Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทคนิดการบรรยายเครื่องดับเพลิง

เทคนิดการบรรยายเครื่องดับเพลิง

Description: เทคนิดการบรรยายเครื่องดับเพลิง

Search

Read the Text Version

เทคนิคการบรรยายเคร่ืองมือ ดบั เพลงิ เคมเี บื้องต้น โดย...นายสมหมาย ภูทองเงิน



วตั ถปุ ระสงค์ 1 เพ่ือให้ผ้อู บรมทราบถงึ วธิ ีการใช้เครื่องดบั เพลงิ ชนิดยกหวิ้ ดบั เพลงิ ทเ่ี ริ่มเกดิ ได้ 2 เพื่อให้ผ้เู ข้ารับการฝึ กอบรมทราบถงึ คุณสมบตั ขิ องเครื่องมือ ดบั เพลงิ เคมแี ต่ละประเภท 3 เพ่ือให้ผ้เู ข้ารับการฝึ กอบรมสามารถที่จะถ่ายทอดให้ความรู้แก่ ผ้อู ื่นได้ 4 เพื่อป้องกนั การตดิ ต่อลกุ ลามของเพลงิ ที่ลกุ ไหม้ให้อยู่ใน วงจาํ กดั ได้

เครื่องดับเพลงิ เบื้องต้นคืออะไร เป็ นเครื่องดับเพลงิ ขนาดเลก็ สามารถหยบิ ยกหิว้ ไป ดบั เพลงิ ได้อย่างรวดเร็ว มขี นาดกระทดั รัดติดต้ังไว้ ตามอาคารสถานทตี่ ่างๆทอี่ าจจะมอี คั คภี ยั เกดิ ขนึ้ และ สามรถหยบิ ใช้ได้ทนั ท่วงทมี อี ยู่ด้วยกนั หลายชนิด

คุณสมบตั ขิ องเคร่ืองดบั เพลงิ แต่ละชนิด เคร่ืองดบั เพลงิ แต่ละชนิดจะดับเพลงิ ได้ แตกต่างกนั ออกไปแล้วแต่ประเภทของไฟและ คุณภาพของสารเคมที บี่ รรจุอยู่ข้างในด้วย















รถแก๊ซพลกิ ควาํ่ และเกดิ เพลงิ ไหม้ ถนนเพชรบุรีตดั ใหม่ ประเภท,สาเหตุ













ไฟประเภท C

-Aluminum -Magnesium -Titanium -Zirconium -Sodium -Potassium -Lithium -Calcium -Zinc

ประเภทท่ี 5 ไฟประเภท K สญั ญลกั ษณ์ ตวั อกั ษร K อยใุ่ นรูป แปดเหลย่ี มดา้ นเทา่ พืน้ สดี าํ ตวั อกั ษรสขี าว สญั ญลกั ษณท์ ี่เป็นรูปภาพ จะเป็นรูป กะทะ ทาํ อาหารท่ลี กุ ตดิ ไฟ เป็นไฟท่ีเกิดจากเชือ้ เพลงิ นา้ํ มนั ทาํ อาหาร นาํ้ มนั พชื , นา้ํ มนั จากสตั ว์ และไขมนั เครอื่ งดบั เพลงิ ท่เี หมาะสาํ หรบั ดบั ไฟ คือ เครอ่ื ง ดบั เพลงิ ชนิดนา้ํ ผสมสารโปตสั เซี่ยมอะซเิ ตท





ตวั อย่างถงั ดบั เพลิง



1น้ําธรรมดา Plain Water ลกั ษณะถังบรรจุ : บรรจุถงั แสตนเลส หรือ บรรจุถงั กนั สนิมสีแดง บรรจุนํา้ อยู่ ในถงั แล้วอดั แรงดนั นํา้ เข้าไว้ จึงเรียกว่า นํา้ สะสมแรงดัน • บรรจดุ ้วย - นาํ้ ประมาณ 2.5 แกลลอน - ใช้แรงดนั จากอากาศ ,ก๊าซไนโตรเจน หรือก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ - อดั ด้วยความดนั ท่ี 100 - 150 psi

คณุ สมบตั ิของสารดบั เพลิง นํ้า • คณุ สมบตั ิในการดบั เพลิงเป็นคณุ สมบตั ิของนํ้าที่สามารถ ดดู กลืนความร้อนหรอื ลด อณุ หภมู ิของเชื้อเพลิงซ่ึงน้ําสามารถดดู กลืนความรอ้ นได้ถึง 116 กิโลแคลอรี และการที่จะฉีดน้ําเป็นละอองนํ้าเพิ่มขึน้ 170 เท่า นํ้าจะไปควบคมุ เพลิงไหมใ้ ห้เยน็ ตวั ลงและซึมเข้าไปใน เชือ้ เพลิงที่กาํ ลงั ลกุ ไหม้ และถ่ายเทความรอ้ นจากเชือ้ เพลิงจนอณุ หภมู ิตา่ํ กวา่ จดุ ติด ไฟ ไฟจึงดบั ลง

ลกั ษณะการใช้งาน : เวลาใช้ ถอด สลกั และบีบคนั บีบบริเวณด้ามจับ แรงดันทอ่ี ดั ไว้จะดนั นํา้ ทบ่ี รรจุ ภายในถัง ดนั ผ่านหวั ฉีดฝักบัว ใช้ดบั ไฟประเภท : ประเภท A

ข้อดี - ใชด้ บั ไฟ A ไดผ้ ลดี - ราคาถูก - มีประสิทธิภาพในการดบั เพลิง 30 - 40 ฟตุ ข้อเสีย - หา้ มใชด้ บั ไฟ B , C และ D - ส่ิงของท่ีอยใู่ นบริเวณใกลเ้ คียงเสียหาย



โฟม (Foam) • บรรจดุ ้วย - โฟมสงั เคราะห์ AFFF (Aqueous Film Forming Foam) - ส่วนประกอบที่สาํ คญั คือ สารฟลูออไรด์ (Fluoride) และสารทาํ ให้ฟองคงทน (Fluorinated Surfactants

ลกั ษณะถงั บรรจุ นิยมบรรจุในถังอลูมเิ นียมสีครีม ถงั สีแดงหรือถงั สแตนเลส มหี ัวฉีดเป็ น หวั ฝักบวั บรรจุอยู่ในถังทม่ี นี ํา้ ยา โฟม ผสมกบั นํา้ แล้วอดั แรงดันเข้าไว้ (นิยมใช้โฟม AFFF)

ลกั ษณะการใชง้ าน • เวลาใช้ ถอดสลกั และบีบคนั บบี บริเวณด้ามจบั แรงดนั ท่ีอดั ไว้จะดนั นํ้าผสมกบั โฟมยิงผา่ นหวั ฉีด ฝักบวั พน่ ออกมาเป็นฟอง กระจายไปปกคลมุ บริเวณท่ีเกิดไฟไหม้ ทาํ ให้อบั อากาศ ไฟขาด ออกซิเจน และลดความรอ้ นท่ีเป็นองคป์ ระกอบการ เกิดไฟ 2 ใน 3 ตวั ใช้ดบั ไฟประเภท :B และ A

ข้อดี - ใชด้ บั ไฟ A ได้ - ใชด้ บั ไฟ B ไดผ้ ลดีท่ีสุด - เกบ็ ได้ 25-30 ปี ข้อเสีย - หา้ มใชด้ บั ไฟ C และ D - ตอ้ งมีความชาํ นาญในการใชง้ าน



น้ํายาเหลวระเหย (B.C.F.) • บรรจุด้วย - สารประกอบ Halogenated โดยมีสารเข้า ไปแทนท่ไี ฮโดรเจน ในสารประกอบพวก ไฮโดรคาร์บอน (ฟลโู อลนี F , คลอรีน Cl , โปรมนี Br) - ก๊าซไนโตรเจน ความดนั 40 psi. ท่ี 70 Fo • จุดเดือดตาํ่ 25 Fo / จุดเยือกแข็ง - 256 Fo • ความหนาแน่นไอสูง หนักกว่าอากาศ 5 เท่า

ข้อดี - ใช้ดับไฟ A ,B และ C - มปี ระสทิ ธิภาพในการดบั เพลิงสูง - มอี ายกุ ารใช้งานนาน - ระยะการใช้งาน 9 - 15 ฟุต ข้อเสีย - เกดิ ก๊าซพษิ คอื คลอรีน , ฟอสยนี คารบ์ อนไดออกไซด์ - ทาํ ลายโอโซนในชั้นบรรยายกาศ - ราคาแพง



กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดเ์ หลว • บรรจุดว้ ย - CO2 อดั ทค่ี วามดนั 800 - 900 psi - ถงั ทนความดนั ไดไ้ มต่ ่ํากว่า 3,375 psi • คณุ สมบตั ิ -1เป.5็นเกท๊าา่ ซเฉ่ือย หนกั กวา่ อากาศ

คณุ สมบตั ิของสารดบั เพลิง กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซค์ • กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดเ์ ป็นกา๊ ซเฉ่ือย ไมช่ ่วยในการลกุ ไหม้ มีความหนาแน่นไอ 1.5 เท่าคือหนักกวา่ อากาศ 1.5 เท่าและ ไมเ่ ป็นสื่อของกระแสไฟฟ้า การดบั เพลิงจึงได้ผลในการคลมุ ดบั โดยท่ีกา๊ ซกระจายตวั ออกไปและหนักกว่าอากาศ จึงปิ ดกนั้ ออกซิเจนในอากาศท่ีจะเขา้ ทาํ ปฏิกิริยากบั เชื้อเพลิง หรอื ทาํ ให้อตั ราส่วนผสมของไอเชือ้ เพลิงกบั อากาศไม่ พอเหมาะที่จะถึงขนั้ จดุ ติดไฟได้

ลกั ษณะถงั บรรจุ • นิยมบรรจุถงั สแี ดง ต่างประเทศ บรรจุถงั สดี าํ ภายในบรรจุก๊าซ คารบ์ อนไดออกไซดไ์ วใ้ นถงั ทท่ี น แรงดนั สงู ประมาณ 800 -1200 ปอนด์ ต่อตารางน้ิว ทป่ี ลายสายฉีดจะมลี กั ษณะเป็น กรวย

ลกั ษณะการใชง้ าน • เวลาใช้ ถอดสลกั และบบี คนั บบี บรเิ วณดา้ มจบั จะพน่ หมอกหมิ ะ ออกมาไลค่ วามรอ้ น และออกซเิ จนออกไป โดยฉดี เขา้ ใกลฐ้ านของ ไฟใหม้ ากทส่ี ดุ ประมาณ 1.5 - 2 เมตร เมอ่ื ใชง้ านแลว้ จะไมม่ สี ง่ิ สกปรกหลงเหลอื เวลาใชง้ านจะเสยี งดงั เลก็ น้อย นิยมใชง้ านภายในอาคารทต่ี อ้ งการความสะอาดหรอื มี อุปกรณ์ อเิ ลก็ โทรนิก : ใชด้ บั ไฟประเภท C และ B

การใช้งาน ข้อดี ใช้ดบั ไฟประเภท B และ C ข้อเสีย ไม่ควรใช้ในทม่ี ลี มพดั จัด ผู้ฉีดต้องระวงั ภาวะการขาดออกซิเจนด้วย

5. ผงเคมีแห้ง (Dry Chemical) • บรรจุดว้ ย - โซเดยี มไบคารบ์ อเนต (ผงสขี าว) 1 lbs/1,100 ตร.ฟ.,โปตสั เซยี มไบคารบ์ อนเนต , แอมโมเนียม ฟอสเฟต(สเี หลือง) 1 lbs/1,500 ตร.ฟ. หรอื โปตัสเซยี ม คลอไรด์ (สีฟ้า) 1lbs/1,800 ตร.ฟ. - อดั ด้วยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ หรอื ก๊าซ ไนโตรเจน - บรรจุสารกนั ชนื้ 3%ของผงเคมี -แมกนีเซยี ม-สเตยี เรต, -แมกนีเซียมคารบ์ อเนต -ไตรคัลเซียมฟอสเฟต

ข้อดี - ใชด้ บั ไฟ A ,B และ C - ใชง้ านง่ายสะดวก - ระยะการใชง้ าน 5 - 15 ฟุต ข้อเสีย - ไม่สามารถดบั ไฟ D - ทิ้งคราบสกปรก - อุปกรณ์ไฟฟ้า อิเลคโทรนิคเสียหาย - อุปสรรคในการหายใจ และการมองเห็น - ใชง้ านไดเ้ พียงคร้ังเดียว

ลกั ษณะภายในถงั เคมแี หง้

คณุ สมบตั ิของสารดบั เพลิงแบบ ต่างๆ

คณุ สมบตั ิของสารดบั เพลิง ผงเคมีแห้ง • 1. ใช้ในการดบั เพลิงประเภท A , B และ C 2. ผงเคมีแห้งไมเ่ ป็นสื่อของกระแสไฟฟ้าจงึ ดบั ไฟประเภท C ได้แต่ ควรจะพิจารณา เช่น ถ้า เป็นห้องปฏิบตั ิการด้านคอมพิวเตอรไ์ มค่ วรใช้ เนื่องจากจะก่อให้เกิดความเสีย หายต่อวงจรไฟฟ้าส่วนอื่นที่ไม่เกี่ยวขอ้ ง เนื่องจากมีคณุ สมบตั ิเป็นเกลืออ่อน 3. ผงเคมีแห้งให้ผลในการคลมุ ดบั ไฟได้ดีเพราะผลการกระจายตวั ออกมามีผลในการคลุมดบั ไฟได้มากและยงั หนักกว่าอากาศ จงึ สกดั กนั้ ออกซิเจนในอากาศในการที่จะทาํ ปฏิกิริยากบั เชื้อเพลิงได้ดี

คณุ สมบตั ิของสารดบั เพลิง ผงเคมีแห้ง (ต่อ) 4. ผงเคมแี ห้งจึงมลี กั ษณะในการกาํ บงั ความร้อนของผู้ใช้ โดยทผ่ี งเคมมี ี ลกั ษณะการทาํ ปฏิกริยากบั ความร้อนมุ่งกระจายออกไปยงั มคี วามเยน็ จาก การเป็ นนํา้ แข็งแห้งประมาณร้อยละ 30 ช่วยป้องกนั ความร้อนของผู้ใช้แต่ ไม่สามารถดูดกลืนความร้อนได้ดเี ท่านํา้ เพราะดูดกลืนได้เพยี ง 94 กโิ ล แคลอรีเท่าน้ัน จึงไม่สามารถใช้ในการลดอุณหภูมไิ ด้ดเี ท่ากบั นํา้ แล้วดูดกลืน ความร้อน เช่น ปฏกิ ริ ิยาของผงโซเดยี มไบคาร์บอเนตทาํ ปฏกิ ริ ิยากบั ความ ร้อน บางส่วนจะสลายตวั เป็ นคาร์บอนไดออกไซด์ โซเดียมไบคาร์บอเนต 1 ปอนด์ ต่อ 4.5 ลกู บาศก์ฟุต ออกมาช่วยคลมุ ดับ 5. สะดวกในการใช้และการบํารุงรักษา รวมท้งั ยงั มีอายกุ ารใช้งานได้ ยาวนานเพราะตวั ยาไม่เสื่อมคุณภาพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook