. เพลงดนตรี คือ ทำนองทีม่ ผี ้ปู ระดิษฐข์ น้ึ โดยมี สว่ นสัด จงั หวะ วรรคตอน และสมั ผัส ทถ่ี ูกตอ้ งตามกฎเกณฑ์ของดรุ ิยางคศลิ ป์ 1.3.7. ทำนอง หมายถึง เสียงสูง สงู ตำ่ ต่ำ สลบั สับกัน มีความสนั้ ยาว เบา แรง อยา่ งไรแลว้ แต่ความตอ้ งการของผูแ้ ต่ง 1.3.8. จังหวะ หมายถึง การแบ่งส่วนยอ่ ยของทำนองเพลงซง่ึ ดำเนินไปด้วยความสมำ่ เสมอ ทกุ ระยะของส่วนที่แบง่ น้ีคือ “จังหวะ” ดนตรไี ทยแบง่ จังหวะออกเปน็ 3 อย่าง คอื ก. จงั หวะทั่วไป คือ จงั หวะท่ีมอี ยู่ในใจของผู้บรรเลง และผขู้ บั ร้อง ข. จังหวะฉิง่ คอื การใชฉ้ ่ิงเป็นเคร่ืองตีบอกจังหวะ หนกั เบา ชา้ เร็ว ถ่ี ห่าง ค. จงั หวะหนา้ ทบั คอื การใชก้ ลองตปี ระกอบเพอื่ แสดงใหร้ วู้ า่ เปน็ จงั หวะเพลงประเภท ใด และเร่งเร้าใหเ้ กิดความสนุกสนานแกผ่ ูฟ้ งั 2. การจดั วงดนตรีไทย วงดนตรีไทยท่ีเป็นแบบแผนบรรเลงกนั อยใู่ นปัจจบุ ัน มี 3 ชนดิ ได้แก่ 2.1. วงปพี่ าทย์ คอื วงบรรเลงท่ีประกอบดว้ ย ระนาด และฆ้อง กับเครือ่ งอุปกรณ์ต่างๆ บางสมยั เรียกพิณพาทย์ ตามตำนานท่ีพิณเปน็ ต้นกำเนิด หรอื มีพิณเปน็ ประธาน สมยั ต่อมาเรียก “ปพี่ าทย์” เพราะมีปี่ เป็นประธานของวง ถงึ แม้วงทีไ่ ม่ผสมด้วยปี่ หากเปน็ วงที่มรี ะนาดมีฆ้องก็คงเรยี กว่า “ปพ่ี าทย”์ ทง้ั นน้ั วงป่พี าทย์ มีชอื่ เรยี กตามปริมาณของเครือ่ งผสมทอ่ี ยู่ในวงได้ 3 ขนาด คือ ป่ีพาทยเ์ คร่ืองหา้ ป่พี าทย์เครอ่ื งคู่ และปพ่ี าทยเ์ คร่อื งใหญ่ ก. ปี่พาทยเ์ ครอ่ื งห้า มเี ครอื่ งบรรเลงท่สี ำคญั 5 อยา่ ง คือ 1. ปีใ่ น 2. ป่ีนอก 3. ฆ้องวงใหญ่ 4. ตะโพน 5. กลองทัด วงป่พี าทย์เครื่องหา้ และมี “ฉ่ิง” เปน็ เครอื่ งดนตรีประกอบจงั หวะเพ่ิมเป็นพิเศษอกี สิง่ หน่ึง 6 ทรัพยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี

ข. ป่พี าทย์เครือ่ งคู่ มีเครอ่ื งดนตรบี รรเลงทกุ อยา่ งท่ีเหมอื นวงป่พี าทย์เคร่อื งหา้ แต่เพิ่มเครือ่ ง ดนตรีใหม้ ีเป็นคู่ ๆ ขน้ึ ไดแ้ ก่ 1. ปี่นอก 2. ปใ่ี น 3. ระนาดเอก 4. ระนาดทุ้ม 5. ฆ้องวงใหญ ่ 6. ฆ้องวงเล็ก 7. โหมง่ เคร่อื งประกอบจังหวะ คือ ฉง่ิ ฉาบเล็ก ฉาบใหญ่ ส่วนกรับน้นั ใชข้ ณะบรรเลงขับร้อง หรือ ประกอบเสภา วงปีพ่ าทยเ์ ครอื่ งคู่ ค. ปพ่ี าทยเ์ ครอ่ื งใหญ่ มเี ครอ่ื งบรรเลงอยา่ งเดยี วกบั ปพ่ี าทยเ์ ครอ่ื งคู่ แตเ่ พม่ิ เครอ่ื งบรรเลงอกี บางอย่าง ได้แก่ 1. ปนี่ อก 2. ป่ีใน 3. ระนาดทุม้ 4. ระนาดเอก 5. ฆ้องวงเล็ก 6. ฉาบเลก็ สว่ นตะโพนกบั กลองเปน็ ของคูก่ ันอยแู่ ล้ว จึงไมต่ อ้ งเพิ่ม แต่เพม่ิ เคร่อื งบรรเลงอกี บางอย่าง เชน่ 1. ระนาดเอกเหล็กหรือทอง 2. ระนาดทมุ้ เหล็ก 3. ฉาบใหญ่ 4. โหม่ง วงปี่พาทย์เคร่ืองใหญ่ ฉะนนั้ วงป่พี าทยท์ ีเ่ ปน็ หลักของไทยจึงมีอยู่ 3 ขนาด แตย่ งั แยกออกไปโดยผสมเครอ่ื งบรรเลง หรอื เคร่ืองอปุ กรณใ์ หเ้ กดิ เป็นชอ่ื เรียกแตกต่างกนั ออกไปไดอ้ กี เชน่ ปี่พาทยน์ างหงส์ และปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ ทรัพยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี 7

ปพ่ี าทยน์ างหงส์ คำวา่ “นางหงส”์ เปน็ ชอ่ื เพลงเพลงหนง่ึ และเพลงนางหงสน์ ้ี ใชแ้ ตเ่ ฉพาะในงาน ศพเทา่ นน้ั สว่ นวงปพ่ี าทยท์ ใ่ี ชบ้ รรเลงเพลงนางหงสก์ เ็ ชน่ เดยี วกบั วงปพ่ี าทยท์ กุ วง ไมว่ า่ จะเปน็ ปพ่ี าทยเ์ ครอ่ื งหา้ ปพี่ าทยเ์ ครอ่ื งคู่ หรอื ปพ่ี าทยเ์ ครอื่ งใหญ่ และใชป้ ช่ี วาแทน ปีใ่ น ปี่นอก และกลองมลายู (เหมอื นกลองแขก แตม่ สี ายโยงตีดว้ ยไม้งอๆ) เปน็ เครอ่ื งประกอบจังหวะแทนตะโพน และกลองทัด ป่ีพาทยด์ ึกคำบรรพ์ เป็นวงปพี่ าทย์ท่สี มเดจ็ ฯเจา้ ฟ้ากรมพระยานรศิ รานุวัดตวิ งศ์ ไดท้ รงรว่ มกับ เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว.หลาน กญุ ชร) คดิ ผสมขึ้นใหม่สำหรบั ใชป้ ระกอบการแสดงละครดึกดำ บรรพ์ โดยทรงเลือกใช้แต่เคร่ืองดนตรที ี่มเี สียงนุม่ นวลได้แก่ 1. ระนาดเอก(ตดี ว้ ยไมน้ วม) 6. ขลุ่ยอู้ 2. ระนาดทมุ้ ไม ้ 7. ซออู้ 3. ระนาดทมุ้ เหลก็ 8. ตะโพน 2 ลูก(ตแี ทนกลองทดั ) 4. ฆอ้ งวงใหญ ่ 9. ฆอ้ งห่ยุ (มี7ลูกเรยี งเสียงลำดับ7เสยี ง) 5. ขลุย่ เพยี งออ เป็นวงป่พี าทย์ท่ีมคี วามไพเราะ นา่ ฟัง เหมาะสมกับการแสดงละคร ด้วยเหตนุ ้ี จงึ ไดร้ บั การขนาน นามวา่ “ปี่พาทย์ดกึ ดำบรรพ”์ 2.2 วงเคร่อื งสาย คอื วงดนตรที ่ปี ระกอบด้วยเครือ่ งดนตรีจำพวกมสี ายเปน็ ประธาน มเี ครอ่ื ง เปา่ และเคร่อื งตเี ปน็ ส่วนประกอบ แบง่ ออกเปน็ 2 ขนาด คอื ก. เคร่ืองสายวงเล็ก มีเครือ่ งบรรเลง 7 อย่าง คอื 1. ซออ ู้ 2. ซอด้วง 3. จะเข้ 4. ขล่ยุ เพยี งออ 5. โทน 6. รำมะนา 7. ฉ่งิ จะเพิม่ ฉาบเล็กและโหม่งกไ็ ด้ เครอื่ งสายวงเลก็ 8 ทรพั ยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี

ข. เครื่องสายเครอื่ งคู่ เครือ่ งดนตรเี ชน่ เดียวกับเคร่ืองสายวงเล็ก แตเ่ พ่มิ ซออู้ ซอด้วง จะเข้ ใหเ้ ป็นอยา่ งละ 2 แตข่ ลยุ่ ท่จี ะเพม่ิ ต้องเปน็ “ขล่ยุ หลบิ ” (ซง่ึ เลก็ และเสยี งสูงกว่าขลยุ่ เพียงออ) เคร่อื งสายเครื่องคู่ 2.3 วงมโหรี เปน็ วงดนตรไี ทยทผ่ี สมระหวา่ งวงปพ่ี าทยก์ บั วงเครอ่ื งสาย โดยยอ่ ขนาดเครอ่ื งดนตรี ของวงป่พี าทยใ์ ห้เลก็ ลง เพิ่มเสียงให้แหลมเลก็ ขึ้น เพ่ือให้กลมกลนื กับต้นเสียงวงเครอื่ งสาย และตดั เครื่ องดนตรีในวงปี่พาทยเ์ คร่อื งสาย ซง่ึ ทำหน้าท่ีซ้ำบางอยา่ งออก เช่น ปีใ่ น ซ่ึงซำ้ กับ ขลุ่ย และตะโพน ซำ้ กบั โทน รำมะนา และเพม่ิ เคร่ืองดนตรีทีไ่ มม่ ีอยูใ่ นวงปี่พาทย์ และวงเครอื่ งสาย คือ “ซอสามสาย” วงมโหรีแบง่ ออกเปน็ 3 ขนาด คอื ก. มโหรเี คร่ืองเล็ก ประกอบด้วยเครอ่ื งดนตรี ดังนี้ 1. ซอด้วง 2. ซออู้ 3. ซอสามสาย 4. จะเข้ 5. ขลุ่ยเพียงออ 6. ระนาดเอก 7. ฆอ้ งมโหร(ี เรียกว่า ฆ้องกลาง) 8. โทน 9. รำมะนา 10. ฉง่ิ วงมโหรเี คร่ืองเล็ก ทรพั ยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี 9

ข. มโหรเี ครื่องคู่ ประกอบด้วยเคร่อื งดนตรดี งั น้ี 1. ซอดว้ ง 2 คัน 2. ซออู้ 2 คัน 3. ซอสามสาย 4. ซอสามสายหลบิ (เล็กกวา่ ซอสามสายธรรมดา) 5. จะเข้ 2 ตัว 6. ขลยุ่ เพยี งออ 7. ขลยุ่ หลิบ 8. ระนาดเอก 9. ระนาดท้มุ 10. ฆ้องมโหรี 11. ฆอ้ งวงเล็ก 12. โทน 13. รำมะนา 14. ฉงิ่ 15. ฉาบเล็ก วงมโหรีเคร่อื งคู่ ค. มโหรีเครอื่ งใหญ่ ประกอบดว้ ยเครอ่ื งดนตรดี งั น้ี 1. ซอด้วง 2 คัน 2. ซออู้ 2 คัน 3. ซอสามสาย 4. ซอสามสายหลิบ(เล็กกว่าซอสามสายธรรมดา) 5. จะเข้ 2 ตวั 6. ขลุย่ เพียงออ 7. ขลุ่ยหลบิ 8. ระนาดเอก 9. ระนาดทมุ้ 10. ระนาดเอกเหลก็ 11. ฆอ้ งมโหรี 12. ฆอ้ งวงเลก็ 13. โทน 14. รำมะนา 15. ฉิง่ 16. ฉาบเลก็ 17. ระนาดท้มุ เหล็ก 10 ทรพั ยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี

วงมโหรเี ครอ่ื งใหญ่ นอกจากน้ี ไทยเรายงั มดี นตรีพื้นเมอื งภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคอสี าน ตลอดจนดนตรีสำหรับบรรเลง ประกอบพระราชพิธีอกี หลายชนดิ ดว้ ยกัน เช่น แตร สงั ข์ มโหระทึก บัณเฑาะว์ ปไี่ ฉน กลองชนะ เป็นต้น 3. ความสำคัญของดนตรี ดนตรีมีความสำคัญต่อมนุษย์และสงั คม สรุปได้ดงั นี้ 3.1 เป็นส่อื ให้ความบันเทงิ และถ่ายทอดอารมณ์และความรสู้ กึ ดนตรเี ป็นเสยี งท่เี รยี บเรียงขน้ึ อย่างเป็นระบบทำใหเ้ กิดความไพเราะ มีคณุ คา่ และกระตนุ้ ผู้ฟังใหเ้ กดิ อารมณต์ า่ งๆ เชน่ รกั ครกึ ครื้น ดใี จ โศกเศร้า เสียใจ มนษุ ย์จึงใชด้ นตรเี ป็นสื่อเพ่ือใหค้ วามเพลิดเพลนิ สนุกสนาน และสร้างความสามัคคี ในหม่คู ณะ 3.2 เปน็ แหล่งความรแู้ ละภมู ิปัญญาของมนุษย์ นอกจากจะใหเ้ สียงท่ไี พเราะแล้ว ดนตรียงั ให้ เนอื้ หาที่เปน็ ความรูใ้ นสาขาวชิ าการตา่ งๆ ตลอดจนเร่อื งราวเกี่ยวกับศลิ ปวฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี และวิถีชีวิตของมนษุ ย์ในแต่ละยคุ แตล่ ะสมยั ทถ่ี า่ ยทอดออกมาเปน็ เพลงหรือบทเพลง ดนตรจี งึ เปน็ แหลง่ สารสนเทศลกั ษณะพิเศษประเภทหนง่ึ ท่สี ามารถนำมาใชศ้ ึกษาวชิ าการสาขาต่างๆ ได้ 3.3 เป็นมรดกทางศลิ ปวัฒนธรรมของชาติ ดนตรีเปน็ ศิลปะแขนงหน่ึง แต่ละทอ้ งถนิ่ ในแตล่ ะ ประเทศจะสร้างสรรคด์ นตรีท่เี ป็นเอกลกั ษณเ์ ฉพาะของตนเอง จงึ ถือวา่ ดนตรีเปน็ มรดกทางศลิ ปวัฒนธรรม ของชาตทิ ่ตี อ้ งมกี ารอนรุ กั ษใ์ ห้คงอยคู่ ่ชู าติตลอดไป ทรัพยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี 11

ความหมายสบารทสทนี่ เ2ทศด้านดนตรี 1. ความหมายของสารสนเทศด้านดนตรี สารสนเทศด้านดนตรี หมายถงึ เร่ืองราว วิทยาการหรอื ความรู้ ข้อเทจ็ จริง รวมท้ังข้อมลู ข่าวสาร หรอื คำบอกเลา่ ทง้ั หลายทเ่ี กยี่ วกบั ดนตรี เพลง โนต้ เพลง วงดนตรี เครือ่ งดนตรี รวมทงั้ บุคคลผู้เกี่ยวขอ้ ง เช่น ผู้ประพนั ธ์ นักร้อง ผผู้ ลิต ท่มี ีการบนั ทึกอย่างมรี ะบบและเผยแพรใ่ นรูปแบบหรือสอื่ ตา่ ง ๆ เชน่ แผ่นเสยี ง แถบบนั ทกึ เสียง แถบบันทกึ ภาพและเสยี ง แผ่นจานแสงหรอื แผ่นเสียงระบบดิจทิ ลั หนังสือ โนต้ เพลง วารสาร เป็นตน้ ดังนั้นสารสนเทศดา้ นดนตรีจึงถือเป็นสารสนเทศลักษณะพเิ ศษทม่ี ีคุณค่า เปน็ มรดกศิลปวฒั นธรรมที่ ควรรวบรวมจดั เกบ็ ดแู ลรกั ษาและนำมาบรกิ ารแกผ่ ใู้ ช้ เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ประโยชนแ์ กก่ ารศกึ ษาหาความรู้ การคน้ ควา้ ช่วยใหเ้ กิดความรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และเสรมิ สร้างจินตนาการของผใู้ ช้ 2. ประเภทและลักษณะของสารสนเทศดา้ นดนตรี การจำแนกประเภทของสารสนเทศดา้ นดนตรมี หี ลายวธิ กี าร หากจำแนกสารสนเทศดา้ นดนตรี ตาม ประเภทของวสั ดุหรอื ส่ือทใี่ ชใ้ นการบนั ทึก จะจำแนกไดเ้ ปน็ แผ่นเสียง แถบบันทกึ เสยี ง แถบบันทึกภาพและ เสียง แผน่ จานแสงหรอื แผน่ เสยี งระบบดจิ ทิ ลั และสง่ิ พมิ พ์ สารสนเทศดา้ นดนตรแี ตล่ ะประเภทมลี กั ษณะ แตกตา่ งกนั ดังรายละเอียดดังนี้ 2.1 แผ่นเสยี ง (Phonograph records) เป็นดนตรที ่บี นั ทกึ เสยี งดว้ ยการทำเสยี งทอ่ี ยใู่ นรปู ของ คำพดู หรอื ดนตรใี หเ้ ปลย่ี นเปน็ คลน่ื ไฟฟา้ โดยไมโครโฟน แลว้ บนั ทกึ ลงบนแผ่นที่มขี นาดตา่ ง ๆ ซ่ึงฉาบผวิ หน้าของ แผน่ ด้วยวสั ดุชนิดตา่ ง ๆ เช่น ครัง่ หรือเปน็ แผน่ พลาสตกิ ที่ทำให้เกิดร่อง บนผวิ หนา้ ของแผ่นเสยี ง แผน่ เสยี งจำแนกไดห้ ลายวธิ ี หากจำแนกตามขนาดของรอ่ งเสยี ง แบง่ ไดเ้ ป็น 1) แผ่นเสยี งร่องมาตรฐานหรอื ร่องใหญ่ ซงึ่ มีรอ่ งขนาดใหญ่ กวา้ ง 0.003 นว้ิ และ 2) แผ่นเสยี งร่องขนาดเลก็ มรี ่องขนาดเลก็ กว้าง 0.001 นวิ้ หากจำแนกแผ่นเสียงตามอตั ราการหมุนตอ่ รอบ แบง่ ได้เป็น 4 ประเภท คือ แผ่นเสียงเลน่ ได้ 33 1/3 16 45 และ 78 รอบ/นาที และจำแนกประเภทของแผ่นเสียงตามขนาดความกว้างของแผ่นแบ่งได้ 4 ประเภทคอื 1) ขนาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลาง 7 น้ิว ใช้กบั แผน่ เสียง 45 รอบ/นาที 2) ขนาดเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 10 น้วิ ใช้กับแผน่ เสยี งขนาด 33 1/3 และ 78 รอบ/นาที 3) ขนาดเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลาง 12 นิว้ และ 4) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 นว้ิ ใชก้ ับโปรแกรมวิทยหุ รือการศึกษา (ภุชงค์ องั คปรชี าเศรษฏ์ 2530 : 73) อยา่ งไร กต็ าม ในปจั จุบันไม่มีการจดั ทำแผน่ เสยี งดนตรอี อกมาจำหนา่ ยแล้ว แต่ผลติ เปน็ สอ่ื บนั ทึกเสยี งดว้ ยเทคโนโลยี สมัยใหม่ ดงั นนั้ สารสนเทศด้านดนตรีที่บนั ทึกบนแผ่นเสียง จงึ กลายเป็นของเกา่ ทม่ี คี า่ สำหรบั ผรู้ กั การสะสม ในปจั จบุ นั อยา่ งไรกด็ ี ทห่ี อสมดุ ดนตรีพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี 9 และหอ้ งสมดุ ดนตรที ลู กระหมอ่ ม สริ นิ ธร ในหอสมดุ แหง่ ชาติ มแี ผน่ เสยี งดงั กลา่ วใหบ้ รกิ ารศกึ ษาคน้ ควา้ ได้ 2.2 แถบบนั ทกึ เสียงหรือเทปเสียง (Tapes) เปน็ ดนตรีท่บี นั ทกึ บนแถบเสียงพลาสตกิ ทมี่ ขี นาด กว้าง 1/4 นิ้ว ด้านหนง่ึ ฉาบด้วยเหล็กออกไซดส์ ีนำ้ ตาลหรอื สดี ำ บันทึกเสียงไดด้ ้านเดยี ว แต่สามารถบนั ทกึ เสียงได้จำนวนแถบตา่ งกนั การบนั ทกึ เสยี งใหไ้ ดข้ นาดตา่ งกนั ขน้ึ อยกู่ บั ขนาดของหวั บนั ทกึ เสยี งและแถบบนั ทกึ 12 ทรัพยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี

เสยี งถา้ หากบนั ทกึ เสยี งดว้ ยหวั ขนาดใหญ่สามารถเปดิ ฟงั ไดท้ ง้ั เครอ่ื ง เล่นท่มี หี ัวขนาดใหญ่และหวั ขนาดเล็กกว่า แตถ่ ้าบันทกึ เสยี งดว้ ยหัว ขนาดเลก็ จะไม่สามารถเปดิ ฟงั ในเครอื่ งเล่นทีม่ ีหัวขนาดใหญไ่ ด้ อตั รา ความเรว็ ในการบนั ทึกเสยี ง มี 6 อตั ราความเรว็ ซึง่ จะนบั เป็นน้วิ /วินาที (i.p.s) ได้แก่ 15/16 . 17/8 . 33/4 . 15 และ 30 (ภุชงค์ องั คปรีชา เศรษฏ์ 2530 : 71) โดยทวั่ ไปนิยมจำแนกแถบบนั ทกึ เสียงเปน็ 2 ประเภทคือ แถบบันทึกเสยี งแบบมว้ น (reel tape) และแถบบนั ทกึ เสยี งแบบตลบั (cassette tape) แตล่ ะประเภทยงั จำแนก ยอ่ ยไดอ้ กี เชน่ แถบบนั ทกึ แบบมว้ นจำแนกได้ 3 ขนาด คือ 5 นว้ิ 7 นวิ้ และ 10.5 น้วิ และแถบบนั ทึกเสียง แบบตลบั จำแนกขนาดบันทึกไดเ้ ป็นแบบ 30 นาที 60 นาที และ 120 นาที 2.3 แถบบนั ทึกภาพพรอ้ มเสยี งหรือวดี ิทัศน์ (video tape) เปน็ ดนตรที บ่ี นั ทึกเสยี งและภาพลงบน เน้ือเทปหรือแถบแมเ่ หล็ก มีทง้ั แบบวีเอสเอช (VSH) และยเู มติก(Umatic) แถบบนั ทกึ ภาพพร้อมเสยี งเป็น สอ่ื บนั ทกึ สารสนเทศด้านดนตรที ่ีใชม้ านาน มีความคมชดั และสามารถเกบ็ ขอ้ มูลไดน้ านพอสมควร แต่มีข้อ จำกัดในเรอื่ งนำไปใช้งานไมส่ ะดวก และผู้ใช้รับสามารถฟังและชมได้เพยี งอยา่ งเดียว 2.4 แผ่นจานแสงหรือแผน่ เสียงระบบดจิ ทิ ลั เป็นดนตรที ี่ แปลงข้อมูลเป็นดิจิทัลแล้วบันทึกลงบนแผ่นจานแสงหรือออปติคัลดิสก์ เปน็ ซดี ี หรือดีวดี ี ซึง่ สามารถเก็บขอ้ มลู ได้มาก และมกี ารพัฒนาให้ใช้งาน ไดส้ ะดวกยิ่งขึ้น แผ่นเสยี งระบบดิจทิ ัลจงึ ได้รบั ความนยิ มมากในปัจจบุ ัน 2.5 ส่ิงพมิ พ์ เป็นสารสนเทศด้านดนตรที ่บี ันทกึ ด้วยการเขยี น พมิ พ์ หรอื ดว้ ยเทคโนโลยสี มยั ใหมใ่ หป้ รากฏเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรบนกระดาษ หรอื สื่อสารสนเทศดา้ นดนตรีประเภทส่งิ พิมพท์ ีค่ วรรจู้ ัก มีดงั น้ี 1) หนังสือ คอื สารสนเทศทีเ่ ป็นความรู้เกย่ี วกับดนตรที ี่จดั ทำหรอื เยบ็ เลม่ แบบหนงั สอื ตัวอย่างหนงั สอื ท่ใี ห้สารสนเทศหรอื ความรู้ดา้ นดนตรี เช่น ดนตรจี ากพระราชหฤทยั ศูนย์ รวมใจแหง่ ปวงชน (2539) เป็นหนงั สือที่จดั ทำและเผยแพร่โดยสำนกั งานคณะกรรมการเอกลกั ษณ์ของชาติ เนอ่ื งในมหามงคลสมยั ฉลองสิริราชสมบตั ิครบ 50 ปี พทุ ธศกั ราช 2539 มเี น้อื เพลงภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ทรพั ยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี 13

โนต้ เพลง และประวัติเพลงพระราชนพิ นธ์ รวมถึงพระราชประวตั ิดา้ นดนตรีไทยและดนตรีสากล สารานกุ รม เพลงไทย (2525) จดั ทำโดย ณรงค์ชัย ปฏิ กรัชต์ เปน็ หนงั สือประเภทสารานกุ รมที่กลา่ วถึงความเป็นมาของ เพลงไทยทบ่ี รรเลงหรือขบั รอ้ งตั้งแต่อดตี จนถึงปัจจบุ นั โดยมีทั้งเพลงทีใ่ ช้ในในพระราชพธิ ี เพลงท่ใี ชป้ ระกอบ พิธกี รรมตา่ งๆ เพลงทีบ่ รรเลงเพือ่ ความบันเทิงหรอื ประกอบการละเล่น เชน่ โขน ละคร ระบำ รำ ฟ้อน สังคตี นิยมว่าด้วยเครอ่ื งดนตรขี องวงดุริยางค์(2530)จดั ทำโดยไขแสง ศขุ วัฒนะ เปน็ หนังสือทอ่ี ธิบายเคร่ือง ดนตรที ี่ใช้ในวงดุรยิ างค์ และพฒั นาการของ วงดุริยางค์ รวมถงึ เล่าเร่อื งพิพิธภัณฑ์เครื่องดนตรีในทวปี ยุโรป 2) วารสาร คอื สง่ิ พมิ พ์ทมี่ ีกำหนดออกอยา่ งต่อเน่อื งในระยะเวลาที่แน่นอน ตัวอย่างวารสาร ทมี่ ีเน้ือหาเกี่ยวกับดนตรี เช่น เพลงดนตรี จดั ทำโดยวทิ ยาลัยดรุ ิยางคศิลป์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร กำหนดออกเป็นรายเดือน นำเสนอบทความทางวชิ าการดา้ นดนตรีความเคลอ่ื นไหวของวงการศกึ ษาและวงวชิ าการดา้ นดนตรี การเรยี น การสอนดนตรีศกึ ษา Starpic magazine (music edition) จดั ทำโดย หา้ งห้นุ ส่วนสามัญนติ ิบุคคล (หสน.) ห้องภาพสวุ รรณ กำหนดออกเป็นรายเดอื น เปน็ วารสารทนี่ ำเสนอขา่ วคราวความเคลอ่ื นไหวของนกั ดนตรแี ละวงดนตรตี า่ ง ประเทศ เกรด็ ความร้เู ก่ียวกับดนตรีภาพงานแสดงดอนเสิร์ตท่ีน่าสนใจ 3) โนต้ เพลงเปน็ บทเพลงทเี่ ขยี นหรอื พมิ พโ์ ดยใชส้ ญั ลกั ษณแ์ ทนระดบั เสยี งและอตั ราจงั หวะ ของเสยี งท่ีจะรอ้ งหรือบรรเลง อาจเป็นลักษณะแผ่น หรือเปน็ เลม่ หรอื นำแผน่ มาเย็บรวมเปน็ เลม่ ตัวอยา่ งโน้ตเพลงเปน็ แผน่ 14 ทรัพยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี

ตวั อย่างโนต้ เพลงเปน็ เลม่ บทท่ี 3 การสำรวจ จดั หา และรวบรวมทรพั ยากรสารสนเทศ (ดา้ นดนตรี) การจัดหาสารสนเทศดา้ นดนตรี สารสนเทศด้านดนตรีเป็นสารสนเทศลักษณะพิเศษประเภทหนึ่งที่ต้องมีการบริหารจัดการด้วยมีหลักและ วิธกี ารโดยเฉพาะ ดังนั้น หอสมดุ ดนตรีพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว รัชกาลท่ี 9 และหอ้ งสมดุ ดนตรที ูล กระหม่อมสริ ินธร ไดร้ บั มอบหมายใหร้ บั ผดิ ชอบการสำรวจจดั หารวบรวม จดั เกบ็ ดูแลรักษา และใหบ้ รกิ า รทรพั ยากรสารสนเทศดา้ นดนตรี ต้องอาศัยความรู้และหลักการดำเนนิ งานเฉพาะ ตง้ั แต่การสำรวจจัดห ารวบรวมและการจดั เกบ็ การจัดทำเคร่อื งมอื ชว่ ยคน้ การใหบ้ รกิ าร และเผยแพร่เพ่ือใหม้ กี ารใชส้ ารสนเท ศดา้ นดนตรอี ยา่ งคุ้มค่าและเกิดประโยชนส์ งู สุด ในการจดั หาทรัพยากรสารสนเทศด้านดนตรีตอ้ งรูจ้ ักแหลง่ ผลิตและเผยแพร่สารสนเทศด้านดนตรี มีการกำหนดนโยบายทีช่ ดั เจน และมีวธิ ีการจดั หาทเี่ หมาะสมและส อดคลอ้ งกับนโยบายและวตั ถุประสงค์ของสำนกั หอสมุดแหง่ ชาติ 1. แหล่งผลติ และเผยแพรส่ ารสนเทศด้านดนตรี ทรพั ยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี 15

โน้ตเพลงพระราชนิพนธ์ เพลงสายฝน โนต้ เพลงพระราชนพิ นธ์ เพลงยามเย็น แผ่นเสยี งตรา อ.ส. 2496 แผ่นเสียงตรา อ.ส. 2497 โน้ตเพลงพระราชนพิ นธ์ เพลงคำหวาน แผน่ เสียงตรา อ.ส. 2497 16 ทรัพยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี

การรวบรวมทรพั ยากบรทสทา่ี ร3สนเทศ (ด้านดนตร)ี การจดั หาสารสนเทศดา้ นดนตรี สารสนเทศดา้ นดนตรี เปน็ สารสนเทศลกั ษณะพเิ ศษประเภทหนง่ึ ทต่ี อ้ งบรหิ ารจดั การอยา่ งมหี ลกั และ วิธีการโดยเฉพาะ หอสมดุ ดนตรพี ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั รชั กาลท่ี 9 และห้องสมุดดนตรที ลู กระหม่อม สริ นิ ธร จึงไดร้ ับมอบหมายให้รบั ผดิ ชอบการสำรวจ จดั หา รวบรวม จัดเก็บ ดแู ลรกั ษา และให้บรกิ ารทรัพยากร สารสนเทศดา้ นดนตรี ต้องอาศยั ความรูแ้ ละหลกั การดำเนนิ งานเฉพาะ ต้งั แต่การสำรวจจดั หารวบรวมและ การจัดเก็บ การจัดทำเครอื่ งมือช่วยค้น การใหบ้ ริการ และเผยแพร่ เพื่อให้มกี ารใช้สารสนเทศดา้ นดนตรี อยา่ งคมุ้ คา่ และเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ ในการจดั หาทรพั ยากรสารสนเทศดา้ นดนตรตี อ้ งรจู้ กั แหลง่ ผลติ และเผยแพร่ สารสนเทศด้านดนตรี มกี ารกำหนดนโยบายทชี่ ัดเจนและมวี ิธกี ารจัดหาที่เหมาะสมและสอดคล้องกบั นโยบาย และวัตถปุ ระสงคข์ องสำนกั หอสมุดแห่งชาติ 1. แหลง่ ผลติ และเผยแพร่สารสนเทศดา้ นดนตรี หากพจิ ารณาแบง่ ประเภทของแหลง่ ผลติ และเผยแพรส่ ารสนเทศดา้ นดนตรอี าจจำแนกไดเ้ ปน็ 2 กลมุ่ คอื แหล่งผลติ และเผยแพร่สารสนเทศเพื่อการค้าหรอื มุ่งหวงั กำไร, แหล่งผลติ และเผยแพร่สารสนเทศทีไ่ มม่ ุง่ หวงั กำไร แหล่งผลติ และเผยแพร่สารสนเทศด้านดนตรใี นประเทศไทยทค่ี วรร้จู ักเพื่อการจดั หา มดี งั น้ี 1.1 แหลง่ ผลติ และเผยแพรส่ ารสนเทศดา้ นดนตรีเพอื่ การคา้ หรอื มงุ่ หวงั กำไร ส่วนใหญ่เป็น บรษิ ัทท่ผี ลิตดนตรหี รอื เปน็ บริษทั ตัวแทนจำหนา่ ย เช่น บรษิ ทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกดั (มหาชน), บริษัท รถไฟ ดนตรี, บรษิ ัท อาร์ เอส โปรโมช่นั , บริษทั เมโทรแผ่นเสยี ง-เทป (1981) จำกดั , บริษทั วอร์นเนอร์ มิวสิค (ประเทศไทย), บริษทั ชัวรอ์ อดโิ อ จำกัด, บริษัท มิวสิคปัก๊ ส์ เปน็ ต้น 1.2 แหลง่ ผลติ และเผยแพร่สารสนเทศท่ีไมม่ ุ่งหวังกำไร สว่ นใหญเ่ ปน็ หน่วยงานราชการ มลู นิธิ สมาคมที่ผลติ และเผยแพร่ดนตรี และ/หรอื สารสนเทศดา้ นดนตรีตามภารกิจทีไ่ ดร้ ับมอบหมายหรอื ตามวตั ถุ ประสงคท์ ี่กำหนดไว้ เผยแพร่เป็นอภนิ นั ทนาการหรือจำหน่ายในราคาถกู โดยไมม่ งุ่ หวงั กำไร เช่น สำนักงาน คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ สังกัดกระทรวงวฒั นธรรม, สำนกั งานเสริมสรา้ งเอกลกั ษณข์ องชาติ สังกัดสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตร,ี ศูนยข์ อ้ มูลวฒั นธรรมดนตรไี ทย ประสิทธ์ิ ถาวร ศิลปนิ แห่งชาต,ิ มหาวทิ ยาลัย สถาบันไทยคดีศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร,์ การทอ่ งเทีย่ วแหง่ ประเทศไทย, มลู นธิ ิหลวง ประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศลิ ปบรรเลง), สมาคมนักแต่งเพลง, ชมรมนกั รอ้ ง, สมาคมดนตรีแหง่ ประเทศไทยใน พระบรมราชปู ถมั ภ์ และกลุ่มทายาท 2. นโยบายการจัดหาสารสนเทศดา้ นดนตรี หอสมุดดนตรีพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั รชั กาลที่ 9 และห้องสมดุ ดนตรีทลู กระหมอ่ มสริ ินธร มหี น้าที่รับผดิ ชอบในการรวบรวม จดั เก็บ และให้บรกิ ารสารสนเทศดา้ นดนตรีซง่ึ จะกำหนดนโยบายการจัดหา สารสนเทศดา้ นดนตรที ชี่ ดั เจน ในนโยบายการจดั หาสารสนเทศดา้ นดนตรมี คี วามครอบคลมุ ถงึ กลมุ่ ผใู้ ชบ้ รกิ าร ขอบข่ายของเน้อื หา ประเภทสารสนเทศดา้ นดนตรีทจ่ี ะรวบรวม จำนวนสารสนเทศด้านดนตรที จ่ี ดั เก็บ และ งบประมาณท่คี วรไดร้ บั การจดั สรร 2.1 กล่มุ ผู้ใช้บรกิ าร หมายถึงกลุม่ เปา้ หมายหรอื กลุม่ ผใู้ ชบ้ รกิ าร ซ่ึงมหี ลากหลาย เช่น นักเรยี น นิสิต นักศกึ ษา ครู อาจารย์ นักร้อง นกั แตง่ เพลง และประชาชนท่วั ไป แต่ละกลุ่มเปา้ หมายจะมี ทรพั ยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี 17

วตั ถปุ ระสงค์ ความต้องการและลกั ษณะการใชส้ ารสนเทศด้านดนตรที ีแ่ ตกตา่ งกนั ดังน้ัน หอ้ งสมุดดนตรีฯ กำหนดในนโยบายไว้วา่ การจดั หาต้องระบุกลุ่มเปา้ หมายหรือกล่มุ ผ้ใู ชบ้ รกิ ารด้วย 2.2 ขอบขา่ ยเนอ้ื หาและประเภทสารสนเทศดา้ นดนตรที จ่ี ดั หาและเกบ็ ในนโยบายการจดั หา สารสนเทศด้านดนตรี ต้องระบุว่าหอ้ งสมดุ ดนตรีฯ จะต้องไดร้ ับงบประมาณ เพือ่ การใชจ้ ่ายสำหรับกจิ การ ตา่ งๆ ทง้ั การจดั ซอ้ื สารสนเทศทางดนตรี การซอ้ื วสั ดุ อปุ กรณแ์ ละครภุ ณั ฑส์ ำหรบั จดั เกบ็ การบรกิ ารสารสนเทศ ดา้ นดนตรี และงบประมาณท่ไี ดร้ ับจัดสรรเพอื่ การจัดหาสารสนเทศด้านดนตรี ต้องเพยี งพอและไดร้ ับอย่าง ต่อเนื่องและสมำ่ เสมอ 3. วิธกี ารจัดหาสารสนเทศดา้ นดนตรี การจดั หาสารสนเทศด้านดนตรีของหอ้ งสมดุ ดนตรฯี มี 4 วธิ ีคือ 3.1 การซอ้ื เป็นวิธีการจดั หาสารสนเทศทางดนตรโี ดยใช้งบประมาณทไ่ี ด้รับการจัดสรรไว้ เพ่อื ให้ ได้มาซ่งึ สารสนเทศดา้ นดนตรีท่ีมกี ารเลือกสรรแล้ว การซอื้ สารสนเทศด้านดนตรีอาจซอื้ โดยตรงจากผู้ผลติ หรือจดั ซื้อผ่านตัวแทนจำหน่าย 3.2 การทำสำเนาการทำสำเนาสารสนเทศดา้ นดนตรี เปน็ วธิ กี ารจดั หาสารสนเทศดา้ นดนตรที ห่ี า ยากและไม่มีจำหน่ายแลว้ หอ้ งสมดุ ดนตรฯี อาจขออนญุ าตผผู้ ลติ ผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธ์ิ ผจู้ ัดพมิ พ์ หรอื จาก แหล่งอนื่ ๆ ทีม่ ี แลว้ จดั ทำสำเนาสารสนเทศดังกล่าวมาสำหรบั ให้บริการ ในการทำสำเนาสารสนเทศด้านดนตรี นอกจากมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พอื่ การใหบ้ รกิ ารในจำนวนท่ี เพยี งพอกับความตอ้ งการของผู้ใช้บริการแล้ว ยงั มีวัตถุประสงคเ์ พอ่ื รกั ษาตน้ ฉบบั ดว้ ย โดยทำสำเนาไวบ้ รกิ าร แกผ่ ใู้ ชแ้ ละเกบ็ รกั ษาตน้ ฉบบั ใหอ้ ยใู่ นสภาพทด่ี แี ละสมบรู ณท์ ี่สุด ในการทำสำเนาสารสนเทศด้านดนตรี จำเป็นตอ้ งคำนงึ ถึงเรือ่ งลขิ สิทธ์ิ และดำเนนิ การ ภายใต้ขอบเขตของพระราชบัญญตั ิลิขสิทธ์ิ พ.ศ. 2537 3.3 การขอรบั บริจาค การขอรับบริจาคสารสนเทศดา้ นดนตรี อาจขอรบั บรจิ าคจากแหล่งผลิต หนว่ ยงานองค์กร ตลอดจนกลมุ่ บุคคลหรือทายาท หรอื บุคคลทผี่ ลติ หรอื ชอบสะสมสารสนเทศด้านดนตรี การจัดหาสารสนเทศด้านดนตรีดว้ ยการขอรบั บริจาคอาจทำให้ไดร้ ับโนต้ เพลงต้นฉบบั ทีส่ ำคัญ แผ่นเสยี งเก่า ต้นฉบับ ลายพระหตั ถ์ และลายมือบรมครู จากผผู้ ลิตหรอื จากทายาท และบคุ คลท่ชี อบสะสมสารสนเทศดา้ น ดนตรี 3.4 จากการผลิตส่ือสารสนเทศด้านดนตรี หอสมุดดนตรีพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว รัชกาล ที่ 9 และหอ้ งสมดุ ดนตรีทูลกระหมอ่ มสิรินธร จัดกิจกรรมดนตรี “โครงการอนรุ กั ษ์ ส่งเสริม และเผยแพร่ มรดกศลิ ปวฒั นธรรมด้านวรรณกรรมและการดนตร”ี และจัดรายการสนทนาภาษาดนตรี อบรมทฤษฎีดนตรี สากล และจดั นทิ รรศการเป็นประจำ มกี ารถา่ ยภาพน่งิ และบนั ทึกวดี ิทัศน์เก็บไว้เปน็ ต้นฉบับ และทำสำเนา ให้บรกิ าร 18 ทรัพยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี

แผนการปฏิบตั งิ านสำรวจทรัพยากรสารสนเทศ (ด้านดนตร)ี * หร. 9 หมายถงึ หอสมุดดนตรพี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว รชั กาลท่ี 9 หสธ. หมายถึง ห้องสมุดดนตรีทูลกระหมอ่ มสิรนิ ธร ทรพั ยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี 19





วธิ ีการอนรุ ักษโ์ น้ตเพลงตน้ ฉบับ โน้ตเพลงเก่าของบรมครทู ชี่ ำรุดมาก เมอื่ รบั บรจิ าคมาแลว้ ตอ้ งรีบดำเนินการซอ่ มบำรุง ตาม ข้นั ตอนอนรุ กั ษ์ อบฆ่าเชือ้ หลังจากดำเนนิ การตามขัน้ ตอนการอนุรกั ษ์เรียบร้อยแลว้ กอ่ นจดั เก็บตอ้ งนำไป ถา่ ยสำเนาเอกสาร สำหรับใหบ้ ริการ ลงทะเบียนและสดุ ทา้ ยแปลงเปน็ ขอ้ มูลระบบดิจิตอลลงฐานข้อมูล พร้อมลงทะเบียน ข้นั ตอนที่ 1 โนต้ เพลงตน้ ฉบับท่ียังไม่ได้อนุรกั ษ์ ทรพั ยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี 21

ขั้นตอนที่ 2 ทดสอบการละลายของหมึก ขน้ั ตอนที่ 3 หาค่ากรดในกระดาษ 22 ทรพั ยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี

ขั้นตอนที่ 4 ปดั ฝนุ่ ด้วยแปรงขนนุ่ม ข้ันตอนที่ 5 ลา้ งดว้ ยนำ้ กลนั่ ทรพั ยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี 23

ขั้นตอนท่ี 6 ลดกรดดว้ ยแมกนเี ซียม ไบคารบ์ อเนต ข้นั ตอนที่ 7 ทำความสะอาดกระดาษ 24 ทรพั ยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี

ขน้ั ตอนท่ี 8 วางแผ่นโน้ตบนกระดาษไข - ฉดี น้ำให้ท่วั ขั้นตอนท่ี 9 ทากาวเมทธิลเซลลโู ลส บนแผ่นโน้ต ทรัพยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี 25

ข้นั ตอนท่ี 10 วางกระดาษสา ทาบบนแผน่ โน้ต ขั้นตอนท่ี 11 ใชฟ้ องนำ้ นมุ่ ๆ ชบุ นำ้ พอหมาด ตบเบาๆ บนแผน่ โนต้ 26 ทรัพยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี

ข้นั ตอนที่ 12 วางกระดาษไขอีกแผน่ หนึ่งทาบบนแผน่ โน้ต ขน้ั ตอนท่ี 13 ดึงกระดาษไขออก ทรัพยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี 27

ขัน้ ตอนท่ี 14 ใช้กระดาษซับ 2 แผน่ วางประกบแผ่นโน้ตท้งั ดา้ นหนา้ และดา้ นหลงั ขนั้ ตอนท่ี 15 นำเข้าเคร่อื งอดั 28 ทรพั ยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี

ข้นั ตอนที่ 16 ตดั ขอบทั้งสี่ด้าน ขน้ั ตอนที่ 17 การอนุรกั ษท์ ีเ่ สร็จสมบรู ณ์ ทรพั ยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี 29

ข้นั ตอนการอนรุ ักษแ์ ผ่นเสยี ง แผน่ เสยี งทไ่ี ดร้ บั บรจิ าคมา จะตอ้ งจดั ทำความสะอาดตามขน้ั ตอนการอนรุ กั ษ์ แยกประเภทของแผน่ เสยี งตามหลกั สากล ลงทะเบียน จากนัน้ ดำเนินการถ่ายโอนข้อมูลเสียงเปน็ ระบบดจิ ิตอล เพ่ือลงฐานขอ้ มลู อปุ กรณใ์ นการทำความสะอาด 1. กาละมงั ใสน่ ำ้ 2. น้ำยาแชมพเู ดก็ 3. แอลกอฮอลผ์ สมน้ำ 4. ฟองนำ้ 5. กระบอกฉดี นำ้ 6. แปรงขนกระต่าย 7. ลูกยางเปา่ ลม 8. ผ้าแหง้ ชามัว และผ้าใยไมโครไฟเบอร์ แผ่นเสยี งทจี่ ดั เกบ็ ภายในหอ้ งทลู กระหม่อมสิรนิ ธร (หอ้ งอนรุ กั ษต์ ้นฉบบั ) 30 ทรัพยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี

1. เจ้าหนา้ ที่ใช้ฟองนำ้ ทำความสะอาดแผน่ เสียง เพื่อให้ฝุ่นและสิ่งสกปรกออก (วิธีเช็ด เลอ่ื นฟองนำ้ ไปในทางเดียวกันทุกครง้ั ) 2. ใชน้ ้ำยาฉดี ล้างทำความสะอาด ทรัพยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี 31

3. เชด็ แผน่ เสียง และรองแผ่นเสยี งดว้ ยผ้าใยไมโครไฟเบอร์ หรือผ้าชามัวให้แห้ง ในขณะเช็ด เพ่อื ปอ้ งกนั การเกดิ รอยทแ่ี ผ่น (วธิ เี ชด็ เลอ่ื นผา้ ไปในทางเดียวกนั ทกุ ครง้ั ) 4. นำแผ่นเสียงท่ที ำความสะอาดเสรจ็ แล้วใส่ซอง 32 ทรพั ยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี

5. แผ่นเสยี งท่ใี ส่ซองตน้ ฉบับแล้ว นำมาใส่ซอง ท่หี อสมดุ ดนตรฯี จัดทำขน้ึ เพื่ออนุรกั ษซ์ องแผน่ เสียงต้นฉบับไว้ 6. แผ่นเสียงท่ีได้รบั การอนรุ กั ษน์ ำเก็บขน้ึ ชน้ั ทรัพยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี 33

บทท่ี 4 การจดั เก็บและการจดั ทำเครอื่ งมอื ช่วยค้นสารสนเทศดา้ นดนตรี สารสนเทศดา้ นดนตรที ไ่ี ดจ้ ดั หามาแลว้ ตอ้ งมกี ารจดั เกบ็ และการจดั ทำเครอ่ื งมอื ชว่ ยคน้ เพอ่ื การควบคมุ และสะดวกตอ่ การคน้ หาเมือ่ ต้องการใช้ อันจะทำใหห้ อสมดุ ดนตรพี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั รชั กาลท่ี 9 และห้องสมดุ ดนตรีทลู กระหมอ่ มสิรนิ ธร บริการสารสนเทศบรรลุวัตถุประสงคต์ ามทกี่ ำหนดไว้ 1. การจดั เกบ็ สารสนเทศด้านดนตรี การจัดเก็บสารสนเทศด้านดนตรคี รอบคลุมกิจกรรมการจำแนกหมวดหม่สู ารสนเทศด้านดนตรแี ละ วธิ กี ารจดั เกบ็ สารสนเทศขึน้ ชน้ั 1.1 การจำแนกหมวดหมสู่ ารสนเทศดา้ นดนตรี เปน็ กจิ กรรมหน่ึงท่สี ำคัญเพือ่ ความสะดวก ตอ่ การจดั เกบ็ และการคน้ หา การจำแนกสารสนเทศดา้ นดนตรใี หเ้ ปน็ หมวดหมมู่ หี ลายวธิ ี ทง้ั นห้ี อ้ งสมดุ ดนตรฯี ได้พิจารณาเลอื กวธิ ีทีส่ อดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์และนโยบายของสำนกั หอสมดุ แหง่ ชาติ ในที่น้ีขอยกตัวอย่าง การจัดหมู่สารสนเทศดา้ นดนตรีซงึ่ เลอื กใช้ 2 วิธี ดงั นี้ 1.1.1 การจัดหมู่ตามระบบการจดั หมู่หนงั สอื เป็นการจดั หมู่สารสนเทศด้านดนตรีด้วย ระบบการจัดหมูห่ นังสอื หรือทรัพยากรสารสนเทศท่ีเลอื กใช้ เชน่ ระบบทศนยิ มของดวิ อ้ี ซงึ่ กำหนดใหห้ มวด 780-789 เป็นหมวดหมูส่ ำหรับเรือ่ งเกีย่ วกบั ดนตรี 1.1.2 การจดั หมทู่ ก่ี ำหนดเฉพาะ เปน็ การจดั หมสู่ ารสนเทศดา้ นดนตรตี ามทส่ี ำนกั หอสมดุ แหง่ ชาตกิ ำหนดไวเ้ ฉพาะ โดยมรี ายละเอียดแบง่ ประเภทของเพลงเป็น 6 กลมุ่ ดังนี้ 1. เพลงไทยเดิม 2. เพลงไทยสากล 3. เพลงลูกทุ่ง 4. เพลงเด็ก 5. เพลงพืน้ เมอื ง 6. เพลงสากล 34 ทรพั ยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี

รหสั หรอื สัญลกั ษณแ์ ทนประเภทของสารสนเทศดา้ นดนตรี และประเภทของเพลง มีดงั น้ี ทรัพยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี 35

การกำหนดหมู่สารสนเทศด้านดนตรีแตล่ ะชิ้นจะนำรหัสหรือสัญลักษณ์มาผสมกับเลขทะเบยี น ซง่ึ จะไดเ้ ลขหม่สู ารสนเทศดนตรชี ิ้นนน้ั ดงั ตัวอยา่ ง ตวั อยา่ งที่ 1 รหัสแทนบันทกึ เสยี งตลบั เพลงไทยลูกกรุง ถต.ทก เลขทะเบียน 43/0050 คำอธบิ าย เปน็ สารสนเทศดา้ นดนตรีประเภทแถบบันทกึ เสยี งตลบั เพลงไทยลกู กรงุ ทเ่ี ป็นภาษาไทย และมีเลขทะเบียนเปน็ อนั ดบั ท่ี 50 ของปี 2543 และหากมีสารสนเทศดา้ นดนตรจี ำนวนมาก อาจนำช่ือผ้รู ้องและช่ือเพลงมาผสมเป็นรหัสหรอื เลข ประจำสารสนเทศดา้ นดนตรชี น้ิ นั้นกไ็ ด้ ตวั อยา่ งที่ 2 ถต ท จ 40/156 พ คำอธบิ ายเปน็ สารสนเทศดา้ นดนตรีประเภทแถบบนั ทกึ เสยี งตลบั เปน็ เพลงไทยท่ขี บั รอ้ งโดย“เจรญิ สุนทรวาทนิ ” ชือ่ “เพลงไทยชุดเอกลักษณ์ไทย มโหร”ี ทีน่ ำมาลงทะเบียนใน พ.ศ.2540 เป็นอันดับท่ี 156 ท้ังนี้ ตอ้ งจัดทำรหัสชอ่ื บคุ คลไว้เปน็ ขอ้ มูล เพ่ือสบื คน้ ด้วย สารสนเทศดา้ นดนตรีท่ีเปน็ สง่ิ พมิ พ์ จดั หม่ตู ามประเภทของสิ่งพิมพ์ ดังน้ี 1) โนต้ เพลง โนต้ เพลงเปน็ เลม่ จะจดั หมวดหมตู่ ามระบบการจดั หมทู่ รพั ยากรสารสนเทศ ที่สำนักหอสมดุ แหง่ ชาตใิ ชค้ อื ระบบทศนยิ มของดวิ อ้ีสว่ นโนต้ เพลงเปน็ แผน่ จะบรรจใุ นซองพลาสตกิ ทม่ี คี ณุ ภาพดี แลว้ ใสซ่ องกระดาษหรือใสแ่ ฟ้มกอ่ น แล้วจงึ จดั หมวดหม่ตู ามระบบ เชน่ เดยี วกบั โน้ตเพลงเลม่ 2) หนงั สอื สารสนเทศดา้ นดนตรีประเภทหนังสือ จดั หมวดหม่ตู ามระบบการจดั หมู่ ทรัพยากรสารสนเทศทีส่ ำนักหอสมุดแหง่ ชาตเิ ลอื กใชค้ ือ ระบบทศนิยมของดิวอ้ี 3) วารสาร สารสนเทศดา้ นดนตรปี ระเภทวารสาร ไมจ่ ดั หมวดหมู่ แตจ่ ดั เรยี งตามลำดบั อักษรชือ่ วารสาร โดยรวมกับวารสารอนื่ ๆ ของสำนักหอสมุดแห่งชาติ 4) กฤตภาค หลังจากที่ใหห้ ัวเร่อื งแลว้ จะจดั เก็บในแฟ้ม แลว้ เรียงไวใ้ นตู้สลี่ ้นิ ชกั ตาม ลำดบั อักษรหัวเรื่อง 1.2 วธิ กี ารจดั เกบ็ สารสนเทศดา้ นดนตรี สารสนเทศดา้ นดนตรที ไี่ ดจ้ ดั หมวดหมเู่ รยี บรอ้ ยแลว้ จดั เก็บ ดงั น้ี 1.2.1 สารสนเทศด้านดนตรีทบี่ ันทกึ บนสื่อ เช่น แผน่ เสยี ง แถบบันทกึ ภาพแถบบนั ทึก เสยี งหรอื แผน่ เสียงระบบดิจทิ ัล จัดเก็บตามประเภทของสื่อทีใ่ ช้บนั ทกึ โดยจัดเรียงตามลำดับหรอื สญั ลักษณ์ ทกี่ ำหนดไว้ ทงั้ นี้ จะนำสารสนเทศดา้ นดนตรแี ตล่ ะช้ินมาบรรจุในซองหรือในกล่องใหเ้ รยี บรอ้ ยก่อนจดั เก็บ 36 ทรัพยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี

1.2.2 สารสนเทศด้านดนตรที เี่ ป็นสิง่ พิมพ์ มีวธิ จี ัดเกบ็ แต่ละประเภท ดงั นี้ 1) โนต้ เพลง โน้ตเพลงที่เป็นเลม่ จัดเรยี งบนชั้นตามระบบการจัดหม่ทู เ่ี ลอื กใช้ โนต้ เพลงทเี่ ป็นแผน่ บรรจใุ นซองพลาสตกิ ทีม่ ีคณุ ภาพดี โดยเฉพาะโน้ตเพลงตน้ ฉบบั และโนต้ เพลงที่มีขนาด ใหญพ่ ิเศษ หลงั จากนนั้ บรรจุลงในซองหรือแฟ้ม เขยี นขอ้ มลู ทห่ี น้าซองหรือแฟม้ เช่น รหสั หรอื สัญลักษณ์ แสดงหมวดหมู่ ชอื่ ผูป้ ระพนั ธเ์ พลง ชื่อเพลง จำนวนแผน่ โนต้ เปน็ ตน้ แล้วนำโน้ตเพลงทบี่ รรจุในซอง หรอื แฟ้มเหลา่ นี้มาจดั เรียงตามแนวตั้ง ตามการจัดหมูท่ ่ไี ด้จดั แบ่งไวเ้ รียบรอ้ ยแลว้ 2) หนงั สือ จดั เรยี งขน้ึ ชัน้ ตามระบบการจดั หมทู่ ี่เลือกใช้ 3) วารสาร จัดเรียงขึ้นชั้นตามลำดับตัวอักษรของช่ือวารสารโดยจำแนกเป็น ภาษาไทย เรียงลำดับจาก ก ถึง ฮ และ ภาษาอังกฤษเรียงจาก A ถึง Z 4) กฤตภาค จัดใส่แฟ้มแลว้ จัดเรียงตามลำดบั ตวั อักษรของหวั เรอื่ งทกี่ ำหนดให้ และจัดเรยี งในตูส้ ีล่ ิ้นชัก 2. การจัดทำเคร่อื งมอื ช่วยค้นสารสนเทศด้านดนตรี เครอ่ื งมอื ชว่ ยคน้ สารสนเทศด้านดนตรที ่ีสถาบันบริการสารสนเทศนยิ มจดั ทำคือ บัญชรี ายชื่อ หรือทะเบียนสารสนเทศด้านดนตรี บตั รรายการ และฐานข้อมูลสารสนเทศดา้ นดนตรี 2.1 บัญชีรายการหรอื ทะเบยี นสารสนเทศดา้ นดนตรี เปน็ ทง้ั เครือ่ งมือชว่ ยคน้ สารสนเทศ ดา้ นดนตรี และเป็นหลักฐานสำหรับควบคุมสารสนเทศด้านดนตรีทีม่ ีอยใู่ นหอสมุดดนตรีพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว รชั กาลที่ 9 และหอ้ งสมดุ ดนตรีทลู กระหมอ่ มสิรนิ ธร บญั ชีรายการหรือทะเบียนสารสนเทศด้าน ดนตรีเป็นการบันทึกข้อมูลของสารสนเทศด้านดนตรีแต่ละช้ินหรือรายการลงในสมุดทะเบียนข้อมูลพ้ืนฐานที่ ต้องบันทกึ คอื รหสั หรือสญั ลกั ษณข์ องสารสนเทศ ปี พ.ศ. ที่ไดร้ ับ เลขทะเบยี น ผู้ผลิต ช่อื เร่อื ง ชอ่ื ชุด ภาษา จำนวน รปู แบบ สถานทีผ่ ลิต ปี ราคา แหลง่ ทีม่ า วนั ท่ีลงทะเบียน การไดม้ า และหมายเหตุอ่นื ๆ ที่จำเปน็ ตัวอย่างสมดุ ทะเบยี นของห้องสมุดดนตรีทูลกระหมอ่ มสิรินธร สำนกั หอสมุดแหง่ ชาติ ในทน่ี ้อี กั ษรย่อ “การได้มา” มีทัง้ หมด 7 ตัวอกั ษร ดงั น้ี ซ หมายถึง การไดม้ าด้วยการจดั ซอื้ จากเงินงบประมาณ บ หมายถงึ การไดม้ าด้วยการรบั บริจาค ผ หมายถงึ การไดม้ าโดยการผลติ เอง พ หมายถงึ การได้มาตามพระราชบญั ญตั ิ ร หมายถงึ การได้มาจากหนว่ ยงานราชการ ล หมายถึง การได้มาจากการแลกเปล่ียน ส หมายถึง การได้มาจากการทำสำเนา ทรัพยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี 37

2.2 บตั รรายการสารสนเทศด้านดนตรี เปน็ บตั รท่ีบนั ทึกขอ้ มลู ทสี่ ำคญั ของสารสนเทศดา้ น ดนตรแี ต่ละประเภท เชน่ ชอ่ื ผ้ผู ลิต ชอื่ เร่อื ง ชื่อชดุ ครั้งที่ผลติ สถานทผ่ี ลติ หน่วยงานที่ผลติ ปลี ิขสทิ ธิ์ หรือปที ผ่ี ลติ รายละเอยี ดลักษณะเฉพาะของวสั ดุฯลฯ บตั รรายการสารสนเทศด้านดนตรแี ต่ละชิ้น อาจมี มากกวา่ 1 บัตร เพ่ืออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ใหม้ ชี อ่ งทางการค้นไดม้ ากกวา่ 1 ช่องทาง จึงจัดทำบตั ร รายการเปน็ ชดุ เพอ่ื นำมาจัดเรยี งตามชื่อผูผ้ ลิต ชอื่ ชดุ ช่ือศิลปิน เป็นต้น ตวั อยา่ งบตั รรายการประเภทบตั รผแู้ ตง่ ของหอ้ งสมุดดนตรที ูลกระหมอ่ มสริ ินธร สำนักหอสมุดแห่งชาติ 2.3. ฐานข้อมูลสืบค้นทางด้านดนตรี ปัจจุบัน หอสมุดดนตรพี ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลที่ 9 และหอสมดุ ดนตรีทลู กระหม่อมสิรินธร ได้จดั ทำฐานข้อมูลสารสนเทศดา้ นดนตรี เพอ่ื เปน็ เครือ่ งมือชว่ ยสืบค้นสารสนเทศด้านดนตรี โดยสามารถสบื คน้ ผา่ นระบบ LAND ของหอสมุดดนตรพี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั รัชกาลที่ 9 และห้อง สมุดดนตรที ลู กระหม่อมสริ นิ ธร มสี ารสนเทศดา้ นดนตรที ุกประเภท 38 ทรัพยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี

ทรัพยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี 39

ตัวอยา่ งหน้าของ Website สบื ค้น สำหรบั ประชาชนบุคคลท่วั ไป (ตวั อยา่ ง สื่อเสยี ง) หนา้ ที่ 2 ของการสืบค้น หลงั จากทค่ี ล๊ิก สืบคน้ 40 ทรพั ยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี

หน้าที่ 3 เม่ือกำหนดหัวข้อที่จะสบื ค้นได้แลว้ ให้คลกิ๊ สืบค้น ในท่นี เ้ี ป็นส่อื เสยี ง ซึ่งจะข้นึ หน้าแสดงผล การสบื คน้ จะเห็นข้อมลู ทัง้ หมดที่สามารถคล๊ิกเลอื กรายละเอียดดูได้ นีค้ อื หนา้ ตาของไอคอนท่สี บื ค้นรายละเอยี ด ทรัพยากรสารสนเทศ ด้านดนตรี 41

หนา้ การแสดงผลรายละเอียด 42 ทรพั ยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี

หนา้ แสดงผลการฟังเพลง การสืบคน้ และหนา้ ตาของการสบื คน้ ต่างกนั ออกไปตามประเภทของส่อื ทรพั ยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี 43

บรรณานกุ รม ธนติ อย่โู พธ.์ิ เคร่อื งดนตรีไทย พรอ้ มด้วยตำนานผสมวง มโหร ี ปี่พาทย์ และเครอ่ื งสาย. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พก์ รมศาสนา, 2523. บันเทงิ ชลชว่ ยชพี กาญจนา คชแสง และวัชรี ขาวสะอาด. คู่มอื ทฤษฎีและปฏิบตั ิการดนตรีสากล. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์พรี ะพชั นา, 2524. พระเจนดุรยิ างค์. แบบเรยี นดรุ ิยางค์สากล ฉบับทลู เกล้าทูลกระหม่อมถวาย. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พก์ รมแผนที่ทหาร, 2510. ภุชงค์ องั คปรีชาเศรษฐ.์ นวตั กรรมการศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง, 2530. ราชบณั ฑติ ยสถาน. พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน. กรงุ เทพมหานคร : ราชบณั ฑิตยสถาน, 2546. ราชบณั ฑิตยสถาน. สารนุกรมศพั ทด์ นตรไี ทย ภาคคีตะ-ดุรยิ างค์. กรงุ เทพมหานคร : ราชบัณฑิตยสถาน, 2540. 44 ทรัพยากรสารสนเทศ ดา้ นดนตรี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook